คำบาลี-สันสกฤต... 591 Kb 03/11/14

Download Report

Transcript คำบาลี-สันสกฤต... 591 Kb 03/11/14

Slide 1

สวัสดี ครับ/ค่ ะ
ยินดีต้อนรับ
สู่ โปรแกรม powerPoint วิชา
ภาษาไทย ครับ/ค่ ะ


Slide 2

คาบาลี - สั นสกฤต


Slide 3

ข้อ สังเกต คำบำลีและ สันสกฤต





หลักสังเกต ทัว่ ไป
๑. ส่ วนมำกเป็ นคำหลำยพยำงค์ เช่น บิดำ มำรดำ กุญชร
๒. มีตวั สะกดไม่ ตรงตำมมำตรำ เช่น รัชกำล สัญญำ พยัคฆ์
๓. มีตวั กำรันต์ เช่น สังข์ นิตย์ สัตว์


Slide 4

หลักสังเกต เฉพำะคำบำลี
• ๑. คำที่ มีตวั สะกดและ มีตวั ตำม ซึ่ง เป็ นพยัญชนะวรรคเดียว กัน
• ๒. พยัญชนะวรรค ฏะ นิยมตัดตัวสะกดเดิม แล้ว ใช้ ตัวตำม
สะกดแทน เช่น






รัฎฐ
อัฆฒตจันทร์
ทิฏฐิ
วุฑฒิ
วัฆฒน์

เขียน
เขียน
เขียน
เขียน
เขียน

รัฐ
อัฒจันทร์
ทิฐิ
วุฒิ
วัฒน์


Slide 5

๓.
ตัวสะกดตัวตาม ท เป็ นพยัญชนะตัวเดียว กัน บาง ที
ตัดเสี ย ตัวหนึ่ง เช่ น








รัชชกาล เขียน
รัชกาล
อัญญประกาศ เขียน อัญประกาศ
วิชชา
เขียน
วิชา
บุญญ์
เขียน
บุญ
ยุตติ
เขียน
ยุติ
นิสสั ย
เขียน
นิสัย
อนุสสรณ์ เขียน
อนุสรณ์


Slide 6







๔. นิยมใช้ ฬ เช่น กีฬำ จุฬำ โอฬำร อำสำฬหบูช ำ
๕. ไม่ มี ศ ษ
๖. ไม่ มี ฤ ฤำ ไอ เอ ำ
๗. ไม่ มี รร หัน
๘. ไม่ นิยมคำควบ กล้ ำ


Slide 7

• ตัวสะกด

ตัวตาม

ตัวอย่ าง

• พยัญชนะแถวที่ ๑ พยัญชนะแถวที่ ๑, ๒

อุกกาบาท , ทุกข์ ,มัจาา

• พยัญชนะแถวที่ ๓ พยัญชนะแถวที่ ๓, ๔

พยัคฆ์ , วัชชี

• พยัญชนะแถวที่ ๕ พยัญชนะแถ วที่ ๑,๒,๓, ๔,๕

สั มปทาน
สั มผัส , พิมพ์


Slide 8

หลักเกณฑ์ สาหรับสั งเกตคาที่มาจากภาษาสั นสกฤต
• ๑. คาใดทีส่ งสั ยว่ าไม่ เป็ นบาลีกเ็ ป็ นภาษาสั นสกฤตแล้วคานั้น
ประกอบด้ วยสระไอ หรือสระเอามาแต่ เดิม(ไม่ ใช่ แผลงในตอนหลัง)
คานั้นต้ องเป็ นภาษาสั นสกฤตเพราะบาลีไม่ มีสระไอสระเอา เช่ น
ไมตรี ไกลาส (ไทยใช้ ไกรลาส) ไวยนต์ หรือ (ไพชยนต์ ) เอารส
• ๒. คาใดมี ษ ค กับ ศ บ ส่ วนมากมาจากภาษาสั นสกฤต เช่ น
ไปรษณีย์ ศาลา ศีล ศิษย์
• ๓. คาทีม่ ี ฤ มักมาจากภาษาสั นสกฤต หรือ แปลงมาจากสั นสกฤต
เช่ น มฤตยู มฤคา มฤคหิต มฤโฆษ พฤฒา


Slide 9

• ๔.คาใดมี รร หัน และมีตัวสะกดไม่ ว่าตัวสะกดนั้นจะใช่ เป็ นตัวสะกด
หรือเอาตัวการันต์ กต็ าม เป็ นคามาจากภาษาสั นสกฤต เช่ น ครรภ
ครรภ์ พรรษา พรรค พรรต์ พรรณนา สรรค สรรค์
• ๕. คาใดใช้ ต ถ ท ธ น เป็ นตัวสะกดแล้วใช้ ย เป็ นตัวตามคานั้นเป็ น
ภาษาสั นสกฤต เช่ นวิทยา สั ตยา มัธยม สามานย์ นิตยา อาทิตย์ รัถยา
(หรือ รถยา) กันยา แพทย์

