กฎหมายกับการลงโทษ - คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Download
Report
Transcript กฎหมายกับการลงโทษ - คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กฎหมายกับการลงโทษ
กฤษณ์พชร โสมณวัตร
คณะนิ ติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เค้ าโครงการนาเสนอ
สังคมกับอาชญากรรม
กฎหมายกับอาชญากรรม
กฎหมายกับการลงโทษ
การลงโทษกับโลกสมัยใหม่
1. สังคมกับอาชญากรรม
พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตให้ความหมาย “อาชญากรรม” :
การกระทา
ความผิดทางอาญา
A
crime is an act that breaks a law that
relates to how to behave in society. The
harm caused by the act is seen to be
against society as a whole, not just a
specific person.
ดูเหมือน “อาชญากรรม” จะเป็ นการกระทาที่ขดั หรื อแย้งกับกฎหมายเป็ นหลัก
ชิงทรัพย์
Organized crime
เมื่อกล่าวถึง “อาชญากรรม” และ “อาชญากร”
เรามักนึ กถึง การฆาตกรรม-ฆาตกร, ปล้นชิงทรัพย์-โจร, วิ่งราวขโมยของ-ขโมย
เมื่อเรานึ กถึง “อาชญากร” เรามักนึ กถึง “คนโง่-จน-เจ็บ”
เพราะ “โง่” จึงทามาหากินไม่ได้ จึง “จน” เมื่อจนแล้วก็เสียเปรียบไม่มคี วามสุ ข จึง “เจ็บ”
เมื่อ “เจ็บ” จึงทาตัวเป็ นอาชญากร
เมื่อมองปั ญหาอาชญากรรมลักษณะนี้ ทางแก้ปัญหาที่เราเห็นได้งา่ ยๆ คือ ให้การศึกษา
พัฒนาเศรษฐกิจ ให้หายโง่และเลิกจน
White Collar Crimes
เราจึงคิดว่า คน “ฉลาด-รวย-มีความสุ ข” จะไม่เป็ นอาชญากร ไม่กอ่ อาชญากรรม
เราจึงกลัว “สลัม” มากกว่า “บ้านจัดสรร”, กลัว “ตลาด” มากกว่า “ห้างสรรพสินค้า”
เอาเข้าจริ ง คน “ฉลาด-รวย-มีความสุ ข” ก็เป็ นอาชญากรได้
White Collar Crime
Lying, cheating, and stealing.
That’s white-collar crime in a nutshell. The term—reportedly coined in 1939—
is now synonymous with the full range of frauds committed by business and
government professionals.
- Asset Forfeiture/Money Laundering
- Bankruptcy Fraud
- Financial Institution Fraud & Failures
- Health Care Fraud
- Insurance Fraud
- Mass Marketing Fraud
It’s not a victimless crime. A single scam can destroy a company, devastate
families by wiping out their life savings, or cost investors billions of dollars
http://www.fbi.gov/about-us/investigate/white_collar/whitecollarcrime
White collar crime
เราไม่ได้กลัว “หมาป่ าแห่งวอลสตีท” เหมือนที่เรากลัวหัวขโมยตาม
สะพานลอย?
อย่างน้อยที่สุด White Collar Crime ก็ไม่ได้ปล้นใคร ฆ่าใคร?
ถ้าเรากลัวอาชญากรรม เราใช่กลัวความรุ นแรงหรื อไม่?
สิ่งที่เรากาลังกลัว อาจไม่ใช่ “การกระทาผิดกฎหมาย” แต่เป็ น
ความ “เถื่อน” “กักขฬะ” “ยากจน” คนกลุม่ คนที่เราไม่เคยชิน
จริ งหรื อ?
โจรในตานาน
“As game as Ned Kelly”
'Ned Kelly is the best known Australian, our only
folk hero … Popular instinct has found in Kelly a
type of manliness much to be esteemed—to
reiterate: courage, resolution, independence,
sympathy with the under-dog'.
เราอาจยกย่อง Ned Kelly, Robin Hood ฯลฯ ที่ปล้นฆ่าคนรวยขี้โกงมา
แจกจ่ายคนจน
คนรวยใช่คนหรื อไม่?
