ยากำพร้า

Download Report

Transcript ยากำพร้า

PUBH330
Public Health Pharmacy
Benjawan Nunthachai
Topic
พระราชบัญญัตยิ า (ฉบับที่๕) พ.ศ. ๒๕๓๐
นโยบายแห่ งชาติด้านยาและยุทธศาสตร์ การพัฒนา
ระบบยาแห่ งชาติ พ.ศ. 2555-2559
ความคลาดเคลื่อนทางยา :Medical Error
Pharmacy Glossary Terms
พระราชบัญญัตยิ า (ฉบับที่๕) พ.ศ. ๒๕๓๐
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
พระราชบัญญติยา (ฉบับที่๕) พ.ศ. ๒๕๓๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ ไว้ ณ วันที่๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐
เป็ นปี ที่๔๒ ในรั ชกาลปั จจุบัน
เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัตฉิ บับนี ้
เพื่อให้ ความคุ้มครอง แก่ ประชาชนผู้ใช้ ยา ห้ ามการขายยาชุด ควบคุมการ
ผลิตยาแผนโบราณที่ใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่
บทบัญญัตใิ นส่ วนที่เกี่ยวกับการอนุญาต การควบคุมการผลิต การขาย
การนําหรื อสั่งยาเข้ ามาในราชอาณาจักรให้ เหมาะสม
สาระสําคัญในพ.ร.บ. ยา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2530
มาตรา 4
ยาใช้ ภายนอก : ยาแผนปั จจุบันหรือยาแผนโบราณที่ม่ ุงหมายสําหรั บใช้ ภายนอกไม่ รวมถึงยาใช้ เฉพาะที่
ยาใช้ เฉพาะที่ : ยาแผนปั จจุบันหรือยาแผนโบราณที่ม่ ุงหมายใช้ เฉพาะที่กับหู ตา จมูก ปาก ทวารหนัก
ช่ องคลอดหรื อท่ อปั สสาวะ
ยาบรรจุเสร็จ : ยาแผนปั จจุบันหรือยาแผนโบราณที่ได้ ผลิตขึน้ เสร็จในรู ปต่ าง ๆ ทางเภสัชกรรม ซึ่งบรรจุ
ในภาชนะหรือหีบห่ อที่ปิดหรื อผนึกไว้ และมีฉลากครบถ้ วน
 มาตรา 21 ผู้รับอนุญาตขายส่ งยาแผนปั จจุบนั ต้ องมีเภสัชกรชัน้ หนึ่ง เป็ นผู้มีหน้ าที่
ปฏิบตั กิ ารประจําอยู่ ณ สถานที่ขายส่ งยาแผนปั จจุบนั หรื อสถานที่เก็บยาตลอด เวลาที่
เปิ ดทําการ"
มาตรา 48 ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
รักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี ้
สาระสําคัญในพ.ร.บ. ยา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2530
 มาตรา 25 ให้ ผ้ ูรับอนุญาตผลิตยาแผนปั จจุบนั ปฏิบตั ดิ ังต่ อไปนี ้
จัดให้ มีฉลากตามที่ขึน้ ทะเบียนตํารับยาผนึกไว้ ท่ ภี าชนะและหีบห่ อบรรจุยาที่ผลิต ขึน้
และในฉลากต้ องแสดง ชื่อยา เลขที่หรือรหัสใบสําคัญการขึน้ ทะเบียนตํารับยา ปริมาณ
ของยาที่บรรจุ ชื่อและปริมาณหรือความแรงของสารออกฤทธิ์อันเป็ นส่ วนประกอบที่สาํ คัญ