คาทีใ่ ช้ ณ สะกด ใช้ ย เป็ นตัวตามโดยมากเป็ นคาสั นสกฤต เช่ น
หิรัณย์ การุณย์ ปุณยะ


Slide 10

• ๖. คาทีใ่ ช้ ส เป็ นตัวสะกดใช้ ตัวอืน่ ๆตาม(ยกเว้ น สมาส) และใช้ ส
เป็ นตัวควบกลา้ มักเป็ นคาสั นสกฤต เช่ น วัสดุ พิสดาร พิสมัย
สวัสดิกะ มัธยัสถ์

สาหรับคาสั นสกฤตที่ใช้ ส ควบกลา้ เมื่อไทยเรานามาใช้ ออก
เสี ยงสระอะนิดนึง เช่ น สถาน สนาน เสน่ ห์ สวรรค์ สดมภ์ สกนธ์
สตรี สถิติ
• ๗. คาทีม่ ีตัวควบกลา้ เมื่อรูปคล้ายบาลี(ไม่ ใช้ ภาษาไทยหรือ
ภาษาต่ างประเทศอืน่ ๆ)ต้ องเป็ นภาษาสั นสกฤต เช่ น เกียรติ สู รย์
จิตร วิกรม พักตร์ มาตรา เคราะห์
๘. คาทีใ่ ช้ ฬ โดยมากไม่ ใช่ ภาษาสั นสกฤต


Slide 11

• ๙. คาทีม่ ีตัวสะกดตัวตามขัดกับหลักตัวสะกดตามตามของบาลีแล้ว
ย่ อมเป็ นคาสั นสกฤต เช่ น มาโนชญ์ ปราชญา ปรัชญา อาชญา มุกดา
วรรณยุกต์ คุปต์ อัคคี สั ปดาห์ มัธยม มิถยา(มิจาา) มัธยัสถ์ อัธยาย
(บทเรียน) ใช้ พยัญชนะแถวที่๒ และแถวที่ ๔ เป็ นตัวสะกดซึ่งบาลี
ไม่ ใช้
๑๐. คาที่มีตัวสะกดแล้วไปมีตัวตามมีแต่ เาพาะภาษาสั นสกฤต ข้ อนี้
สั งเกตยากเพราะเมื่อเป็ นรูปภาษาไทยเรามักเอาพยางค์ สุดท้ ายของ
คาบาลีเป็ นตัวสะกดเสี ยด้ วยจึงต้ องรู้ว่าตัวสะกดทีอ่ ยู่ท้ายคาซึ่งไปมี
ตัวตามนั้น เดิมเป็ นตัวสะกดหรือไม่ ถ้าอยู่เดิมคานั้นต้ องเป็ น
สั นสกฤต พอมีหลักช่ วยในการสั งเกตได้ ดังนี้


Slide 12



๑๐.๑. ถ้ าคาใดลงท้ ายด้ วยคาว่ าอิน(น.หนู) มักมาจากภาษา
สั นสกฤต เช่ น ศิลปิ น กริน จักริน ปักษิน หัสดิน ชีวนิ (คาพวกนี้
มักจะแปลว่ า ผู้มี…)นาหน้ า เช่ น ปักษิน แปลว่ า ผู้มีปีก หมายถึง
นก ปักษิน แปลว่ า ผู้มีปีก หมายถึง นก

• กริน แปลว่ า ผู้มีมือ หมายถึง ช้ าง เป็ นต้ น
• ๑๐.๒. คาที่ใช้ ส เป็ นตัวสะกด ต่ อไปนีเ้ ป็ นคาภาษาสั นสกฤต เช่ น
มนัส วนัส นมัส สุ มนัส(ใจดี,พอใจ) แต่ โสมนัสมาจากภาษาบาลี


Slide 13

หลักสั งเกตคาบาลี - สั นสกฤต เพิม่ เติม
• ตัวสะกด -บำลี ต้องมี พยัญชนะตำมหลัง เช่น กังขำ นันทำ สันติ
-สันสกฤต ไม่ตอ้ งมีพยัญชนะตำมหลังก็ได้ เช่น มนัส
หัสดิน ปักษิณ
• ตัวสะกดในภำษำบำลี แบ่งออกเป็ น ๒ พวก คือ ๑. พยัญชนะวรรค
๒. พยัญชนะเศษวรรค
• ก. พยัญชนะวรรค - พยัญชนะแถวที่๑,๓,๔ เท่ำนั้นเป็ นตัวสะกด
พยัญชนะแถวที่ ๑ สะกด แถวที่๑,๒ ในวรรคเดียวกัน
ตำม เช่น สักขี ปัจจัย มัจฉำ อัฏฐิ อัตตำ อัตถุ ปับผำสะ