เสือเมเหศวร-เสือดา-เสือใบ
สมบัติ บุญงามองนงค์ (บก. ลายจุด)
อ่างเก็บน้าห้วยละห้า บ้านโนนตาล กิ่ง อ.นาตาล จ.อุบลราชธานี ก่อสร้างโดยสานักงาน
เร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) รู ปแบบโครงการเป็ นฝายน้าล้น เริ่ มก่อสร้างเมื่อวันที่ 31
สิงหาคม 2520 ก่อสร้างเสร็จเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2521
โครงการดังกล่าวทาให้ท่ นี าของยายไฮและเพื่อนบ้าน 21 ราย จมอยูใ่ ต้อา่ งเก็บน้าไม่
สามารถทานาได้
คาบอกเล่ าของยายไฮ
“อ่างเก็บน้าสร้างเสร็จปี 2521 จากนั้นมาชีวิตของฉันและครอบครัวก็จมอยูใ่ ต้น้า เสียที่ทา
กินไปเกือบหมด ที่ดินที่เหลืออยูก่ ก็ ลายเป็ นที่ตาบอด ไม่มที างออกทางเข้า ถ้าทานาคงต้อง
อุม้ ควายเข้าไป เคยไปขอซื้อที่ติดกันทางเหนื อเป็ นเงินแปดหมื่นบาทเพื่อเป็ นทางเข้าออก
เจ้าของที่เขาไม่ยอมขาย แล้วฉันจะทาอย่างไร เคยปลูกข้าวแจกชาวบ้าน กลับต้องไป
รับจ้างทานา จนเล็บหลุดทัง้ สองข้าง พ่อฟอง (สามี) ก็ ต้องไปรับจ้างสารพัดเพื่อหาเงินมา
เลี้ยงปากเลี้ยงท้องลูกๆ บางทีตอ้ งเดินไปขอข้าวที่หมูบ่ า้ นอื่นมากิน เวลาเดินก็ตอ้ งแยกย้าย
กันไปคนละทาง ไม่อย่างนั้นจะได้ขา้ วมาไม่พอกินกันทุกคน ลูกๆไม่ได้เรียนหนังสือ เพราะ
ฉันไม่มเี งินส่ง”
ร้องเรียนทุกสมัย ‘เปรม’ ยัน ‘ชวน’
รอไม่ไหว ยายไฮขุดสันอ่างเก็บน้า! สรยุทธ์เชิญออกทีวี และวันที่ 11 มีนาคม 2545
ผูไ้ ด้รับผลกระทบจากอ่างเก็บน้าห้วยละห้าทัง้ สามครอบครัวได้เข้าชุมนุ มสร้างเพิงพักที่
บริ เวณสันอ่างเก็บน้าห้วยละห้า และยื่นข้อเสนอว่า “จะระบายน้าเพื่อเอาที่นาคืน”
ทาลายทรัพย์สินของทางราชการหรื อไม่
บุกรุ กอสังหาริ มทรัพย์ของผูอ้ ่ ืนหรื อไม่
จะจับดีไหม?
Law Abiding Citizen
The Breaking Machine Movement in
England (c.18)
Machine-breaking was
criminalised by the Parliament
of the United Kingdom as early
as 1721, the penalty being
penal transportation, but as a
result of continued opposition
to mechanisation the Frame
Breaking Act 1812 made the
death penalty available: see
"criminal damage in English
law"
อาชญากรรมอีกแบบหนึง่
ในสังคมมีการการก่ ออาชญากรรมหลากหลาย
รูปแบบ โดยคนเกือบทุกกลุ่มในสังคม : คนจน, คน
รวย, คนถูกเอาเปรียบ, คนรักความเป็ นธรรม, ผู้แพ้
ในสังคม, “คนดี”- “คนเลว” ฯลฯ
2. กฎหมายกับอาชญากรรม
อาชญากรรม คืออะไร?
แค่การกระทาความผิดกฎหมายหรื อไม่ หรื อต้องมีองค์ประกอบอื่นๆ ด้วย
การจอดรถในที่หา้ มจอด, ไม่พกใบขับขี่, สู บบุหรี่ในมหาวิทยาลัย, ไม่แยกขยะ
ฆาตกรรม, ข่มชืนกระทาชาเรา, ลักพาตัวเด็กไปเรียกค่าไถ่, ชิงทรัพย์, กรรโชก
สองกลุม่ นี้เหมือนต่างกันหรื อไม่?
เพราะอะไร?
กฎหมายบางประเทศกาหนดองค์ประกอบทางจิตใจของการเป็ นอาชญากรรมไว้
ว่าเป็น “ความชัว่ ” (เยอรมัน)
“อาชญากรรม”
การกระทาที่ผิดกฎหมาย
การกระทาที่สงั คมไม่ยอมรับ เนื่ องจากผิดมาตรฐานทางศีลธรรม
ผู ก้ ระทาความผิดอาญา (“อาชญากร”) จึงมีตราบาป (Stigma) ว่าเป็ นบุ คคล
ที่ไม่ปกติ เป็นบุคคลที่ไม่พึงปรารถนา
เช่น ขี้ขโมย ขี้คุก ฆาตกร ฯลฯ
ในทางการสื บสวนสอบสวนก็มปี ระวัตอิ าชญากรรม (Criminal
record) ติดตัวผูก้ ระทาความผิด แม้วา่ จะได้รับโทษนั้นแล้วก็ตาม
Bishop Myriel and Jean Valjean
in Les Misérables
เสริม สาครราษฎร์
การรับโทษทาให้ พ้นความผิดหรือไม่ ?
