เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย

Download Report

Transcript เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย

หลักละทฤษฎีกฎหมายอาญา
เรื่อง
เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั
โดย
รศ.อัจฉรียา ชูตินันทน์
เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั
เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั เป็ นข้อเท็จจริงทีอ่ ยูน่ อกโครงสร้าง
ความผิดอาญา ไม่เกีย่ วข้องกับข้อสาระสาคัญทัง้ ๓ ประการ อันได้แก่
การกระทาทีค่ รบองค์ประกอบทีก่ ฎหมายบัญญัติ ความผิดกฎหมาย
และการกระทาทีม่ คี วามชัว่ เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั เป็ น
คาทีใ่ ช้ในประมวลกฎหมายเยอรมนี แต่ในประมวลกฎหมายอาญาของ
ไทย เรียกว่า “เหตุลกั ษณะคดี”
๑. ความหมายของเงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั
เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั คือ ข้อเท็จจริงที่
เกีย่ วข้องโดยตรงกับ”การกระทา”ของผูก้ ระทาทีเ่ ป็ นความผิด
อาญา ซึง่ ไม่ใช่ขอ้ เท็จจริงทีอ่ ยูใ่ นข้อสาระสาคัญทัง้ สาม
ประการของโครงสร้างความผิดอาญา ซึง่ เป็ นข้อเท็จจริงทีไ่ ม่
เกีย่ วข้องกับเจตนาหรือประมาท
๒. ประเภทของเงื่อนไขของการลงโทษทางภาวะวิสยั
(๑) เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั ทีแ่ ท้
เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั ทีแ่ ท้ เป็ นเงือ่ นไขทีม่ ขี อ้ จากัดใน
การลงโทษโดยจะลงโทษผูก้ ระทาความผิดได้นนั ้ ต้องมี “เงือ่ นไขแห่งการ
ลงโทษทางภาวะวิสยั ” อาทิ ความผิดฐานทาร้ายร่างกายผูแ้ ทนของรัฐ
ต่างประเทศ ความผิดฐานต่อสูห้ รือขัดขวางเจ้าพนักงานหรือผูซ้ ง่ึ ต้อง
ช่วยเจ้าพนักงานตามกฎหมายในการปฏิบตั ติ ามหน้าที่
๒) เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั ไม่แท้
เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั ไม่แท้ มีจุดมุง่ หมาย ทีจ่ ะเป็ นเหตุ
ให้ลงโทษกันอาทิ ความผิดฐานชุลมุนต่อสู้ หรือมีจุดมุง่ หมายทีเ่ ป็ นเหตุ
เพิม่ โทษให้หนักขึน้ อีกสาหรับความผิดนัน้ อาทิ ความผิดฐานลักทรัพย์
โดยมีอาวุธ ความผิดฐานปล้นทรัพย์โดยมีอาวุธปืน
๓. การบังคับใช้เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั
เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั ไม่ใช่ขอ้ เท็จจริงทีผ่ กู้ ระทา
ต้องรู้ เพราะเป็ นข้อเท็จจริงทีอ่ ยูน่ อกโครงสร้างความผิดอาญา จึงไม่
เกีย่ วข้องกับเรือ่ งเจตนาหรือประมาท ฉะนัน้ เจตนาหรือประมาทจึงไม่มี
ความสาคัญต่อเรือ่ งการลงโทษ ดังนัน้ จึงมีผลตามกฎหมายดังนี้
(๑) ความสาคัญผิดเกีย่ วกับ “เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั ”
ย่อมไม่มผี ลใดๆตามกฎหมาย
(๒) เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั เป็ นข้อเท็จจริงทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรง
กับการกระทาความผิด เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั จึงใช้กบั
ผูก้ ระทาความผิดทุกคน
(๓) เงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั ต้องอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ใน
มาตรา ๒ และเมือ่ เงือ่ นไขแห่งการลงทาทางภาวะวิสยั เป็ นกฎหมายอาญา
สารบัญญัติ จึงต้องนาหลัก”ยกประโยชน์แห่งความสงสัย” (in dubio pro reo)
มาใช้กบั ผูก้ ระทาความผิดด้วย หรือเรียกว่า “หลักการพิสจู น์จนสิน้ สงสัย”
ดังนัน้ หากสงสัยว่ากรณีใดกรณีหนึ่งมีเงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั
หรือไม่ ต้องถือว่ากรณีนนั ้ มีเงือ่ นไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสยั