เรื่องสั้น 612 Kb 03/11/14

Download Report

Transcript เรื่องสั้น 612 Kb 03/11/14

Slide 1


Slide 2

ความหมายของเรื่องสั้ น
คาว่ าเรื่องสั้ น มาจากคาภาษาอังกฤษว่ า Short Story ได้ มีผู้ให้ คาจากัดความ
ไว้ หลากหลาย ดังนี้
เจือ สตะเวทิน (๒๕๑๐ : ๒๗) กล่ าวว่ า โดยปกติเรื่องสั้ นจะมีขนาด ๔,๐๐๐
ถึง ๕๐,๐๐๐ คา เป็ นเรื่องสั้ นขนาดพอเหมาะ บางทีอาจใช้ เพียง ๑,๕๐๐ คา ก็เป็ นเรื่อง
สั้ น หรืออาจใช้ ถึง ๗,๐๐๐- ๘,๐๐๐ คา ก็เป็ นเรื่องสั้ นได้ เหมือนกัน หากเข้ าลักษณะ
อืน่ ๆ ของเรื่องสั้ น
จินดา ดวงจินดา (๒๕๒๖ : ๕-๖) อธิบายว่ า เรื่องสั้ น คือ เรื่องทีเ่ ขียนแต่ งขึน้
มีความยาวพอประมาณ แต่ ส้ั นกว่ านวนิยาย หรือนวนิยายขนาดสั้ น ลักษณะสาคัญ
ของเรื่องสั้ นอยู่ที่ แก่ น หรือ แกนกลาง ซึ่งมีอยู่เพียงแกนเดียว หรือถ้ าจะเป็ นความ
ประทับใจก็เป็ นความประทับใจนั้น เอามาคลีค่ ลายขยายเป็ นเรื่อง ลักษณะหลักอีก
ประการหนึ่ง คือ ขอบเขตของเรื่องและตัวละครมีจากัด


Slide 3

จินดา ดวงจินดา (๒๕๒๖ : ๕-๖) อธิบายว่ า เรื่องสั้ น คือ เรื่องทีเ่ ขียนแต่ งขึน้
มีความยาวพอประมาณ แต่ ส้ั นกว่ านวนิยาย หรือนวนิยายขนาดสั้ น ลักษณะสาคัญ
ของเรื่องสั้ นอยู่ที่ แก่ น หรือ แกนกลาง ซึ่งมีอยู่เพียงแกนเดียว หรือถ้ าจะเป็ นความ
ประทับใจก็เป็ นความประทับใจนั้น เอามาคลีค่ ลายขยายเป็ นเรื่อง ลักษณะหลักอีก
ประการหนึ่ง คือ ขอบเขตของเรื่องและตัวละครมีจากัด


Slide 4

อาร์ ฟรานซิส ฟอสเตอร์ (R. Francis Foster อ้ างถึงใน ประทีป เหมือน
นิล ๒๕๑๙ : ๓๕) กล่ าวไว้ ในหนังสื อ How to Write and Sell Short Stories ว่ า
เรื่องสั้ น คือ วิกฤตการณ์ ชุดหนึ่ง มีความสั มพันธ์ สืบเนื่องกันและนาไปสู่ จุดยอด
อย่ างหนึ่ง
จูเลียน แอล. มาลิน และ เจมส์ เบอร์ กเลย์ (Julian L Maline and James
Berkley อ้ างถึงใน สุ ดารัตน์ เสรีวฒ
ั น์ ๒๕๒๒ : ๕) ได้ ให้ ความหมายว่ า เรื่องสั้ นมี
ข้ อทีน่ ่ าสั งเกตทีต่ ่ างไปจากวรรณกรรมประเภทอืน่ ๆ หลายประการ กล่ าวคือ เรื่อง
สั้ นดาเนินเรื่องในช่ วงระยะเวลาอันสั้ น มีตัวละครเด่ น ๆ เพียง ๒ - ๓ ตัว และเป็ น
เรื่องทีเ่ สนอความคิดเห็นสาคัญเพียงความคิดเดียว


