ฎีกาที่น่าสนใจ ปวิอ. ปี ๒๕๕๗ โดยวิวัฒน์ วงศกิตติรักษ์ คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๕๗๕/๒๕๕๑ ห้ างหุ้นส่วนจากัด ป.ประกอบอาชีพรับจ้ าง ขนส่งสินค้ า ได้ รับมอบสินค้ าจากห้ างหุ้นส่วนจากัด ฮ.

Download Report

Transcript ฎีกาที่น่าสนใจ ปวิอ. ปี ๒๕๕๗ โดยวิวัฒน์ วงศกิตติรักษ์ คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๕๗๕/๒๕๕๑ ห้ างหุ้นส่วนจากัด ป.ประกอบอาชีพรับจ้ าง ขนส่งสินค้ า ได้ รับมอบสินค้ าจากห้ างหุ้นส่วนจากัด ฮ.

ฎีกาที่น่าสนใจ ปวิอ. ปี ๒๕๕๗
โดยวิวัฒน์ วงศกิตติรักษ์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๕๗๕/๒๕๕๑ ห้ างหุ้นส่วนจากัด ป.ประกอบอาชีพรับจ้ าง
ขนส่งสินค้ า ได้ รับมอบสินค้ าจากห้ างหุ้นส่วนจากัด ฮ. เพื่อนาไปส่งให้ แก่ร้าน ห.
ลูกค้ า ห้ างหุ้นส่วนจากัด ป. จึงเป็ นตัวแทนห้ างหุ้นส่วนจากัด ฮ. และได้ ความจาก
ม. พนักงานของห้ างหุ้นส่วนจากัด ฮ. พยานโจทก์วา่ ร้ าน ห. ได้ สงั่ ซื ้อสินค้ าทาง
โทรศัพท์ และเมื่อลูกค้ าได้ รับสินค้ าแล้ วจึงชาระเงิน แสดงว่าการส่งมอบสินค้ า
ดังกล่าวจะเป็ นไปตามที่ลกู ค้ าต้ องการหรื อไม่ยงั ไม่แน่นอน เพราะต้ องให้ ลกู ค้ า
ตรวจสอบก่อน หากใช่ตามที่ต้องการตกลงซื ้อขายกันแล้ วจึงจะชาระเงิน เมื่อสินค้ า
ดังกล่าวยังไม่มีการชาระราคา และยังไม่ได้ สง่ มอบให้ แก่ร้าน ห. กรรมสิทธิ์ในสินค้ า
ดังกล่าวจึงยังเป็ นของห้ างหุ้นส่วนจากัด ฮ. การที่มีผ้ โู ทรศัพท์มาหลอกลวง ส. ซึง่
เป็ นพนักงานของห้ างหุ้นส่วนจากัด ป. และมารับสินค้ าไป ห้ างหุ้นส่วนจากัด ฮ. ซึง่
เป็ นตัวการและเป็ นเจ้ าของสินค้ าย่อมได้ รับความเสียหาย ห้ างหุ้นส่วนจากัด ฮ.จึง
เป็ นผู้เสียหายตามกฎหมาย มีสทิ ธิร้องทุกข์ขอให้ ดาเนินคดีแก่ผ้ หู ลอกลวงใน
ความผิดฐานฉ้ อโกงได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๖๑/๒๕๕๕ ผู้เสียหายในความผิดฐานลักทรัพย์ไม่
จาต้ องเป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ถกู ลักไป บุคคลที่เป็ นผู้ครอบครองทรัพย์
ที่ถกู ลักไปก็เป็ นผู้เสียหายได้ คดีนี ้ได้ ความว่ามีคนร้ ายเอายางพาราแผ่นที่โจทก์
ร่วมขายให้ แก่บริษัท ม. และอยูร่ ะหว่างนายางพาราแผ่นนันไปส่
้ งให้ บริษัท
ดังกล่าว โดยการซื ้อขายยางพาราแผ่นระหว่างโจทก์ร่วมกับบริษัทมีข้อตกลงว่า
ในระยะเวลาครึ่งเดือนจะมีการคิดหักกลบทางบัญชีกนั ครัง้ หนึง่ และยางพาราที่
นามาส่งที่บริษัทจะต้ องชัง่ น ้าหนักเพื่อคานวณราคา แสดงว่ายางพาราแผ่นที่