ของยาซึ่งจะต้ องตรงตามที่ขึน้ ทะเบียนตํารับยา
เลขที่หรืออักษรแสดงครัง้ ที่ผลิตหรือวิเคราะห์ ยา ชื่อผู้ผลิตยาและจังหวัดที่ตัง้ สถานที่
ผลิตยา วัน เดือน ปี ที่ผลิตยา
คําว่ า "ยาอันตราย" "ยาควบคุมพิเศษ""ยาใช้ ภายนอก" หรือ "ยาใช้ เฉพาะที่" แล้ วแต่
กรณี ด้ วยอักษรสีแดงเห็นได้ ชัดในกรณีเป็ นยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ ยาใช้ ภายนอก
หรือยาใช้ เฉพาะที
คําว่ า "ยาสามัญประจําบ้ าน" ในกรณีท่ เี ป็ นยาสามัญประจําบ้ าน
คําว่ า "ยาสําหรับสัตว์ " ในกรณีท่ เี ป็ นยาสําหรับสัตว์
 คําว่ า "ยาสิน้ อายุ" และแสดงวันเดือน ปี ที่ยาสิน้ อายุ
นโยบายแห่ งชาติด้านยา
และ
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบยาแห่ งชาติ พ.ศ. 2555-2559
นโยบายแห่ งชาติด้านยา : เป้าประสงค์
เพื่อให้ ประชาชนได้ รับการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาสุขภาพ
ที่ได้ มาตรฐานโดยการประกันคุณภาพ ความปลอดภัยและ
ประสิทธิผลของยา
การสร้ างเสริมระบบการใช้ ยาอย่ างสมเหตุผล
การส่ งเสริมการเข้ าถึงยาจําเป็ นให้ เป็ นไปอย่ างเสมอภาค ยั่งยืน
ทันการณ์
การสร้ างกลไกการเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพและอุตสาหกรรมยา
ให้ มีการพัฒนาจนประเทศสามารถพึ่งตนเองได้
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบยาแห่ งชาติ
ประกอบด้ วยยุทธศาสตร์ ๔ ด้ าน
ยุทธศาสตร์ ด้านที่ ๑ การเข้ าถึงยา
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ ประชาชนเข้ าถึงยาจําเป็ นอย่ างเสมอภาค
ทั่วถึง และทันการณ์ ในราคาที่เหมาะสมกับความสามารถในการ
จ่ ายของประชาชน ตลอดจนฐานะเศรษฐกิจของประเทศ
ยุทธศาสตร์ ด้านที่ ๒ การใช้ ยาอย่ างสมเหตุผล
วัตถุประสงค์ เพื่อส่ งเสริมการใช้ ยาของแพทย์ บุคลากรทาง
การแพทย์ และประชาชนเป็ นไปอย่ างสมเหตุผล ถูกต้ อง และคุ้มค่ า
ยุทธศาสตร์ ด้านที่ ๓ การพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยา ชีววัตถุ
และสมุนไพรเพื่อการพึ่งพาตนเอง
วัตถุประสงค์ เพื่อ พัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมยา ชีววัตถุ และ
สมุนไพรภายในประเทศ ให้ สามารถพึ่งพาตนเองได้ อย่ างมั่นคงและ
ยั่งยืน
 ส่ งเสริมการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาภายในประเทศ
 การส่ งเสริมการวิจัยพัฒนาในอุตสาหกรรมยาและนวัตกรรมต่ อยอด
ทางยาสู่อุตสาหกรรมเชิงพาณิชย์
 ส่ งเสริมภาคการผลิตและการตลาดของอุตสาหกรรมยาในประเทศ