นายไชยา ตันทกานนท์ อายุ 37 ปี อดีตผูต้ อ้ งขังเด็ดขาด โทษประหารชีวติ แต่ลดโทษเหลือจาคุกตลอด
ชีวติ ในคดีฆา่ หั่นศพ น.ส.เจนจิรา พลอยองุน่ ศรี
ไม่ผา่ นข้อบังคับการสมัครเป็นสมาชิกวิสามัญเนติบณ
ั ฑิต ฯ ที่กาหนดให้ผูท้ ่ สี มัครเป็นสมาชิกวิสามัญ
จะต้องไม่เคยต้องคาพิพากษาจาคุกบทหนักสุ ดให้ประหารชีวติ หรื อจาคุกตลอดชีวติ หากเป็นข้าราชการก็
ต้องไม่เคยถูกตัง้ กรรมการสอบวินัย
คณะกรรมการของเนติบณ
ั ฑิตยสภา ได้พจิ ารณาถึงความเหมาะสม และความร้ายแรงของคดีของนายเสริ ม
สาครราษฎร์ แล้ว จึงมีมติไม่รับเข้าเป็นสมาชิกวิสามัญ
ที่ประชุมจึงมีมติเป็นเอกฉันท์ ไม่รับนายเสริ ม เป็นวิสามัญสมาชิกเนติ ด้วยเหตุผลว่านายเสริ มเคยมีคดีอุ
ฉกรรจ์สะเทือนขวัญเป็นที่ทราบกันอยูท่ ว่ั ไป
ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับอาชญากรรม
อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ (Crime
and
Punishment)
โทษทางอาญา ได้แก่ ประหารชีวติ จาคุ ก กักขัง ปรับ และริ บทรัพย์
การลงโทษเท่ากับการทาให้บุคคลต้องทุกข์ทรมาน
ภาษาโรมันคาว่าการลงโทษ (Punishment) นั้นใช้คาว่า
“Poena” ซึ่งเป็นคาเดียวกันกับคาว่า ความเจ็บปวด (Pain)
การลงโทษเป็ นลักษณะเฉพาะของกฎหมาย
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ได้นิยามว่ากฎหมายคือ “คาสัง่ ของรัฎฐาธิปัตย์ท่ ี
บุคคลต้องทาตาม หากบุคคลฝ่ าฝืนตามธรรมดาต้องโทษ”
No crime without punishment
No punishment without law
ไม่มคี วามผิด ไม่มโี ทษ โดยไม่มกี ฎหมาย (กฎหมายเท่านั้นที่จะบอกว่าการ
กระทาใดเป็นความผิดอาญาอันต้องรับโทษ)
ปถัสถานทางสังคมแบบอื่นๆ
ห้ามผู ห้ ญิงขึ้นพระธาติฯ
ใส่เสื้ อสีชมพูไปงานศพ
ขโมยของปรับร้อยเท่า
กัน้ ถนนสาธารณะเป็ นที่จอดรถ ฯลฯ
ถ้าบุคคลฝ่ าฝืนข้อห้ามเหล่านี้ผลจะเป็ นอย่างไร?
แน่นอนว่า ย่อมไม่สามารถลงโทษบุคคลตามกฎหมายอาญา
ในบรรดาปถัสถานทางสังคมต่างๆ มีแต่กฎหมายเท่านั้นที่
สามารถลงโทษทางอาญาแก่บุคคลได้
ความชอบธรรมในการลงโทษ คืออะไร? เพราะเหตุใดรัฐ
ถึงมีสิทธิอานาจในการทาให้บุคคลต้องทุกข์ทรมาน?
ห้ องสอบกลางภาค 1/2557
176100-001
176100-002
SB1122
SB4107
SB4105
SB4202
SB4106
SB4203
SB4208
176200
SB4209
SB4410
SB4210
3. กฎหมายกับการลงโทษ
รัฐสมัยใหม่เกิดขึ้นพร้อมกับความคิดมนุ ษยนิ ยม, เสรีนิยม, การตรวจสอบ
อานาจรัฐ (การแบ่งแยกอานาจ)
“รัฐใช้อานาจได้เฉพาะกับกรณีท่ จี าเป็ น และต้องใช้อานาจให้นอ้ ยที่สุด”
กฎหมายจึงไม่สามารถบังคับบัญชาบุคคลในทุกๆ เรื่ องได้ บางเรื่ องต้องปล่อยให้
มาตรฐานทางสังคมอื่นๆ ทาหน้าที่
เช่น ห้ามคนฉี่ ในลิพท์, (บางประเทศอนุ ญาตให้พ้ กี ญ
ั ชา)
กฎหมายอาญา
กฎหมายที่มโี ทษทางอาญาจึงต้องวางบทบาทไว้อย่างจากัด (The
Limit
of Criminal Sanction)
ต้องเป็ นการกระทาที่เห็นได้ชดั ว่ากระทบกระเทือนสังคม และไม่ได้รับการให้อภัย
การกระทาที่ถือว่าเป็ นความผิดกับวัตถุประสงค์การลงโทษต้องสอดคล้องกัน
การกระทาที่ถูกห้ามนั้นต้องไม่เป็ นการกระทาที่สงั คมเห็นว่าถูกต้องและสมควร
ทา
กฎหมายอาญา (ต่ อ)
รัฐจะต้องบังคับไม่ให้เกิดการกระทาเช่นนั้นได้อย่างเสมอหน้าและเสมอภาค
รัฐต้องอยูใ่ นวิสยั ที่จะควบคุมการกระทาเช่นว่าได้ในทางปฏิบตั ิ
ไม่มมี าตรการอื่นๆ อีกต่อไปที่อาจนามาควบคุมการกระทานั้นได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ (ตัวเลือกสุ ดท้าย)
Herbert L. Packer อ้างใน เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์, กฎหมายอาญา ภาคหนึ่ ง, (กรุ งเทพฯ: จิรรัชการพิมพ์, 2546), หน้า
4-5.