โจทก์ร่วมส่งขายให้ แก่บริษัท ม. ยังไม่ได้ บง่ ตัวทรัพย์สนิ เป็ นทรัพย์เฉพาะสิง่
เนื่องจากต้ องมีการชัง่ น ้าหนักเสียก่อนจึงจะมาคิดหักกลบทางบัญชีกนั ได้ ดังนัน้
กรรมสิทธิ์ในยางพาราจึงยังเป็ นของโจทก์ร่วม เมื่อยางพาราแผ่นถูกคนร้ ายลัก
ไประหว่างขนส่ง บริษัท ม. ก็มิได้ ชาระราคาให้ แก่โจทก์ร่วม โจทก์ร่วมย่อม
ได้ รับความเสียหายจากการที่ถกู คนร้ ายลักยางพาราแผ่นไป โจทก์ร่วมจึงมี
ฐานะเป็ นผู้เสียหายในคดีนี ้ และขอเข้ าเป็ นโจทก์ร่วมได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๒๗๐/๒๕๕๔ องค์ประกอบความผิดฐานทาให้ เสียทรัพย์
นันต้
้ องกระทาต่อทรัพย์ของผู้อื่นหรื อผู้อื่นเป็ นเจ้ าของรวมอยูด่ ้ วย คาว่า ทรัพย์
ของผู้อื่น หมายความรวมถึงบุคคลที่ได้ รับมอบหมายโดยตรงจากเจ้ าของทรัพย์ให้
เป็ นผู้ครอบครองดูแลรักษาทรัพย์นนั ้ เมื่อข้ อเท็จจริงได้ ความว่า รถยนต์กระบะ
คันดังกล่าวเป็ นของบิดาผู้เสียหายที่ ๑ และเป็ นรถยนต์ที่ใช้ ในครอบครัวของ
ผู้เสียหายที่ ๑ ดังนัน้ แม้ ผ้ เู สียหายที่ ๑ ซึง่ เป็ นบุตรของเจ้ าของรถยนต์กระบะ
สามารถใช้ รถยนต์กระบะคันดังกล่าวได้ ทกุ เวลาก็ตาม แต่ก็เป็ นเพียงสิทธิใช้
รถยนต์กระบะในฐานะบุตรเท่านัน้ ไม่ปรากฎว่าบิดาของผู้เสียหายที่ ๑ ซึง่ เป็ น
เจ้ าของรถยนต์กระบะได้ มอบหมายโดยตรงให้ ผ้ เู สียหายที่ ๑ เป็ นผู้ครอบครอง
ดูแลรักษาทรัพย์ดงั กล่าวโดยอาศัยสิทธิของเจ้ าของทรัพย์ ผู้เสียหายที่ ๑ จึง
ไม่ใช่ผ้ เู สียหาย และเมื่อปรากฏว่าบิดาของผู้เสียหายทื่ ๑ ซึง่ เป็ นผู้เสียหายที่
แท้ จริงไม่ได้ แจ้ งความร้ องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนไว้ พนักงานสอบสวนจึงไม่มี
อานาจสอบสวนในความผิดฐานทาให้ เสียทรัพย์ซงึ่ เป็ นความผิดอันยอมความได้
และพนักงานอัยการไม่มีสิทธิฟ้องในข้ อหาฐานทาให้ เสียทรัพย์ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๓๑๓/๒๕๕๑ ผู้เสียหายใน
ความผิดฐานบุกรุกไม่จาเป็ นต้ องเป็ นเจ้ าของ
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์นนั ้ ผู้ครอบครองดูแลรักษา
ทรัพย์ก็เป็ นผู้เสียหาย แม้ บ้านพักข้ าราชการครูที่
เกิดเหตุเป็ นสถานที่ราชการ แต่เมื่อข้ อเท็จจริ งฟั ง
ได้ วา่ บ้ านดังกล่าวเป็ นเคหะสถานที่อยู่อาศัยของ
ศ. ดังนัน้ ศ. ย่อมเป็ นผู้ครอบครองดูแล จึงเป็ น
ผู้เสียหายที่มีอานาจแจ้ งความร้ องทุกข์ตอ่
พนักงานสอบสวนได้ โดยชอบ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๙๖๐/๒๕๕๑ แม้ ตามสัญญาเช่าซื ้อจะมีข้อ
สัญญาห้ ามมิให้ ผ้ เู ช่าซื ้อนารถยนต์ที่เช่าซื ้อไปจาหน่ายให้ บคุ คลอื่น