 การประกันคุณภาพยาที่ผลิตในประเทศแก่ ผ้ ูส่ ังใช้ ยาและประชาชน
ยุทธศาสตร์ ด้านที่ ๔ การพัฒนาระบบการควบคุมยา เพื่อประกัน
คุณภาพประสิทธิผล และความปลอดภัยของยา
วัตถุประสงค์ เพื่อประกันคุณภาพ ประสิทธิผล และความปลอดภัย
ของยาโดยพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของระบบการ
ควบคุมยาของประเทศ
 การพัฒนาศักยภาพระบบการควบคุมยาให้ มีประสิทธิภาพ โปร่ งใส
ตามหลักธรรมาภิบาล
 การพัฒนาระบบการเฝ้าระวังยาหลังออกสู่ตลาด และสร้ างช่ อง
ทางการเฝ้าระวังและระบบการเตือนภัยด้ านยา
 การทบทวนทะเบียนตํารั บยาที่มีผลกระทบสูงต่ อผู้บริโภคและสังคม
ความคลาดเคลื่อนทางยา :Medical Error
ความคลาดเคลื่อนทางยา (medication error : ME )
 เหตุ ก ารณ์ ใด ๆ ที่ ส ามารถป้ องกั น ได้ ที่ อ าจเป็ นสาเหตุ ห รื อ
นํ า ไปสู่ การใช้ ยาที่ ไ ม่ เหมาะสม หรื อ เป็ นอั น ตรายแก่ ผู้ ป่ วย
ในขณะที่ยาอยู่ในความควบคุมของบุคลากรสาธารณสุข ผู้ป่วย
หรื อผู้รับบริ การ เหตุการณ์ เหล่ านัน้ อาจเกี่ยวข้ องกับ การปฏิบัติ
ทางวิชาชีพ ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ
กระบวนการและระบบการบริหารยา รวมถึงการสั่งใช้ ยาหรื อการ
สื่อสารคําสั่งการใช้ ยา การติดฉลากยา การบรรจุยา การตัง้ ชื่อยา
การเตรี ยมยา การส่ งมอบยา การกระจายยา การให้ ข้อมูลยา
และ การติดตามการใช้ ยา
ความคลาดเคลื่อนทางยา
(medication error : ME )
Prescribing error: คลาดเคลื่อนจากการสั่งยา
Pre-dispensing error: กระบวนการก่ อนการจ่ ายยา
คลาดเคลื่อน
dispensing error: คลาดเคลื่อนในการจ่ ายยา
Administration error: คลาดเคลื่อนในการบริหาร
ยาผู้ป่วย
Transcription error : คลาดเคลื่อนในการคัดลอก
คําสั่งยา
ยารู ปคล้ ายเสียงคล้ อง
(Look Alike, Sound Alike Medication :LASA)
• ยาที่มีช่ ือพ้ อง มองคล้ าย (LASA drugs) หมายถึง กลุ่มยาที่ช่ ือมองดูคล้ ายคลึงกัน
อาจเป็ นตัวสะกดหรือตัวอักษรเริ่มต้ น รวมทัง้ กลุ่มยาการออกเสียงใกล้ เคียงกัน ทัง้ ชื่อ
การค้ าและชื่อสามัญทางยา หรือรูปแบบหรื อภาชนะบรรจุซ่ งึ คล้ ายกันกับยารายการอื่น
ซึ่งอาจก่ อให้ เกิดความเสี่ยงในการเกิดความผิดพลาดในกระบวนการรักษาได้
• การจัดการด้ านยา (LASA medication) หมายถึง กระบวนการรวบรวมข้ อมูล
ประเมิน และติดตามการเกิดความผิดพลาดในการจ่ ายยาในกลุ่ม LASA drugs ใน
กระบวนการรักษาตัง้ แต่ การสั่งใช้ ยา จัด/จ่ ายยา และการบริหารยาทัง้ โดยพยาบาลและ