วัตถุประสงค์ แห่ งการลงโทษ
ความชอบธรรมในการใช้ความรุ นแรงมิได้เกิดจากกฎหมายเท่านั้น ข้อพิจารณาอีกประการคือ
“วัตถุประสงค์แห่งการลงโทษ”
วัตถุประสงค์การลงโทษ หมายถึง เหตุผลที่ประกอบวิธกี าร และกาหนดแนวทางในการลงโทษ
เช่น รัฐศาสนาเดิม การทาผิดกฎหมายเท่ากับทาผิดบัญชาที่กษัจริ ยไ์ ด้รับจากพระเจ้าจึ งเป็นบาป
คนบาปต้องได้รับความทุกข์ทรมานก่อนตายเพื่อชาระบาป (เชื่อกันว่ายิ่งตายอย่างทรมานบาปยิ่งน้อย ซึ่ง
หากไม่ชาระบาปเสียก่อนจะต้องไปชาระบาปในชีวติ หลังความตายด้วยไฟนรกที่รุนแรงกว่ามาก)
วัตถุประสงค์การลงโทษแบบเดิม เพื่อให้คนได้ชาระบาป ให้รอดพ้นและได้รับความเมตตาจากการพิพากษา
ของพระเจ้า
Burn the Witch
ความคิดการลงโทษในโลกสมัยใหม่
การลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทนให้สาสม (Retributive theory of
Punishment)
การลงโทษเพื่อป้องกันและเยี ยวยา (Deterrence and
Reformative Theory of Punishment)
Retributive theory
ทฤษฎีแก้แค้นทดแทนหรื อลงโทษให้สาสม (Retributive theory) แนวคิดนี้มี
อิทธิพลในโลกกฎหมายมานาน
การลงโทษโดยใช้วิธตี าต่อตา ฟันต่อฟัน (An eye for an eye, a tooth
for a tooth) ในสมัยพระเจ้าฮัมบูราบี (Hamburabi)
ธรรมชาติของมนุ ษย์นั้นย่อมมีความรู ส้ ึกเป็ นส่วนประกอบ เช่น ความรัก ความห่วงใย ความ
รับผิดชอบ
และรวมถึงความรู ใ้ นด้านลบอย่าง ความโกรธ ความแค้น ความอิจฉา หรื อสมน้าหน้าด้วย
Jeremy Bentham
ความรู ส้ ึ กเหล่านี้ลว้ นแต่เป็ นองค์ประกอบของความเป็ นมนุ ษย์ และเป็ นธรรมดา
ที่บุคคลที่ถูกบุคคลอื่นทาผิด ละเมิด หรื อทาร้าย ย่อมมีความโกรธแค้น การปิ ด
กัน้ ความรู ส้ ึกโกรธแค้นนั้นย่อมเป็นการกระทาที่พรากความเป็นมนุ ษย์ออกไป
ดังนั้น เมื่อบุคคลถู กทาร้าย ถู กละเมิดสิทธิตามกฎหมาย บุคคลนั้นควรได้รับการ
ทดแทนทางด้านจิตใจ และการลงโทษเพื่อแก้แค้นก็เป็นการทดแทนด้านจิตใจได้
ประการหนึ่ ง
Erik Luna, “Punishment Theory, Holism, and the Procedural Conception of Restorative Justice”, Utah
Law Review ,2003, p. 208.
แนวทางการลงโทษแบบแก้ แค้ นทดแทน
การลงโทษแบบ Retributive theory มองการแก้แค้นเป็ นสาคัญ
ผูไ้ ด้รับโทษจะต้องได้รับความทุกข์ทรมานตามความิดที่ตนได้กระทา (Just desert)
ไม่จาเป็ นต้องคาดหวังประโยชน์จากการลงโทษเลย
การลงโทษตามแนวคิดนี้จึงไม่ปฏิเสธการลงโทษที่หนัก โดยพิจารณาตามความผิดที่บุคคลได้
กระทา
กลุม่ นี้ไม่ให้คาวามสาคัญว่า ผูต้ อ้ งโทษจะกระทาความผิดซา้ อีกหรื อไม่ (ถ้าผิดอีกก็จบั มาอีก)
ไม่สนใจว่า วิธกี ารลงโทษจะเป็ นประโยชน์หรื อไม่ (เพราะพวกเข้าต้องชดใช้ความผิด)
การประหารชีวิต และการลงโทษให้ ทุกข์ ทรมาน
การลงโทษเพื่อป้องกัน (Deterrence Theory of
Punishment)
การลงโทษเพื่อป้องกันสังคมนั้นอยูบ่ นจุดยืนว่าความเสียหายในอดีตนั้นไม่อาจกลับมาได้
ดังนั้นสิ่งที่แล้วไปแล้ว ก็ควรแล้วกันไป (Bygone is bygone) ไม่ควรจองเวรเอา
โทษ “เพื่อแก้แค้น” กันอีก
ในมุมมองของการลงโทษกลุม่ นี้ การทาผิดที่เกิดจากอารมณ์รุนแรงหรื อเหตุการณ์พเิ ศษที่
อาจเกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวในชีวิต
สิ่งสาคัญจึงไม่ใช่การแก้แค้น แต่เป็ นการป้องกันผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้ นในอนาคต
โดยที่รัฐควรใช้ประโยชน์จากการลงโทษเป็ นการข่มขูป่ ้ องปรามให้กลัว หรื อสร้างนิ สยั สอน
ศีลธรรมให้ประชาชน เพื่อที่ในอนาคตจะไม่เกิดการทาผิดอีก
“กรมราชทัณฑ์ เป็ นองค์ กรทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ ในการ
ควบคุม แก้ ไขและพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง เพือ่ คืนคน
ดี มีคุณค่ า สู่ สังคม”--วิสัยทัศน์ กรมราชทัณฑ์
การลงโทษเพื่อป้องกันควรก่อให้เกิดการป้องกันใน 2 ระดับ ระดับแรก ได้แก่
การข่มขูผ่ ูก้ ระทาความผิดโดยเฉพาะเจาะจง (Special Prevention)
และการป้องกันสังคมโดยรวม (General Prevention) ที่เน้นให้ผลของการ
ข่มขูป่ ้ องปรามเกิดกับบุคคลทัว่ ไป
ความคิดว่าการลงโทษเพื่อป้องกันนั้นมีฐานคิดจากสานักจริ ยศาสตร์แบบอรรถประโยชน์
นิ ยม (Utilitarianism) นาโดย เจเรมี เบนแธม (Jeremy Bentham)
และจอห์น สจ๊วต มิลล์ (John Stuart Mill) ที่มองว่า การพิจารณาคุณค่าทาง
ศีลธรรมของการกระทาใดนั้นให้พจิ ารณาจากผลของการกระทา(End) นั้นว่าเกิด
ประโยชน์หรื อไม่
“หลักมหสุ ข” ที่เสนอว่า สิ่งที่ดี คือสิ่งที่เกิดประโยชน์สูงสุ ดสาหรับผูค้ นจานวนมากที่สุด (It
is the greatest happiness of the greatest number
that is the measure of right and wrong
4. การลงโทษกับโลกสมัยใหม่
กระบวนการยุตธิ รรมโดยกฎหมาย (กระแสหลัก)
กระบวนการยุตธิ รรมเชิงสมานฉันท์
กระบวนการยุตธิ รรมโดยชุมชน
ความซับซ้อนของอาชญากรรมกับความตื้นเขินของการลงโทษ
กระบวนการยุตธิ รรมกระแสหลัก (Conventional
Criminal Justice)
การลงโทษบุคคลด้วยกฎหมายหมายอาญาวางหลักการอยูบ่ นฐานคิดทฤษฎี 2 ค่าย ได้แก่
ฝ่ ายผลนิ ยม (Consequentialist theory) (ต้องการผลลัพธ์จากการลงโทษ)
Deterrence
and Reformative theory of punishment
ฝ่ ายวิธกี ารนิ ยมหรื ออผลนิ ยม (Non-consequentialist theory) (ไม่
ต้องการผลลัพท์จากการลงโทษ)
Retributive
theory of punishment
ปั ญหาของกระบวนการยุตธิ รรมกระแสหลัก
กรณีการลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทน
เป็นที่น่าตกใจว่าในเดือนหนึ่ งๆ จะมีผูต้ อ้ งขังเข้ามาอยูใ่ นความดูแลของกรมราชทัณฑ์ประมาณ
5,000 คน
พ้นโทษหรื อปล่อยตัวไปเดือนละ 3,000 คน จะเหลือเพิ่มขึ้นสะสมเดือนละ 2,000 คน
ทาให้จานวนผูต้ อ้ งขังเพิ่มสู งขึ้นโดยตลอดจนถึง 200,000 คนในปั จจุบนั ในขณะที่อตั ราความจุ
ของเรื อนจามีเพียง 150,000 คน จึงทาให้เกิดปั ญหา “นักโทษล้นคุก”
จึงมีอตั ราส่วนผูค้ ุม 1 คน ต้องดูแลผูต้ อ้ งขังถึง 50 คน ทัง้ ที่ตามมาตรฐานสากลกาหนดสัดส่วน 1
ต่อ 5 เท่านั้น จึงทาให้เกิดปั ญหาหลายอย่างตามมา เช่น การกระทาความผิดในเรื อนจา
http://www.correct.go.th/over_p.htm
ปั ญหาของกระบวนการยุตธิ รรมกระแสหลัก
กรณีการลงโทษเพื่อฟื้นฟูเยียวยา และป้องกัน
ปั ญหา “นักโทษล้นคุก” แปลว่า การลงโทษไม่สามารถป้องปรามไม่ให้เกิดการกระทาความผิด ใช่หรื อไม่?
ปั ญหาการกระทาความผิดซา้ แปลว่า การฟื้ นฟูเยียวยาไม่สมั ฤทธิ์ผล ใช่หรื อไม่?
การกระทาผิดของเด็กและเยาวชนในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2547 มีจานวน 33,308 ราย และในปี พ.ศ.
2548 มีจานวน 36,080 ในปี พ.ศ. 2549 มีจานวนถึง 48,218 ราย ในปี พ.ศ. 2550 มีจานวนถึง
51,128 ราย และในปี พ.ศ. 2551 มีจานวนถึง 42,766 ราย
www.oja.go.th/doc/Lists/doc1/Attachments/.../บทสรุ ปผูบ้ ริ หาร.doc
ผูเ้ สียหายได้รับการฟื้นฟูเยียวยาจิตใจหรื อไม่? ผูก้ ระทาความผิดได้รับการแก้ไขปรับปรุ งพฤติกรรมหรื อไม่?
สังคมมีความสงบเรียบร้อยขึ้นหรื อไม่?
88% of the nation’s leading criminologists do not believe the death penalty is
an effective deterrent to crime.
“There is overwhelming consensus among America’s top criminologists that
the empirical research conducted on the deterrence question fails to support
the threat or use of the death penalty.” A previous study in 1996 had come to
similar conclusions.