ก็ตาม ก็เป็ นเรื่ องระหว่างผู้ให้ เช่าซื ้อกับผู้เสียหายซึง่ จะต้ องไปว่า
กล่าวกันอีกส่วนหนึง่ ทังข้
้ อเท็จจริ งยังได้ ความจากคาเบิกความของ
ผู้เสียหายว่า ผู้เสียหายแจ้ งให้ บริ ษัทผู้ให้ เช่าซื ้อทราบแล้ วว่าจะทา
สัญญาเปลี่ยนตัวผู้เช่าซื ้อเป็ นจาเลย เมื่อจาเลยกับพวกร่วมกัน
หลอกลวงผู้เสียหายให้ ขายดาวน์รถยนต์แก่จาเลย การกระทาของ
จาเลยเป็ นการกระทาต่อผู้เสียหายโดยตรง โดยผู้เสียหายไม่ได้ มี
ส่วนร่วมในการกระทาความผิดฐานฉ้ อโกงด้ วย อีกทังขณะเกิ
้
ดเหตุ
ผู้เสียหายเป็ นผู้ครอบครองและผู้ใช้ ประโยชน์จากรถยนต์คนั
ดังกล่าวในฐานะผู้เช่าซื ้อ จึงเป็ นผู้เสียหายมีอานาจร้ องทุกข์ให้
ดาเนินคดีแก่จาเลยได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๘๖/๒๕๕๑ แม้ บ. ผู้เช่าซื ้อจะยังชาระราคาค่าเช่าซื ้อไม่
ครบถ้ วน กรรมสิทธิ์ในรถยนต์บรรทุกดังกล่าวยังเป็ นของ ว. ผู้ให้ เช่าซื ้อ แต่ บ. ก็
มีสทิ ธิครอบครองใช้ ประโยชน์จากรถยนต์บรรทุกที่เช่าซื ้อนัน้ และมีหน้ าที่ต้อง
ส่งคืนรถยนต์บรรทุกที่เช่าซื ้อในสภาพเรี ยบร้ อย แก่ ว.ผู้ให้ เช่าซื ้อหากมีกรณีต้อง
คืน เมื่อจาเลยทังสองยั
้
กยอกชิ ้นส่วนอุปกรณ์ของรถยนต์บรรทุกดังกล่าวไปจาก
บ. บ.ย่อมได้ รับความเสียหายจึงเป็ นผู้เสียหายและมีอานาจร้ องทุกข์ให้
ดาเนินคดีแก่จาเลยทังสองได้
้
เช่นเดียวกับ ว. เจ้ าของรถยนต์บรรทุกคันดังกล่าว
คดีนี ้เป็ นความผิดอันยอมความได้ เมื่อ บ. รู้เรื่ องความผิดและรู้ตวั ผู้กระทา
ความผิดเมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๑ แต่มีการร้ องทุกข์ตอ่ พนักงาน
สอบสวนให้ ดาเนินคดีแก่จาเลยทังสองเมื
้
่อวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๔๒ ซึง่ เกิน
กว่าสามเดือนนับแต่วนั ที่ร้ ูเรื่ องความผิด และรู้ตวั ผู้กระทาผิดแล้ ว คดีโจทก์จงึ
ขาดอายุความตาม ป.อ. มาตรา ๙๖
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๐๐๕/๒๕๕๑ การที่จาเลยหลอกลวงโจทก์ร่วมโดยกล่าว
เท็จชักชวนโจทก์ร่วมให้ นาเงินไปซื ้อเบี ้ยเลี ้ยงทหารล่วงหน้ ารายละ ๒๐๐๐ บาท
จากยอดเบี ้ยเลี ้ยงทหารที่สามารถเบิกจ่ายได้ จริงรายละ ๒๖๐๐ บาท ซึง่ ความ
จริงจาเลยไม่สามารถนาเงินไปซื ้อเบี ้ยเลี ้ยงทหารและมิได้ มีสว่ นเกี่ยวข้ องในการ
เบิกจ่ายเบี ้ยเลี ้ยงแต่อย่างใด เป็ นเหตุให้ โจทก์ร่วมหลงเชื่อตกลงซื ้อเบี ้ยเลี ้ยง
ทหารรวม ๑๑๘ ราย และมอบเงินรวม ๒๓๖,๐๐๐ บาท ให้ แก่จาเลยไป การ
กระทาของจาเลยเป็ นความผิดฐานฉ้ อโกงตาม มาตรา ๓๔๑
เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการห้ ามการซื ้อขายเบี ้ยเลี ้ยงทหาร ดังนัน้ การซื ้อขาย
เบี ้ยเลี ้ยงทหารที่จาเลยหลอกลวงโจทก์ร่วมจึงไม่ใช่กิจการที่มีวตั ถุประสงค์เป็ น
การต้ องห้ ามแต่เป็ นเพียงข้ ออ้ างของจาเลยเพื่อจูงใจให้ โจทก์ร่วมหลงเชื่อและ
ยินยอมมอบเงินให้ จาเลย ซึง่ โจทก์ร่วมได้ รับความเสียหายจากการกระทาของ
จาเลย โจทก์ร่วมจึงเป็ นผู้เสียหายโดยนิตินยั
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๑๔๗/๒๕๕๐ ป.อ. มาตรา ๒๗๗ วรรคแรก
บัญญัติให้ ผ้ กู ระทาชาเราเด็กหญิงอายุยงั ไม่เกิน ๑๕ ปี ซึง่ มิใช่ภริ ยาของ
ตนนัน้ มีความผิดโดยไม่คานึงถึงว่าเด็กหญิงนันจะยิ
้ นยอมหรื อไม่ก็ตาม
แต่หากเด็กหญิงนันยิ
้ นยอมก็มิได้ หมายความว่า เด็กหญิงนันมี
้ สว่ นร่วม
ในการกระทาความผิดด้ วย เมื่อเด็กหญิง ด. เด็กหญิง ส. และเด็กหญิง
อ. ถูกกระทาชาเรา แม้ เด็กหญิงทังสามจะยิ
้
นยอมก็เป็ นบุคคลผู้ได้ รับ
ความเสียหายเนื่องจากการกระทาความผิดข้ อหานี ้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา
๒ (๔) โจทก์ร่วมที่ ๒ ที่ ๓ และที่ ๕ ในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรมย่อมมี
อานาจจัดการแทนเด็กหญิง ด.เด็กหญิง ส. และเด็กหญิง อ.ตามลาดับ
ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๕ (๑) และมีสิทธิยื่นคาร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ใน
ความผิดข้ อหานี ้ได้ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๘๕๘๖/๒๕๕๕ เมื่อโจทก์ร่วมทังสองกั
้
บพวกมาที่บ้านที่เกิดเหตุ
โดยโจทก์ร่วมที่ ๒ พาอาวุธปื นติดตัวมาและพวกของโจทก์ร่วมทังสองพาอาวุ
้
ธมีดมาด้ วย
ในลักษณะที่พร้ อมจะก่อเหตุ ส่วนจาเลยทังสองก็
้
ออกไปหาโจทก์ร่วมทังสองกั
้
บพวกที่
บริเวณหน้ าบ้ านโดยถืออาวุธมีดติดตัวไปด้ วย หากจาเลยทังสองไม่
้
ประสงค์จะวิวาทกับ
โจทก์ร่วมทังสองก็
้
ชอบที่จะอยูภ่ ายในบริเวณบ้ านโดยไม่จะต้ องออกไป เนือ่ งจากขณะนัน้
ไม่ปรากฏว่าฝ่ ายโจทก์ร่วมทังสองกั
้
บพวกมีพฤติกรรมจะบุกรุกเข้ ามา และเป็ นการไม่แน่
ว่าฝ่ ายโจทก์ร่วมทังสองจะบุ
้
กรุกเข้ ามาหรื อไม่ พฤติการณ์แห่งคดีถือได้ วา่ โจทก์ร่วมทัง้
สองและจาเลยทังสองต่
้
างสมัครใจวิวาทต่อสู้กนั ฝ่ ายใดจะลงมือทาร้ ายอีกฝ่ ายหนึง่ ก่อน
ก็ไม่ใช่สาระสาคัญที่จะต้ องพิจารณา เมื่อสมัครใจวิวาทกันแล้ วฝ่ ายใดจะอ้ างว่าเป็ นการ
ป้องกันโดยชอบด้ วยกฎหมายไม่ได้ โจทก์ร่วมทังสองจึ
้
งไม่ใช่ผ้ เู สียหายโดยนิตินยั ที่จะมี
สิทธิเข้ าร่วมเป็ นโจทก์และไม่มีอนาจยื่นคาร้ องขอให้ บงั คับจาเลยทังสองให้