Slide 14

พยัญชนะแถวที่ ๓ สะกดแถวที่๓,๔ ในวรรคเดียวกันตำม เช่น
อัคคี วัชชี มัชฌิมำ วุฑฒิ ลัทธิ
พยัญชนะแถวที่ ๕ สะกดแถวที่๑,๒,๓,๔,๕ ในวรรคเดียวกัน
ตำม เช่น กังขำ อังคำร อัญชลี อัมพร สงฆฒ สันตำน
• ข. พยัญชนะเศษวรรคในบำลี ที่ใช้เป็ นตัวสะกดได้ ๕ ตัว ย ร ว ส ฬ
ตัว ย จะเป็ นตัวสะกดได้ เมื่อมี ย หรื อ ห ตำมหลัง เช่น วัยยิกำ คุยห
ตัว ล จะเป็ นตัวสะกดได้เมื่อมี ล ย หรื อ ห ตำมหลัง เช่น มัลลิกำ วุลห
ตัว ว ฬ จะเป็ นตัวสะกดไดเมื
่ มี ห ตามหลัง
้ อ
่ มีตวั
เช่น ชิวหำ วิรุฬหก ตัว ส จะเป็ นตัวสะกดไดเมื
้ อ
ต น ม ย ว หรื อ ส เช่น ภัสดำ มัสสุ ตัสมำ
• ในสั นสกฤตตัวสะกดมีเพิม
่ ๒ ตัว ศ ษ เช่น อัศว


Slide 15

ตัว ร กับตัว ห เป็ นตัวสะกดไม่ได้ท้ งั บำลีและสันสกฤต ในไทย
ใช้ เช่น พรหม พรำหมณ์ จร ศร มรรค บริ วำร สรรพ มำรค ฯลฯ

ตัว ร ทีค
่ วบกับตัว
ขอสั
้ งเกต
อื่น และใช้เป็ นตัวสะกดให้ถือว่ำมำจำกภำษำสันสกฤต เช่น มรรค
สรรพ อรรฆ มำรค ฯลฯ
ส่ วนตัว ร สะกดลำพังตัวเดียวและมี รร อยูข่ ำ้ งหน้ำนับเป็ นคำ
ไทย เช่น บรรเลง บรรจบ บรรดำ บรรทม
อะ
อิ
อุ ในบาลีบางคาเป็ น
สระ ฤ ในสันสกฤต เช่น
บาลี
สั นสกฤต
บาลี
สั นสกฤต
กต
กฤต
อิสิ


Slide 16

บาลี
สั นสกฤต
บาลี
อิกข
ฤกษ์
วุฒฑิ
อุชุ
ฤกขุ
อุตุ
ตัว ข ในบำลีมกั เป็ นตัว ก ษ ในสันสกฤต เช่น
บาลี
สั นสกฤต
บาลี
ขณ
กฺษณะ
ขรี
สิ กขำ
สิ กฺษำ
เขม
มัชฌ
มธฺ ย
ปรำโมชช

สั นสกฤต
วฤทธิ
ฤตุ

สั นสกฤต
กษีร
เกษม
ปรโมทย์


Slide 17

สระบาลี และ สระสั นสกฤต
• สระบาลี ๘ เสี ยง
เสี ยงสั้น (รัสสระ) อะ อิ อุ
เสี ยงยำว (ฑีฆ สระ) อำ อี อู เอ โอ
• สระสั นสกฤต ๑๔ เสี ยง
เสี ยงสั้น (รัสสระ) อะ อิ อุ ไอ ฤ ฦ
เสี ยงยำว (ฑีฆ สระ) อำ อี อู เอ โอ เอำ ฤๅ
ฦๅ


Slide 18

พยัญชนะบาลี ๓๓ ตัว สั นสกฤต ๓๕ ตัว







วรรคกะ ก
วรรคจะ จ
วรรคฏ ะ ฏ
วรรคตะ ต
วรรคปะ ป
เศษ วรรค ย ร ล
ษ)







วศษ







สหฬ









เศษวรรค



ศ ย

ร ษ

ล ส

(พยัญชนะบำลีไม่มี ศ


Slide 19

หลักการใช้ ศ ษ ส
• คำที่ใช้ ศ ษ จะเป็ นคำที่มำจำกภำษำสันสกฤต ส่ วนพยัญชนะ ส มี
ใช้ท้ งั ภำษำบำลีและสันสกฤต กำรใช้ ส ในภำษำบำลีใช้กบั วรรค
ใดก็ได้ ส่ วนกำรใช้ ส ในภำษำสันสกฤตใช้กบั พยัญชนะในวรรค
ตะ(ทันต ชะ) ต ถ ฑ ธ น เท่ำนั้น เช่น พิสดำร สตรี ภัสดำ
วำสนำ สำธยำย สถูป สวัสดี เป็ นต้น