ปั ญหาการตัดสินคดีผดิ ๆ ถูกๆ
คดี “เชอรี่ แอน ดันแคน” ที่โด่งดัง เพราะศาลชัน้ ต้นพิพากษาจนจาเลยได้รับความเสียหาย
มาก แต่ตอ่ มาศาลอุทธรณ์และศาลฎีกากลับคาพิพากษานั้น
คดีน้ ีเป็ นคดีฆาตกรรมนางสาวเชอรี่ แอน ดันแคน ด้วยการบีบคอจนขาดอากาศหายใจตาย
เชอรี่ แอนฯ มีความสัมพันธ์ซบั ซ้อนกับ ว. ซึ่งรู จ้ กั กันที่รา้ นอาหารโดยอุปการะให้การศึกษา
แต่ ว. มีแม่บา้ นเป็ นภรรยาอยูแ่ ล้ว และมี ส. เป็ นคนรักอีกคนที่เป็ นหุ น้ ส่วนธุ รกิจด้วย
มีพยานแวดล้อมปากหนึ่ งให้การว่าเห็นเชอรี่ แอนฯ อยูก่ บั ลูกจ้างของ ว. ก่อนจะหายตัวไป
และเสียชีวิต
ผลของคดีความ
สุ ดท้ายตารวจจึงจับกุมจาเลยทัง้ สี่, อัยการสั่งฟ้ องจาเลยทัง้ สี่ ใน พ.ศ. 2529
และศาลชัน้ ต้นตัดสินลงโทษประหารชีวติ จาเลยทัง้ สี่ราย ใน พ.ศ. 2533,
ศาลอุทธรณ์ยกฟ้ อง ในพ.ศ. 2535
สุ ดท้ายศาลฎีกามีคาพิพากษายกฟ้ อง ใน พ.ศ. 2536
ระหว่างที่จาเลยทัง้ สี่ถูกอัยการสั่งฟ้ อง จาเลยทัง้ สี่ตอ้ งถูก “ฝากขัง” ในเรื อนจา และไม่ได้รับการประกันตัว
เพราะมีโทษหนัก น่าเป็นห่วงว่าจาเลยจะหลบหนี หรื อไปทาลายพยานหลักฐาน
“การฝากขัง” ดาเนิ นมาจนเมื่อศาลอุทธรณ์ยกฟ้ องใน พ.ศ.2535 จึงเป็นเวลาเกือบหกปี
แต่ “ปล่อยคนผิดสิบคนดีกว่าลงโทษคนผิดคนเดียว” มิใช่หรื อ?
ผลของการต้ องโทษจาคุก
จาเลยทัง้ สี่ ถูกคุมขังให้เสียเสรีภาพและชื่อสียง เป็น “ขี้คุก” (และเป็นขี้คุกในคดีฆาตกรรมเด็กสาวด้วย)
จาเลยรายหนึ่ งเสียชีวิตระหว่างถูก “ฝากขัง” ด้วยโรคหอบหืด หลังจากถูกคุมขังไปได้หา้ ปีเศษ
จาเลยรายหนึ่ งติดเชื้อ HIV และเป็นโรคเอดส์ เนื่ องจากถูกร่วมเพศทางทวารหนักในเรื อนจา และเสียชีวิตไปหลังจากมีคา
พิพากษายกฟ้ องได้ไม่นาน
จาเลยอีกรายหนึ่ งเกิดอาการทางจิตประสาททาให้หวาดกลัวอยูต่ ลอดเวลา และเสียชีวิตไปในเวลาไม่นาน
จาเลยรายสุ ดท้ายถูกทาร้ายในเรื อนจาจนบาดเจ็บที่หลัง ทาให้ศาลอนุ ญาตให้ประกันตัวเพื่ออกมารักษาอาการบาดเจ็บ แต่
สุ ดท้ายก็กลายเป็นผูบ้ กพร่องความสามารถทางร่างกาย (Disabilities)
แต่รายสุ ดท้ายนี้ ระหว่างที่ถูกคุมขัง ภรรยาของเขาเสียชีวิต (สันนิ ษฐานกันว่าตรอมใจ) จึงไม่มใี ครดูแลบุตรชายและบุตรสาว
ต่อมาบุตรชายหายสาบสู ญไป, และบุตรสาวก็ถูกคนร้ายรายหนึ่ งข่มขืนและฆาตกรรม
Restorative Justice
“Restore” มีความหมายทานองว่า เป็ นการนากลับคืนมา การกลับสู ส่ ภาพเดิม และ
การฟื้นฟูซอ่ มแซมเยียวยา ส่วนคาว่า “Justice” นั้นในเบื้องต้นย่อมหมายถึงความ
ยุติธรรม ความเป็ นธรรม ความหมายของ “Restorative Justice” พิเคราะห์
จากความหมายทางภาษาแล้วพบว่าคาว่า “Restorative Justice” น่าจะ
หมายถึง ความยุติธรรมที่เน้นไปในทางการฟื้นฟูเยียวยา การทาให้กลับสู ส่ ภาพเดิม
Black’s Law Dictionary: “Restorative justice”
“An alternative delinquency sanction focused on repairing the harm done,
meeting the victim's needs, and holding the offender responsible to his or her
actions .
• Restorative-justice sanctions use a balanced approach, producing the least
restrictive disposition while stressing the offender's accountability and
providing relief to the victim. The offender may be ordered to make
restitution, to perform community service, or to make amends in some other
way that the court orders.”