้
ร่วมกันชดใช้
ค่าสินไหมทดแทนตาม ปวิอ มาตรา ๔๔/๑ ปั ญหาดังกล่าวเป็ นข้ อกฎหมายที่เกี่ยวกับ
ความสงบเรี ยบร้ อย แม้ ไม่มีคคู่ วามฝ่ ายใดยกขึ ้นฎีกา ศาลฎีกามีอานาจยกขึ ้นวินิจฉัย
และแก้ ไขให้ ถกู ต้ องได้ ตาม ปวิอ มาตรา ๑๙๕ สอง ประกอบมาตรา ๒๒๕
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๐๕๑๐/๒๕๕๕ ผู้เสียหายซึง่ เป็ นนักข่าวได้ รับการ
ร้ องเรี ยนถึงพฤติกรรมของกลุม่ บุคคลที่หลอกลวงขายเหล็กไหลจากผู้ชมรายการ
ของผู้เสียหาย จึงวางแผนพิสจู น์การกระทาของกลุม่ บุคคลดังกล่าวเพื่อให้ มี
การจับกุมมาลงโทษ หลังจากที่มีการติดต่อกับกลุม่ บุคคลดังกล่าวจนทราบแน่
ชัดว่ามีพฤติกรรมในการหลอกลวงจริง จึงประสานงานกับเจ้ าพนักงานตารวจ
เพื่อจับกุม โดยผู้เสียหายนาเงินที่จะต้ องวางประกันในการทาสัญญาจะซื ้อขาย
เหล็กไหลไปลงบันทึกประจาวันไว้ เป็ นหลักฐานก็เพื่อจะได้ เป็ นหลักฐานของการ
กระทาความผิด พฤติการณ์แห่งคดีดงั กล่าวมาจังเป็ นเรื่ องที่ผ้ ูเสียหายแสวงหา
พยานหลักฐานด้ วยตนเองโดยการหลอกล่อกลุม่ บุคคลดังกล่าว ซึง่ ก็คือจาเลย
ทังห้
้ ามากระทาความผิด อันเป็ นการก่อให้ จาเลยทังห้
้ ากระทาความผิดฐาน
ฉ้ อโกงตามฟ้อง มิใช่เพราะจาเลยทังห้
้ ามีเจตนาจะฉ้ อโกงผู้เสียหายมาตังแต่
้ ต้น
กรณีดงั กล่าวจึงไม่อาจถือได้ วา่ ผู้เสียหายเป็ นผู้เสียหายตามกฎหมาย
ผู้เสียหำยควำมผิดฐำนซ่ องโจร
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๖๖๔๐/๒๕๕๕ แม้ ความผิดฐานซ่องโจรกฎหมายไม่ได้
บัญญัติวา่ เป็ นการกระทาความผิดต่อรัฐและรัฐเป็ นผู้เสียหาย แต่ก็เป็ น
ความผิดตาม ป.อ. ลักษณะ ๕ อันเป็ นความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของ
ประชาชน ซึง่ บัญญัตไิ ว้ เพื่อความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยของสังคม ความสงบ
สุขและความปลอดภัยของประชาชนโดยส่วนรวม มิใช่บญ
ั ญัติเพื่อบุคคลหนึง่
บุคคลใดโดยเฉพาะเจาะจงเป็ นส่วนตัว ดังนัน้ ความผิดฐานซ่องโจรถือว่าเป็ น
การกระทาต่อรัฐโดยตรง รัฐเท่านันเป็
้ นผู้เสียหายโดยนิตนิ ยั โจทก์ซงึ่ เป็ น
ราษฎรจึงไม่ใช่บคุ คลผู้ได้ รับความเสียหายจากการกระทาความผิดโดยตรง
มิใช่ผ้ เู สียหายโดยนิตนิ ยั ไม่มีอานาจฟ้องคดีได้ เอง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๘๘๗/๒๕๕๖ ปวิอ มาตรา ๒ (๔) บัญญัติวา่ ผู้เสียหาย
หมายความถึง บุคคลผู้ได้ รับความเสียหายเนื่องจากการกระทาความผิดฐานใดฐานหนึง่
รวมทังบุ
้ คคลอื่นที่มีอานาจจัดการแทนได้ ดงั บัญญัติไว้ ในมาตรา ๔, ๕ และ ๖ การที่ ส.