Slide 5

การ์ โบ (Grabo ๑๙๖๑ : ๒๗๔-๒๗๕) กล่ าวว่ า เรื่องสั้ นต้ องมีโครงเรื่อง
ง่ าย ๆ ไม่ ซับซ้ อน มุ่งเน้ นทีเ่ วลา และสถานทีแ่ ห่ งการกระทาของตัวละครหนึ่ง
หรือสองสามตัว และพยายามเสนอเสิ่ งเหล่ านั้นออกมาในวิกฤตการณ์ เดียวของ
ช่ วงชีวติ ตัวละครเหล่ านั้นมากกว่ าทีจ่ ะติดตามเรื่องการเปลีย่ นแปลงหรือ
พัฒนาการ อันเป็ นผลจากประสบการณ์ นานาชนิดทีเ่ กิดขึน้ ในช่ วงเวลาที่ผ่านมา
สรุปได้ ว่า เรื่องสั้ น คือ เรื่องทีม่ ีการดาเนินเรื่องแบบวิกฤตการณ์ เดียว
ระยะเวลาสั้ น ๆ เสนอความคิดสาคัญเดียว มีตัวละครเด่ น ๆ ๒-๓ ตัว


Slide 6

องค์ ประกอบของเรื่องสั้ น
องค์ ประกอบของเรื่องสั้ น แบ่ งออกได้ 6 องค์ ประกอบ ดังนี้
๑) แก่ นเรื่อง คือ แนวความคิดหรือจุดสาคัญของเรื่องทีผ่ ู้แต่ งมุ่งจะสื่ อให้ ผู้อ่าน
ทราบ แต่ เนื่องจากเรื่องสั้ นมีขนาดจากัด เรื่องสั้ นจึงมีแก่ นเรื่องเพียงแก่ นเดียว หรือมุ่ง
สะท้ อนแนวคิดของผู้แต่ งเพียงประการเดียว เช่ น ชี้ให้ เห็นความแปลกประหลาดเพียง
เรื่องเดียว หรือแสดงอารมณ์ อย่ างใดอย่ างหนึ่งเพียงอย่ างเดียว หรือแสดงชี วติ ในแง่ มุมที่
แปลกเพียงแง่ เดียว หรือเผยทัศนะของผู้แต่ งเพียงข้ อเดียว เป็ นต้ น


Slide 7

๒) โครงเรื่อง คือเค้ าโครงเรื่องทีผ่ ู้แต่ งกาหนดไว้ ก่อนว่ าจะแต่ งเรื่องไปใน
ทานองใด จึงจะสามารถดึงดูดความสนใจของผู้อ่านให้ ตดิ ตามเรื่องอย่ างตืน่ เต้ นและ
กระหายใคร่ รู้ ไปได้ ตลอดทั้งเรื่อง โครงเรื่องทีม่ ีลกั ษณะดังกล่ าวนี้ จาเป็ นต้ องอาศัย
กลวิธีการผูกปม (Complication) การคลายปม (Denouement) และการหน่ วงเรื่อง
(Suspense) ตลอดจนกลวิธีการเปิ ดเรื่อง การปิ ดเรื่องและกลวิธีการดาเนินเรื่ องของผู้
แต่ ง และกลวิธีการผูกปมทีด่ นี ้ันจะต้ องประกอบด้ วยข้ อขัดแย้ ง (Conflict) อุปสรรค
(Obstacles) และการต่ อสู้ (Struggle) ด้ วย
อย่ างไรก็ตาม เรื่องสั้ นทีด่ คี วรจะมีโครงเรื่องง่ าย ๆ ไม่ ซับซ้ อนเพียงโครงเรื่อง
เดียว เพราะมีข้อจากัดในเรื่องความยาว


Slide 8

๓) ตัวละคร คือผู้แสดงบทบามสมมุตติ ามทีผ่ ู้แต่ งกาหนด โดยทัว่ ไปผู้
แต่ งมักกาหนดให้ ตวั ละครในเรื่องสั้ นมีน้อยตัว เพราะเรื่องสั้ นมุ่งแสดงแก่ นของ
เรื่องเพียงแก่ นเดียวหรือมุ่งแสดงผลของเรื่องเพียงข้ อเดียว ฉะนั้นเพือ่ ให้ เรื่อง
ดาเนินไปสู่ จุดหมายปลายทางได้ เร็วทีส่ ุ ด ผู้แต่ งจึงนิยมสร้ างตัวละครให้ มีน้อยตัว
คือมีตวั ละครเอกเพียงหนึ่งหรือสองตัว จะมีตัวละครประกอบทีเ่ ป็ นประโยชน์ ต่อ
เรื่องจริง ๆ อีก ๒-๓ ตัวเท่ านั้น