คาจากัดความเบือ้ งต้ น
กระบวนการยุติธรรมที่มุง่ เน้นจะเยียวยาและสร้างความพึงพอใจแก่ผูเ้ สียหายในคดีอาญา
เป็ นหลัก มีปรัชญาพื้นฐาน คือ การเห็นว่าอาชญากรรมเป็ นอันตรายต่อประชาชน และ
ความยุติธรรมคือการฟื้นฟูเยียวยาให้เกิดความสมานฉันท์ในสังคม โดยการช่วยเหลือ
ผูเ้ สียหาย ผูก้ ระทาผิด และชุมชน
อาชญากรรมเป็ นการทารายสัมพันธภาพของคนในสังคมชุมชน ทาให้คนไม่รักกัน โกรธแค้น
กัน หวาดระแวงกัน การฟื้นฟูเยียวยาคือการทาให้สมั พันธภาพของคนในสังคมกลับมา
ใกล้เคียงกับก่อนเกิดเหตุให้มากที่สุด
การลงโทษทาได้เพียงแค่การดารงไว้ซ่ ึงความโกรธเกรี้ยวและความรู ส้ ึกว่าตนเป็ นเหยื่อ
ในขณะที่กระบวนการเยียวยาฟื้นฟูนั้นกลับช่วยให้เหยื่อก้าวข้ามความโกรธและความรู ส้ ึก
เป็ นเหยื่อ และก้าวไปสู อ่ นาคตที่ไม่เดือดดาล และขณะเดียวกันก็เป็ นประโยชน์สาหรับ
ผูก้ ระทาผิดด้วย
การให้อภัยไม่คอ่ ยอยูใ่ นการถกเถียงอภิปรายกันในกระบวนการยุติธรรม ทัง้ ที่หลักการของ
หลายศาสนาและจิตวิทยากลับตัง้ อยูบ่ นฐานของการให้อภัยและการหลุดพ้น
แน่นอนว่า การให้อภัยมิได้หมายถึงการ “ลืม” และการไร้ความรับผิดชอบของผูก้ ระทาผิด
แต่ผูก้ ระทาผิดจะต้องจดจาและรับผิดชอบ
รูปแบบของกระบวนการยุตธิ รรมเชิงสมานฉันท์
การไกล่กลี่ย (Meditation)
การระงับข้อพิพาทของชนพื้นเมือง (Indigenous Models of Dispute
resolution)
การไกล่ กลี่ย (Meditation)
การระงับข้อพิพาทด้วยการ โดยมีบุคคลที่สามเป็ นคนกลางจัดให้การเจรจากันระหว่างคูก่ รณี
แต่ผูไ้ กล่เกลี่ยจะไม่ให้คาแนะนาหรื อมีขอ้ เสนอใดใด กล่าวคือ การไกล่เกลี่ยจะเป็ นการให้
คูก่ รณีมาพูดคุยและหาทางออกร่วมกัน ในทางกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มกั เรียก
การไกล่เกลี่ยลักษณะนี้วา่ “การไกล่เกลี่ยเหยื่อ-ผูก้ ระทาผิด” (Victim-Offender
meditation, VOM)
ขัน้ ตอนของ VOM
การรับเข้า (Intake) คือ กระบวนการที่พจิ ารณาเบื้องต้นว่าคดีเหมาะสมกับการไกล่เกลี่ยหรื อไม่
การเตรียมเข้าสู ก่ ารไกล่เกลี่ย (Preparation for Meditation) ระหว่างช่วงเตรียมตัวผู ้
ไกล่เกลี่ย (Meditator) จะไปพบผูเ้ สียหายและผูก้ ระทาผิดเป็นรายบุคคล และผูไ้ กล่เกลี่ยจะพิจารณา
ว่าคูก่ รณีทงั้ สองฝ่ ายพร้อมจะเข้าสู ก่ ระบวนการไกล่เกลี่ยหรื อไม่
การไกล่เกลี่ย (Meditation) คูก่ รณีทงั้ สองฝ่ ายจะต้องพูดคุยกันเพื่ออธิบายเหตุ การณ์ท่ เี กิดการ
กระทาผิดและความรู ส้ ึกตามมุมมองของตน เมื่อเข้าใจกันแล้วต้องตกลงวิธกี ารระงับข้อพิพาทขึ้นมา
การเยียวยาหลังการไกล่เกลี่ย (Follow-up) โดยจะต้องมีผูส้ งั เกตการณ์วา่ ทัง้ สองฝ่ ายได้ปฏิบตั ิตามที่
ตนตกลงไว้หรื อไม่
การระงับข้ อพิพาทของชนพืน้ เมือง (Indigenous
Models of Dispute resolution)
Ho’oponopono Process ของ ชนพื้นเมืองฮาวาย ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาโดยใช้
วิธกี ารทางจิตวิญญาณ (Spiritual problem-solving)
โดยเน้นการสานึ กผิด (repentance)
การให้อภัย (forgiveness)
และการคืนดีกนั (reconciliation)
กระบวนการ Ho’oponopono จะเป็นการประชุมของชนเผ่า (family) โดยมีหวั หน้า
เผ่าเป็นประธานในการประชุม และการทาพิธตี ามวัฒนธรรม จากนั้นคูก่ รณีทงั้ สองฝ่ ายจะต้องทา
ประโยชน์แก่ชุมชน หลังการทาพิธคี ูก่ รณีจะต้องให้อภัยซึ่งกันและกัน มิฉะนั้นจะถูกขับไล่ออกจาก
เผ่า
ยุตธิ รรมชุมชน
สอดคล้องกับยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
ให้ “ชุมชน” เป็นคนกลางในการไกล่เกลี้ย, เกียเซี้ย, เป็น Meditator โดยอาศัยความสัมพันธ์ใน
ชุมชนเป็นตัวช่วยให้เกิดการสานึ กผิดและให้อภัย
หลักการพื้นฐานของยุติธรรมชุมชนคือการปรับเปลี่ยนบทบาทอานาจตุลาการจากที่รัฐผูกขาดฝ่ ายเดียวให้
กลับมาใกล้ชดิ กับชุมชนมากขึ้น
แนวคิดยุติธรรมชุมชนยังเพิ่มบทบาทชุมชนในการป้องกันอาชญากรรม
รวมถึงการเยียวยาผูเ้ สียหายและผูก้ ระทาความผิดที่อยูใ่ นชุมชนด้วย เพราะการเกิดอาชญากรรมนั้นกระทบ
กับชุมชนมากกว่ารัฐ การตัดสินใจในการระงับข้อพิพาทจึงควรอยูใ่ นมือชุมชนและเพื่อชุ มชน
ยุตธิ รรมชุมชนใช้ ได้ จริงหรือ?