ให้ การต่อพนักงานสอบสวนในคดียกั ยอกทรัพย์นายจ้ างว่าถูกจาเลยทังสองกั
้
บพวกร่วมกัน
กรรโชกเอาเงินที่ ส. ยักยอกมาจากนายจ้ างไป ๖๐๐,๐๐๐ บาท เพราะกลัวจาเลยทังสอง
้
กับพวกจะจับตัวส่งเจ้ าพนักงานตารวจนัน้ การกระทาของจาเลยทังสองกั
้
บพวกดังกล่าวทา
ให้ ส. ได้ รับความเสียหายโดยตรงในความผิดฐานกรรโชก โดยไม่จาต้ องคานึงถึงว่าเงินที่
จาเลยทังสองกั
้
บพวกกรรโชกเอาไปนัน้ จะยังเป็ นของนายจ้ างอยูอ่ ีกหรื อไม่ ส. จึงเป็ น
ผู้เสียหายและมีอานาจร้ องทุกข์ในความผิดฐานกรรโชกได้ แม้ ไม่ปรากฏในสานวนว่า ส. ได้
แจ้ งความร้ องทุกข์โดยตรง แต่ความผิดฐานกรรโชกเป็ นความผิดต่ออาญาแผ่นดิน มิใช่
ความผิดต่อส่วนตัว ต่อมาเมื่อจาเลยทังสองได้
้
เข้ ามอบตัวต่อพนักงานสอบสวนคดีนี ้ มีการ
ทาบันทึกการเข้ ามอบตัวและแจ้ งข้ อกล่าวหาระบุ ส. เป็ นผู้กล่าวหาจาเลยทังสองร่
้
วมกับ
พวกกรรโชกทรัพย์ พนักงานสอบสวนย่อมมีอานาจสอบสวน การสอบสวนคดีนี ้ชอบด้ วย
กฎหมาย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๙๑๕/๒๕๕๑ ปวิอ.มาตรา ๒
(๗) และมาตรา ๑๒๓ มิได้ บญ
ั ญัติวา่ การร้ องทุกข์ของ
ผู้เยาว์ต้องได้ รับความยินยอมจากบิดามารดาหรื อ
ผู้แทนโดยชอบธรรม หรื อบุคคลดังกล่าวต้ องลงลายมือ
ชื่อในการร้ องทุกข์ของผู้เยาว์ด้วย ดังนัน้ ผู้เยาว์จงึ มี
อานาจร้ องทุกข์ด้วยตนเอง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๓๕๗/๒๕๕๐ พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้อง
จาเลยทังสองว่
้
า ร่วมกับพวกบุกรุกเข้ าไปในบ้ านพักของโจทก์ร่วมแล้ วทา
ร้ ายร่างกายผู้เสียหายที่ ๒ ได้ รับอันตรายสาหัส โจทก์ร่วมและในฐานะ
มารดาของผู้เสียหายที่ ๒ ยื่นคาร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ โดยได้ ความว่า
ผู้เสียหายที่ ๒ ถึงแก่ความตายด้ วยการผูกคอตาย ไม่ได้ ตายเพราะถูก
จาเลยทังสองกั
้
บพวกทาร้ ายตามฟ้อง ซึง่ ตาม ปวิอ. มาตรา ๕ (๒) ผู้
บุพการี จะจัดการแทนผู้เสียหายได้ เฉพาะแต่ในความผิดอาญาซึ่ง
ผู้เสียหายถูกทาร้ ายถึงตายหรื อบาดเจ็บจนไม่สามารถจะจัดการเองได้