Slide 9

๔) บทสนทนา คือ ถ้ อยคาทีต่ วั ละครใช้ พูดจาโต้ ตอบกัน บทสนทนาอาจมี
ประโยชน์ ต่อการเขียนเรื่องสั้ น เพราะช่ วยทาให้ เรื่องดาเนินคืบหน้ าไปได้ โดยผู้แต่ งไม่
ต้ องอธิบายให้ ยดื ยาว ช่ วยสะท้ อนบุคลิกลักษณะเฉพาะตัวของตัวละคร หรือช่ วย
สร้ างบรรยากาศของเรื่องให้ เป็ นไปตามธรรมชาติ


Slide 10

๕) ฉาก คือ สถานทีท่ เี่ กิดเหตุการณ์ ในเรื่อง ซึ่งหมายรวมถึงเวลาและสภาพ
ทีแ่ วดล้ อมเหตุการณ์ น้ัน ๆ ด้ วย ฉากทีส่ าคัญในเรื่องสั้ นมักจะมีการกล่ าวถึงเพียงฉาก
เดียว เพราะผู้แต่ งถือหลักว่ า "ยิง่ ใช้ เหตุการณ์ สถานที่ และเวลาในเรื่องน้ อยเท่ าใด ก็
ยิง่ มีผลทาให้ แนวคิดของเรื่องชัดขึน้ เท่ านั้น" ประกอบกับการเขียนเรื่องสั้ นมีข้อจากัด
ในเรื่องของขนาด ด้ วยเหตุนีผ้ ู้แต่ งเรื่องสั้ นจึงมักจะเลือกเอาเหตุการณ์ สาคัญของเรื่อง
มากล่ าวอย่ างละเอียดเพียงเหตุการณ์ เดียว พร้ อมกันนีก้ ็ กล่ าวถึงสถานทีส่ าคัญเพียง
แห่ งเดียวและกล่ าวถึงระยะเวลาทีเ่ กิดเหตุการณ์ ในเรื่องด้ วยช่ วงสั้ น ๆ เท่ านั้น


Slide 11

๖) บรรยากาศ คือ อารมณ์ ต่าง ๆ ของตัวละครทีเ่ กิดจากประสาทสั มผัสทั้ง ๕
และมีอทิ ธิพลทาให้ ผู้อ่านเกิดอารมณ์ คล้ อยตามไปตามด้ วย การสร้ างบรรยากาศ
จาเป็ นต้ องอาศัยรายละเอียดจากส่ วนประกอบอืน่ ๆ ของเรื่องด้ วย เช่ น สิ่ งของ
เครื่องใช้ สี หน้ า ท่ าทาง เครื่องแต่ งกายและบทสนทนาของตัวละครตลอดจนเครื่อง
ประกอบฉาก เช่ น แสง สี และเสี ยง เป็ นต้ น
เพราะสิ่ งแวดล้ อมเหล่ านีจ้ ะทาให้ ตวั ละครและผู้อ่านเกิดอารมณ์ อย่ างใดอย่ าง
หนึ่งตามทีผ่ ู้แต่ งต้ องการได้ เรื่องสั้ นทีด่ จี ะต้ องมีฉากและบรรยากาศทีส่ มจริงและที่
สาคัญคือทั้งสองสิ่ งนีจ้ ะต้ องสั มพันธ์ กนั และต้ องสอดคล้ องกับเนื้อเรื่องด้ วย โดยทัว่ ไป
ผู้แต่ งเรื่องสั้ นจะถือว่ าบรรยากาศเป็ นส่ วนประกอบทีส่ าคัญอย่ างหนึ่งของฉาก เพราะ
มีส่วนช่ วยทาให้ ผู้อ่านเข้ าใจเรื่องราวได้ ดยี งิ่ ขึน้ ดังนั้นการสร้ างบรรยากาศในเรื่องสั้ น
จึงนิยมทาควบคู่ไปกับการสร้ างฉากพร้ อมทั้งใช้ หลักเกณฑ์ แบบเดียวกัน