ตัวผู้ป่วยเอง เพื่อพิจารณาสาเหตุและปั จจัยที่ก่อให้ เกิดความเสี่ยงในกระบวนการรักษา
ดังกล่ าว รวมทัง้ เป็ นส่ วนหนึ่งในการจัดการปั ญหา Medication error และพัฒนา
ระบบความปลอดภัยทางด้ านยา นอกจากนีย้ ังรวมถึงการจําแนกปั จจัยเสี่ยง และการ
จัดการเพื่อแก้ ไขปั ญหาควบคู่ไปกับการเฝ้าระวังความผิดพลาดที่อาจเกิดขึน้
ระวัง ! ยาชื่อพ้ อง & มองคล้ าย
Look Alike, Sound Alike Medication :LASA
ยาหยอดหูด
ยาหยอดหู
ยาหยอดตา
ยาหยอดหูด
Pharmacy Glossary Terms
ยาต้ นแบบ
ยาต้ นแบบ(Original drug) คือยารั กษาโรคต่ างๆที่ผลิต
คิ ด ค้ นได้ เป็ นตั ว ยาแรกจากบริ ษั ท ผู้ ผลิ ต ดั ง นั ้น จึ ง มี ต้ นทุ น
ค่ า ใช้ จ่ า ยสู ง ในการ คิ ด ค้ น ศึ ก ษา วิ จั ย การ ตลาด และการ
โฆษณา จึงส่ งผลให้ ยามีราคาแพงมาก
เพื่อจูงใจในการคิดค้ นยาใหม่ ๆ บริษัทผู้คดิ ค้ นจะได้ ลิขสิทธิ์ใน
การจัดจําหน่ ายยานัน้ ๆแต่ ผ้ ูเดียวเป็ นระยะเวลาอย่ างน้ อย 20 ปี
เมื่อหลังจากเวลานัน้ ผ่ านไปแล้ ว เพื่อประโยชน์ ต่อผู้ด้อยโอกาส
กว่ า บริษัทอื่นๆสามารถผลิตยาที่มีตวั ยารักษาเช่ นเดียวกันออก
ขายได้ ซึ่งเรียกว่ า ยาสามัญ (Generic name)
ยาสามัญ
ยาสามัญ(Generic name) หรื อเรี ยกว่ า ยา Local made หรื อ ยา
ในบัญชียาหลักแห่ งชาติ หรื อ ED/อีดี (Essential drug) คือยาที่มีตัว
ยาที่ใช้ รักษาโรคตัวเดียวกับยาต้ นแบบ ซึ่งจะให้ ผลการรั กษา ผลข้ างเคียง
ปริมาณยาที่ใช้ และวิธีการต่ างๆในการใช้ ยา เช่ นเดียวกับยาต้ นแบบ แต่ มี
ราคาถูกกว่ ามาก เพราะไม่ ต้องเสียเงินค่ าศึกษาวิจัย ค่ าการตลาด และค่ า
โฆษณา
ยาสามัญจะผลิตได้ ต่อเมื่อยาต้ นแบบได้ ผ่านระยะเวลาที่มีลขิ สิทธิ์ไปแล้ ว
และต้ องได้ รับการศึกษาด้ านเภสัชกรรมถึงประสิทธิภาพในการผลิตยาว่ า
ให้ ผลการรั กษาเช่ นเดียวกับยาต้ นแบบ รวมทัง้ ให้ การอนุญาต รั บรอง และ
ควบคุมการผลิตจากองค์ การอาหารและยาของประเทศนัน้ ๆ
ชื่อสามัญทางยา:ชื่อทางการค้ า
แบบแรก เป็ น "ชื่อสามัญทางยา" (generic name)
หมายถึง ชื่อยาแท้ ๆ ซึ่งจะมีอยู่ช่ ือเดียวสําหรับยาแต่ ละตัว
เช่ น ไดอะซีแพม (ยากล่ อมประสาท) พาราเซตามอล (ยา
แก้ ปวด ลดไข้ ) คลอร์ เฟนิรามีน (ยาแก้ แพ้ ) เตตราไซคลีน
(ยาปฏิชีวนะ)
แบบที่ ๒ เป็ นชื่อทางการค้ า (trade name) หมายถึง
ชื่อยี่ห้อ ซึ่งแต่ ละบริษัทผู้ผลิตจะตัง้ กันให้ เป็ นเอกลักษณ์
เฉพาะของตัวเอง ดังนัน้ ยาแต่ ละตัวจึงมีช่ ือยี่ห้อต่ างๆ
มากมาย
อาการไม่ พงึ ประสงค์ จากการใช้ ยา