Slide 20

หลักการใช้ ณ
• กำรใช้ ณ ในภำษำบำลีใช้เป็ นตัวสะกดและมี ห เป็ นตัวตำมหรื อ ณ
เป็ นตัวสะกด แล้วมี พยัญชนะวรรคฏะ (พุทธชะ) ฏ ฐ ฑ ฒ ณ เป็ น
ตัวตำม เช่น กัณหำ ตัณหำ จัณฑำล กัณฑ์ เป็ นต้น กำรใช้ ณ ใน
ภำษำสันสกฤต ใช้ ณ ตำมหลัง ร ฤ ษ แม้จะมีพยัญชนะวรรคกะ ก ข
ค ฆ ง วรรคปะ ป ผ พ ภ ม หรื อ ย ร ว และสระคัน่ ก็ตำม เช่น
ตฤณมัย นำรำยณ์ ประณม ตรังคิ ณี เป็ นต้น
• สังเกตจำกำรแผลง ไอ เป็ น แอ คำที่แผลงจำกสระไอเป็ นสระแอได้
จะเป็ นคำที่มำจำกภำษำสันสกฤตทั้งนี้ เพรำะบำลีไม่มีสระไอให้ใช้


Slide 21

หลักการใช้ ณ
เช่น ไวท ย แผลงเป็ น แพทย์ ไสนยำ แผลงเป็ น แสนยำ
ไวศย แผลงเป็ น แพทย์ ไทตย แผลงเป็ น แทตย์
• สังเกตจำกคำว่ำ “ เครำะห์ ” มักแผลงมำจำก “ ครห ” ในภำษำ
สันสกฤต เช่น สงเครำะห์ วิเครำะห์ อนุเครำะห์ ฯลฯ


Slide 22

แนวเทียบคาบาลี - สั นสกฤต
บาลี
อริ ยะ
รัตติ
สิ งคำร
เวช(ช์ )
ขัตติยะ
นักขัต(ต์ )

สั นสกฤต
อำรยะ
รำตรี
ศฤงคำร
แพทย์
กษัตริ ย ์
นักษัตร

บาลี
อัจฉรำ
อิทธิ
ติณ
ขณะ
ชัย
สิ กขำ

สั นสกฤต
อัปสร
ฤทธิ
ตฤณ
กษณะ
กษัย
ศึกษำ


Slide 23

บาลี
ปัจจุบนั
มัชฌิม
ทิฏฐิ
สัตตำหะ
บุปผำ
กีฬำ
มเหสี
เนตฺ ต
สย
มนุสส์
สิ สส์

สั นสกฤต
ปรัตยุบนั
มัธยม
ทฤษฎี
สัปดำห์
บุษบำ
กรี ฑำ
มหิ สี
เนตร
สวยมฺ
มนุษย์
ศิษย์

บาลี
มัจฉำ
ปัญญำ
ฐำน
อิตถี
ครุ ฬ
สิ ริ
มุตฺตำ
สำลำ
สยมฺ ภู
อำทิจจ์
วิชชำ

สั นสกฤต
มัตสยำ
ปรัชญำ
สถำน
สตรี
ครุ ฑ
ศรี
มุกตำ
ศำลำ
สุ วยภู
อำทิตย์
วิทยำ


Slide 24

บาลี
อุปชุฌำย
ฐำปนำ
ถำวร
อิฏฐิ
ทิฏฐิ
โอฏฐ
บุตต์
สิ ถฑ
ฉัตฺต
รุ กข์

สั นสกฤต
อุปธยำย
สถำปนำ
สถำวร
อิษฏ
ทฤษฺฎี
โอษฐ
บุตร
สิ ถฺษำ
ฉตฺ ร
พฤกษ์

บาลี
สำมัญญ
ฐิติ
ถูป
ตุฏฐิ
รฎฐ
วิเสส
กัณหำ
โอกำส
เมตฺ ติ
อัชฌำสัย

สั นสกฤต
สำมำพย
สถิต
สถูป
ตุษฎี
รำษฎร
วิเศษ
กฤษณำ
อำกำศ
ไมตฺ ริ
อัธยำสัย


Slide 25

สร้ างสรรค์ ผลงานโดย…..
๑.นายตะวัน
๒.นางสาวพิมาภรณ์
๓.นางสาวฐิติมา
๔.นางสาวเมสิ นี
๕.นายอัยรัฐ
๖.นางสาวชรินรัตน์

พรรัชกิจ เลขที่ ๘
แก้วสวัสดิ์ เลขที่ ๑๔
ณ มณี เลขที่ ๒๑
แก้วชาดก เลขที่ ๒๒
ระมัญบากา เลขที่ ๓๖
แก้วลายทอง เลขที่ ๓๗

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ห้ อง ๒