Slide 12

ประเภทของเรื่องสั้ น
การแบ่ งประเภทของเรื่องสั้ นมีหลายลักษณะ ดังนีค้ อื
๑) แบ่ งตามลักษณะการแต่ ง มี ๒ ประเภท คือ เรื่องสั้ นประเภทเน้ นโครงเรื่อง
หมายถึงเรื่องสั้ นแนวเก่ าทีน่ ิยมยึด "เหตุการณ์ " เป็ นหลักแล้ วจบลงแบบหักมุม กับ
เรื่องสั้ นประเภทไม่ เน้ นโครงเรื่อง หมายถึงเรื่องสั้ นแนวใหม่ ทนี่ ิยมยึด "ความคิด
หรืออารมณ์ ของผู้แต่ ง" เป็ นหลักแล้ วจบเรื่องตามสภาพความเป็ นจริงในชีวติ
(สายทิพย์ นุกูลกิจ 2537 : 163)
๒) แบ่ งตามจุดมุ่งหมายในการแต่ ง มี ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มเรื่องสั้ นแนวประเทือง
อารมณ์ หมายถึงเรื่องสั้ นทีผ่ ู้แต่ งมุ่งให้ ผู้อ่านเกิดความบันเทิงใจเป็ นหลักสาคัญ กับ
เรื่องสั้ นแนวประเทืองปัญญา หมายถึงเรื่องสั้ นทีผ่ ู้แต่ งมุ่งให้ ผู้อ่านเกิดความรู้
ความคิดหรือเกิดความเข้ าใจในเรื่องราวความเป็ นไปของชีวติ และสั งคม


Slide 13

๓) แบ่ งตามลักษณะโครงเรื่อง ดังนี้ คือ
๓.๑) เรื่องสั้ นชนิดผูกเรื่อง (Plot Story) คือ เรื่องสั้ นที่ให้ ความสาคัญ
แก่ โครงเรื่องเป็ นพิเศษ ผู้แต่ งมักจะสร้ างสถานการณ์ แปลก ๆ ซับซ้ อน ชวนให้
ฉงน และมักจบลงในลักษณะทีผ่ ู้อ่านคาดไม่ ถงึ เช่ น เรื่อง "สร้ อยคอทีห่ าย" ของ
ประเสริฐอักษร เรื่อง "สั ญชาตญาณมืด" ของ อ.อุดากร เรื่อง "จับตาย" ของ
มนัส จรรยงค์ "การตอบแทน" ของตุลยเทพ สุ วรรณจินดา เป็ นต้ น
๓.๒) เรื่องสั้ นชนิดเน้ นแนวคิด (Theme Story) คือเรื่องสั้ นทีผ่ ู้แต่ ง
ต้ องการเสนอแนวคิดหรือทัศนะอย่ างใดอย่ างหนึ่งของตนมายังผู้อ่านเป็ นสาคัญ
เช่ น เรื่อง "ถนนสายทีน่ าไปสู่ ความตาย" ของ วิทยากร เชียงกูล "มิตทิ สี่ ี่ ของ
บาป" ของ ภักดี ริมมากุลทรัพย์ เป็ นต้ น


Slide 14

๓.๓) เรื่องสั้ นชนิดเน้ นตัวละคร (Character Story) คือเรื่องสั้ นทีผ่ ู้แต่ งถือ
ว่ าตัวละครเป็ นองค์ ประกอบสาคัญของเรื่อง ตัวละครมีความสาคัญกว่ าโครงเรื่อง
เพราะเหตุการณ์ ในเรื่องเกิดจากพฤติกรรมของตัวละคร
ผู้แต่ งจึงนิยมเขียนถึงลักษณะหรืออุปนิสัยอย่ างใดอย่ างหนึ่งของตัวละคร
ให้ เห็นเด่ นชัดเป็ นพิเศษ เพือ่ ชี้ให้ ผู้อ่านเห็นว่ า ลักษณะหรืออุปนิสัยดังกล่ าวนีเ้ องที่
นาผลอย่ างใดอย่ างหนึ่งมาสู่ ตวั ละครเองหรือคนอืน่
หรือจะกล่ าวว่ าผู้แต่ งมักกาหนดให้ เนือ้ เรื่องดาเนินไปตามพฤติกรรมของ
ตัวละครเอกก็ได้ เช่ น เรื่อง "คุณย่ าเพิง้ " ของครู เทพ "ซาเก๊ าะ" ของ มนัส จรรยงค์
"มอม" ของ ม.ร.ว. คึกฤทธ์ ปราโมช "ยาย" ของ มน. เมธี และเรื่อง "ขุนเดช" ของ
สุ จิตต์ วงษ์ เทศ เป็ นต้ น