(Adverse Drug Reactions : ADRs)
 อาการไม่ พงึ ประสงค์ จากการใช้ ยา (Adverse drug reaction :
ADR) หมายถึง การตอบสนองต่ อยาที่เป็ นอันตรายและเกิดขึน้ โดยมิได้
ตัง้ ใจเมื่อใช้ ในขนาดปกติในมนุษย์ เพื่อการป้องกัน วินิจฉัย หรื อรั กษาโรค
หรื อเปลี่ยนแปลงสรี ระวิทยาของร่ างกาย (World Health
Organization : WHO) เป็ นเรื่ องที่สาํ คัญเนื่องจากสามารถ
ก่ อให้ เกิดอันตรายรุ นแรงกับผู้ป่วยหากผู้ป่วยได้ รับยาที่แพ้ ดังนัน้ การ
ป้องกันการแพ้ ยาซํา้ จึงต้ องมีการป้องกันอย่ างครอบคลุมกับผู้ป่วยทุกราย
เพื่อความปลอดภัยต่ อผู้ป่วยอย่ างสูงสุด
การจําแนกประเภทของ ADR
ตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา
 ADR type A เป็ นผลจากฤทธิ์เภสัชวิทยาของยา สามารถทํานายได้
จากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ไม่ มีความจําเพาะในการเกิดกับคนบางกลุ่ม
ความรุ นแรงของอาการที่เกิดมีความสัมพันธ์ กับขนาดยา มีอุบัตกิ ารณ์ การ
เกิดสูงแต่ มีอัตราการเสียชีวติ น้ อย สามารถรั กษาได้ โดยการลดขนาดยา
 ADR type B เป็ นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะสําหรั บบางคนจะเกิด
ขึน้ กับผู้ท่ มี ีความไวต่ อยานัน้ ผลที่เกิดขึน้ ไม่ สัมพันธ์ กับฤทธิ์ทางเภสัช
วิทยาตามปกติของยา ไม่ สามารถทํานายอาการที่เกิดขึน้ ด้ วยฤทธิ์ทาง
เภสัชวิทยาได้ ความรุ นแรงของอาการที่เกิดไม่ สัมพันธ์ กับขนาดยา มี
อุบัตกิ ารณ์ การเกิดตํ่าแต่ ทาํ ให้ เสียชีวติ ได้ สูง การรั กษาทําโดยการหยุดใช้
ยา
อาการข้ างเคียงจากการใช้ ยา: Side effect
Side effects คือ ผลข้ างเคียงของยา เช่ นกินยา
ลดนํา้ มูกจะมีอาการปากแห้ งใจสั่น นอนไม่ หลับ กิน
ยาแก้ หอบหืดจะมีอาการมือสั่นใจสั่น กินยาแก้ ปวด
จะมีอาการปวดท้ อง ท่ านสามารถอ่ านผลข้ างเคียง
ได้ จากสลากยาที่กาํ กับ อาการข้ างเคียงไม่
จําเป็ นต้ องเกิดกับทุกคนที่กนิ ยา อาจจะเกิดกับบาง
คนเท่ านัน้
การแพ้ ยา drug allergy
 อาการแพ้ ยามีตงั ้ แต่ ระดับน้ อยๆ อาจเป็ นแค่ ผ่ ืนคัน
ลมพิษ ผื่นแดง ถ้ ารุ นแรงจะมีอาการริมฝี ปากบวม หน้ าตา
บวม หนังตามบวม พุพอง ผิวหนังเปื่ อยลอก
แต่ ถ้าแพ้ ยารุ นแรงมากขึน้ อาจทําให้ ใจสั่น แน่ นหน้ าอก
หายใจลําบาก คลื่นไส้ อาเจียน เป็ นลม ความดันโลหิตตํ่า
ชีพจรเต้ นเบาและเร็ว หยุดหายใจ ช็อค และเสียชีวติ
High alert drug - ยาที่มีความเสี่ยงสูง
 ยาที่เสี่ยงสูงที่จะก่ อให้ เกิดอันตราย หรือผลเสียต่ อผู้ป่วยที่รุนแรง ถ้ าหากมีความ