ชุมชน คืออะไร?
เงื่อนไขของการเกิดชุมชน เช่น จะต้องมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ หรื อจิตวิญญาณ หรื อวิถชี วี ติ หรื อ
ความทรงจา ร่วมกันอย่างเข้มงวด
ทุกวันนี้เราอยูก่ นั เป็นชุมชนหรื อ?
ในคดีท่ ไี ม่กระทบต่อคุณค่าของชุมชน ?
ในคดีท่ กี ระทบต่อคุณค่าของชุมชนนั้นๆ ?
ชุมชนมีความเป็นกลางปราศจากอคติ หรื อมีคา่ นิ ยมเฉพาะของตนเอง และจะกระทบต่อคดี หรื อไม่
อาชญากรรมกับการลงโทษในโลกสมัยใหม่
โลกสมัยใหม่ซบั ซ้อนกว่าเดิมมากมาย ปั ญหาใหม่ๆ เช่น เข้าเมืองผิดกฎหมาย, การจงรักภักดีตอ่ ชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริ ย,์ คาสั่งของ คสช., การพัฒนา, การรักร่วมเพศ ฯลฯ
การกระทาความผิดมีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น ความผิดเกี่ยวกับทุนนิ ยม, ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์,
การฉ้อโกงประชาชน, โกงหุ น้ , อ้างว่าตนมีอทิ ธิฤทธิ์ ฯลฯ
กฎหมายมีขอบเขตกว้างขวางขึ้น มิได้ควบคุมเฉพาะศีลธรรมหลักอีกต่อไป
เราจะใช้กฎหมาย ซึ่งมีแต่กลไกแห่งการลงโทษได้หรื อไม่?
กฎหมายให้รางวัลได้หรื อไม่?
เราต้องฝากทุกอย่างไว้ในมือของกฎหมาย (ซึ่งก็คือนักกฎหมาย) หรื อไม่?
หรื อเราทุกคนล้วนมีสว่ นได้เสียกับสังคม และปั ญหาต่างๆเหมือนๆ กัน
กฎหมายกับโลกสมัยใหม่ ครึ่งแรก
โลกกลายเป็นโลกสมัยใหม่ เกิดสังคมแบบใหม่ การจัดการปกครองแบบใหม่
ปั ญหาใหม่ๆ ก็เกิดขึ้น เช่น การรักเส้นเขตแดนของ “ชาติ”, คนในสังกัดรัฐสมัยใหม่, ความสัมพันธ์ระหว่าง
เพศแบบใหม่ๆ, วิธกี ารควบคุมสังคม (กฎหมายและ“การลงโทษ”) แบบใหม่
เราไม่สามารถใช้ความคิด “แบบสมัยใหม่” ไปตัดสินโลกโบราณได้ฉันใด เราก็ไม่สามารถใช้ความคิด “แบบ
โลกโบราณ” มาตัดสินปั จจุบนั ได้ฉันนั้น
ความท้าทาย คือเวลาไม่เคยหยุดเดิน อีกไม่นานสังคมย่อมเปลี่ยน กฎหมายก็ตอ้ งเปลี่ยน
และเราจะอยูร่ ่วมกับคนอื่นในสังคมอย่างไร (ถ้าเราคิดแบบโลกโบราณ, คนอื่นคิดแบบสมัยใหม่ หรื อ เรา
เป็นสมัยใหม่, คนอื่นโบราณ หรื อ เราสมัยใหม่, คนอื่นหลังสมัยใหม่ ฯลฯ)
เราจะอยูใ่ นพหุ สงั คมอย่างไร? กฎหมายช่วยอะไรได้? เป็นคาถามที่คาดว่านักศึกษาจะเกิดข้อคิดในวิชานี้
จบครึ่งแรก
ครึ่งหลัง พบกับ อาจารย์ ดร. นัทมน คงเจริญ
หัวข้ อ กฎหมายกับศาสนา วัฒนธรรม เทคโนโลยี โลกาภิวัตน์ ฯลฯ
ขอให้ โชคดีกับการสอบ ในวันที่ 10 ตุลาคม 2557
(แล้ วพบกันใหม่ ถ้ าพวกคุณต้ องเรี ยนซา้ และผมยังไม่ ถูกไล่ ออก)
ติดต่ อผม: [email protected]