Slide 15

๓.๔) เรื่องสั้ นชนิดเน้ นบรรยากาศ (Atmosphere Story) คือเรื่องสั้ นทีผ่ ู้แต่ ง
ต้ องการสร้ างบรรยากาศของเรื่องให้ ดูสมจริง จนผู้อ่านเกิดความรู้ สึกเหมือนกับว่ าได้
ร่ วมรับรู้ เหตุการณ์ น้ัน ๆ ด้ วยตนเอง เรื่องสั้ นชนิดนีม้ ักเป็ นเรื่องเกีย่ วกับการสื บสวน
อาชญากรรม หรือเป็ นเหตุการณ์ ทนี่ ่ าตืน่ เต้ นระทึกใจ เพราะเขียนได้ ง่ายและชัดเจน
กว่ าเรื่องอืน่ ๆ ถึงกระนั้นก็ตาม ผู้แต่ งก็ต้องมี ศิลปการเขียนอย่ างดีด้วย ผู้อ่านจึงจะ
สามารถเกิดอารมณ์ ร่วมด้ วย เช่ นเรื่อง ตุ๊กแกนรก ของ ปกรณ์ ปิ่ นเฉลีย่ ว แหลม
ตะลุมพุก ของ มนัส สั ตยารักษ์ เป็ นต้ น


Slide 16

๔) แบ่ งตามแนวคิดหรือปรัชญาของเรื่อง ดังนี้
๑. กลุ่มอัตถนิยม (Realism) บางครั้งเรียกว่ า "สั จนิยม" คือ ลักษณะการ
เขียนจะใช้ บรรยากาศ ฉาก ตัวละคร ตลอดจนปัญหาการขัดแย้ ง และสร้ างปมต่ าง
ๆ เป็ นไปในเชิง "สมจริง" ทั้งหมด การดาเนินเรื่องมักจะเรียบง่ ายและเข้ าใจได้
ทันที โดยยึดถือรู ปแบบการมองภายนอกเป็ นหลัก และความจริงทีเ่ ห็นคือความ
จริงทีแ่ สดง เช่ น เรื่อง พระช่ วย ของ สุ จิตต์ วงศ์ เทศ รองเท้ าสี นา้ ตาล แมวสี เทา
และชายชรา ของ ตัก๊ วงศ์ รัฐ จาเลยมนุษยธรรม ของ วิวฒ
ั น์ รุจทิฆมั พร บน
สะพานสู ง ของ กรณ์ ไกรลาส และเรื่องชายผ้ าเหลือ ของ ศรีดาวเรือง เป็ นต้ น


Slide 17

๒. กลุ่มสั ญลักษณ์ (Symbolism) ลักษณะการเขียนใช้ สัญลักษณ์ อย่ างใดอย่ าง
หนึ่งปรากฎอยู่ในการบรรยายฉาก ตัวละคร รวมทั้งปัญหาการขัดแย้ งต่ าง ๆ ในการ
สร้ างปมของเรื่อง การดาเนินเรื่องมักใช้ กลวิธี "ย้ อนกลับไปกลับมา" ความซับซ้ อน
ของจิตใต้ สานึก ซึ่งเป็ นการมองแบบภายในเป็ นหลัก เช่ น เรื่อง แว่ นตาไม่ มีกระจก
ของ นิพนธ์ จิตรกรรม หนี ของ ประพันธ์ ผลเสวก จะไปฆ่ ามันทาไม ของ ประดิษฐ์
กลัดประเสริฐ และ ความในใจของกระดูกจระเข้ ของ วัฒน์ วรรลยางกูร เป็ นต้ น