ผิดพลาดในการสั่งใช้ ยา คัดลอกคําสั่งใช้ ยา จ่ ายยา หรือการให้ ยา
 รายการยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
1. Adrenaline inj.
2. Calcium gluconate inj.
3. Dopamine inj.
4. Ketamine HCl inj.
5. Magnesium sulfate inj.
6. Morphine sulfate inj.
7. Pethidine inj.
8. Potassium chloride inj.
9. Atropine sulfate inj
Pethidine
HAD
Onset/Peak/Duration
• Onset หมายถึงระยะเวลาตัง้ แต่ ให้ ย้ าเข้ าไปในร่ างกายจนถึง
เวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์
• Peak หมายถึงระยะเวลาตัง้ แต่ ให้ ยาเข้ าไปในร่ างกายจนถึงเวลา
ที่ มีระดับยาสูงสุด ดอยในร่ างกาย หลังจากถึงPeak แล้ วยาจะ
ลดลงตามลําดับ
• Duration หมายถึงระยะเวลาที่ยายังคงมีฤทธิ์อยู่
ยากําพร้ า
• “ยากําพร้ า” หมายถึง ยาที่มีอัตราการใช้ ต่าํ โดย
ไม่ มียาอื่นมาใช้ ทดแทนได้ และมีปัญหาการ
ขาดแคลน แต่ มีความจําเป็ นต้ องใช้ เพื่อวินิจฉัย
บรรเทา บําบัด ป้องกัน หรือรักษาโรคที่พบได้
น้ อย หรือโรคที่เป็ นอันตรายร้ ายแรง หรือโรคที่
ก่ อให้ เกิดความทุพพลภาพอย่ างต่ อเนื่อง
ปั ญหาการผลิตยากําพร้ า
ปั ญหาที่ผ่านมา คือ ยากลุ่มดังกล่ าวบริษัทผลิตยาได้
กําไรน้ อย จึงมีการทยอยเลิกผลิต แต่ ยังมีประชาชนจํานวน
หนึ่งที่ต้องการใช้ ยาดังกล่ าว หากไม่ รับจะทําให้ เกิดอันตราย
แก่ ชีวติ ได้ จึงจําเป็ นต้ องมีการสํารองยา โดยให้ องค์ การเภสัช
กรรมและสภากาชาดไทยเป็ นผู้จัดหา โดยการผลิตหรื อนําเข้ า
อย่ างใดอย่ างหนึ่งในงบประมาณที่กาํ หนด ซึ่งนอกจากผู้ป่วย
บัตรทองแล้ ว ยังเป็ นการสํารองเผื่อให้ ผ้ ูป่วยในระบบ
ประกันสังคม และข้ าราชการได้ ใช้ ด้วย
รายการยากําพร้ าพ.ศ. 2555: ข้ อบ่ งใช้
Cardiovascular system:หัวใจเต้ นผิดจังหวะ
Infections:การติดเชือ้ พยาธิเส้ นด้ าย กามโรค Malaria
Endocrine system: ปั ญหาทางต่ อมหมวกไต โรคมะเร็งของ
ต่ อมธัยรอยด์
Malignant disease and immuno suppression
Skin: โรคด่ างขาว โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
Antidotes : ใช้ แก้ พษิ จาก arsenic, gold, mercury, lead
การใช้ ยาอย่ างสมเหตุผล
(Rational Drug Use)
 การใช้ ยาอย่ างสมเหตุผล หมายถึง การใช้ ยาโดยมีข้อบ่ งชี ้ เป็ นยาที่มีคุณภาพ มี
ประสิทธิผลจริง สนับสนุนด้ วยหลักฐานที่เชื่อถือได้ ให้ ประโยชน์ ทางคลินิก
เหนือกว่ าความเสี่ยงจากการใช้ ยาอย่ างชัดเจน
 มีราคาเหมาะสม คุ้มค่ าตามหลักเศรษฐศาสตร์ สาธารณสุข ไม่ เป็ นการใช้ ยาอย่ าง
ซํา้ ซ้ อน
การใช้ ยาอย่ างสมเหตุผล
(Rational Drug Use)
 คํานึงถึงปั ญหาเชือ้ ดือ้ ยา เป็ นการใช้ ยาในกรอบบัญชียายังผลอย่ างเป็ นขัน้ ตอน
ตามแนวทางพิจารณาการใช้ ยา โดยใช้ ยาในขนาดที่พอเหมาะกับผู้ป่วยในแต่ ละ
กรณี ด้ วยวิธีการให้ ยา และความถี่ในการให้ ยาที่ถูกต้ องตามหลักเภสัชวิทยา
คลินิก ด้ วยระยะเวลาการรั กษาที่เหมาะสม ผู้ป่วยให้ การยอมรั บ และสามารถใช้
ยาดังกล่ าวได้ อย่ างถูกต้ อง และต่ อเนื่อง
 กองทุนในระบบประกันสุขภาพหรื อระบบสวัสดิการสามารถให้ เบิกจ่ ายค่ ายานัน้
ได้ อย่ างยั่งยืน เป็ นการใช้ ยาที่ไม่ เลือกปฏิบัติ เพื่อให้ ผ้ ูป่วยทุกคนสามารถใช้ ยา
นัน้ ได้ อย่ างเท่ าเทียมกัน และไม่ ถูกปฏิเสธยาที่สมควรได้ รับ
Q&A