Slide 18

๓. กลุ่มเหนือความจริง (Surrealism) ลักษณะการเขียนจะใช้ สิ่งทีด่ ูเหมือน
เป็ นความจริงนามาเปรียบเทียบกับสิ่ งทีเ่ ป็ นไปได้ หรือเป็ นไปไม่ ได้ บางครั้งใช้
สั ญลักษณ์ บางครั้งใช้ จินตนาการเล่ าเรื่องทีเ่ ป็ นโลกแห่ งความฝัน บางครั้งใช้ แนว
เดียวกับการเขียนนวนิยายวิทยาศาสตร์ บางครั้งใช้ กลวิธีวาดภาพย้ อนกลับไปกลับมา
แบบเทคนิคการตัดต่ อภาพยนตร์ ร่ ุนใหม่ เช่ น เรื่อง รถไฟเด็กเล่ น ของ สุ ชาติ สวัสดิ์ศรี
คา่ คืนอันโหดร้ ายในวันว่ างเปล่ า ของ วิสา คัญทัพ ฆาตกร ของ โกสุ ม พิสัย มนุษย์
ข้ อมือ ของ สุ วฒ
ั น์ ศรีเชื้อ เป็ นต้ น


Slide 19

๔.กลุ่มกะเทาะสั งคม (Satirical) ลักษณะการเขียนเป็ นไปแบบสมจริง
หากแต่ ม่ ุงจะเสี ยดสี สังคม ทานองคล้ ายนิทานเปรียบเทียบ เช่ น นางสาวไทย
รอบสุ ดท้ าย ของ อนุช อาภาภิรม, ข้ าพเจ้ ามิใช่ ข้าพเจ้ า ของ บัณฑิต ศิริชัยวงษ์
ฉันคือต้ นไม้ ของ ไมตรี ลิมปิ ชาติ เป็ นต้ น


Slide 20

๕. กลุ่มแปลกแยก (Alienation) ลักษณะการเขียนมีจุดอยู่ตรงทีเ่ ล็งเห็น
สภาพของมนุษย์ ในสั งคมปัจจุบนั ได้ ถูกตัดขาดออกจากความเชื่อและกฎเกณฑ์
แบบเก่ า การดาเนินเรื่องค่ อนข้ างเป็ นแบบการราพึงของจิตใจสานึก (Monlogue
Subconcionus) เสี ยส่ วนมาก บางทีกใ็ ช้ การเปรียบเทียบกับสั ญลักษณ์ และการ
เสี ยดสี เยาะเย้ ยมาอธิบายการกระทาของตัวละครในลักษณะทีไ่ ร้ เหตุผล สิ้นหวัง
และถูกสั งคมเมินหน้ า เช่ น ถนนสายทีน่ าไปสู่ ความตาย ของ วิทยากร เชียงกูล เขา
กับบาดแผลทีข่ ้ อเท้ า ของ จรัล ดิษฐาอภิชัย ลูกองุ่น ของ ท. เสน เจนจัด (สุ รชัย
จันทิมาธร) นา้ นั้นย่ อมซะตลิง่ ของ ธงชัย สุ รการ และเรื่องจากห้ องสี ปัสสาวะ ของ
ทะนง พิสาล เป็ นต้ น (สุ ชาติ สวัสดิ์ศรี 2518 : 36)


Slide 21

คาถาม
๑. เรื่องสั้ นหมายถึงอะไร
๒. เรื่องสั้ นมีองค์ ประกอบอะไรบ้ าง
๓. เรื่องสั้ นมีกปี่ ระเภท อะไรบ้ าง


Slide 22

เฉลย
๑. เรื่องสั้ น คือ เรื่องทีม่ ีการดาเนินเรื่องแบบวิกฤตการณ์ เดียว ระยะเวลาสั้ น ๆ เสนอ
ความคิดสาคัญเดียว มีตัวละครเด่ น ๆ ๒-๓ ตัว
๒. มี ๖ อย่ าง คือ
๑. แก่ นเรื่อง ๒. โครงเรื่อง ๓. ตัวละคร ๔. บทสนทนา ๕. ฉาก ๖.
บรรยากาศ
๓. มี ๔ ประเภท คือ
๑.แบ่ งตามลักษณะการแต่ ง
๒. แบ่ งตามจุดมุ่งหมายในการแต่ ง
๓. แบ่ งตามลักษณะโครงเรื่อง
๔. แบ่ งตามแนวคิดหรือปรัชญาของเรื่อง