ดังนัน้ โจทก์ร่วมจึงไม่มีอานาจจัดการแทนผู้เสียหายที่ ๒ ในการเข้ าร่วม
เป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการในความผิดฐานทาร้ ายร่างกายผู้อื่นจนเป็ น
เหตุให้ ได้ รับอันตรายสาหัส โจทก์ร่วมเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ได้ เฉพาะ
ความผิดฐานบุกรุกที่โจทก์ร่วมเป็ นผู้เสียหายเท่านัน้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๘๘๔/๒๕๕๐ โจทก์ร่วมที่ ๒ เป็ นบิดา
เด็กหญิง ร. มีสิทธิเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ได้ ก็โดยฐานะเป็ นผู้จดั การแทน
เด็กหญิง ร. ผู้ตายตามปวิอ. มาตรา ๕ (๒) ต่อมาระหว่างพิจารณา
ของศาลโจทก์ร่วมที่ ๒ ถึงแก่ความตาย ส.ภริ ยาโจทก์ร่วมที่ ๒ หามี
สิทธิเข้ าดาเนินคดีตา่ งโจทก์ร่วมที่ ๒ ตามความหมายแห่ง ปวิอ.
มาตรา ๒๙ ไม่ เพราะโจทก์ร่วมที่ ๒ เป็ นเพียงผู้จดั การแทนเด็กหญิง
ร. ผู้ตายเท่านัน้ โจทก์ร่วมที่ ๒ ไม่ใช่ผ้ เู สียหายในความผิดฐาน
กระทาโดยประมาทเป็ นเหตุให้ ผ้ อู ื่นถึงแก่ความตายโดยตรง ที่ศาล
ชันต้
้ นอนุญาตให้ ส. เข้ าดาเนินคดีตา่ งโจทก์ร่วมที่ ๒ จึงเป็ นการไม่
ชอบ
คำสั่งคำร้ องศำลฎีกำที่ ท ๑๕๙๒/๒๕๕๖ โจทก์ร่วมที่ ๑ บิดา
โดยชอบด้ วยกฎหมายของ ท. ผู้เสียหายซึง่ ถูกทาร้ ายถึงแก่ความ
ตายถึงแก่ความตาย ผู้ร้องซึง่ เป็ นภริ ยาโดยชอบด้ วยกฎหมาย
ของโจทก์ร่วมที่ ๑ และเป็ นมารดาของ ท. ผู้ตายยื่นคาร้ องขอ
เข้ าดาเนินคดี ถือว่าผู้ร้องประสงค์ขอใช้ สทิ ธิของตนที่มีอยูเ่ ดิม
ตังแต่
้ แรกในฐานะผู้มีอานาจจัดการแทนตาม ปวิอ มาตรา ๕
(๒) เพื่อสืบสิทธิดาเนินคดีแทนโจทก์ร่วมที่ ๑ ในชันฎี
้ กา ศาล
ฎีกาอนุญาตให้ ผ้ รู ้ องเข้ าดานเนินคดีในฐานะเป็ นโจทก์ร่วมที่ ๑
แทนโจทก์ร่วมได้ กบั รับคาแก้ ฎีกาไว้ พิจารณา
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๘๑๒/๒๕๕๕ อ ได้ รับเลือกตังเข้
้ าเป็ นคณะกรรมการของโจทก์ร่วม
โดยเป็ นเลขานุการ เมื่อ อ. นาผลการตรวจสอบเข้ าที่ประชุม โจทก์ร่วมมีมติมอบอานาจให้
อ. เป็ นผู้ดาเนินการร้ องทุกข์ดาเนินคดีแก่จาเลยจนกว่าคดีจถึงที่สดุ อ.ไปร้ องทุกข์ตอ่
พนักงานสอบสวนให้ ดาเนินคดีแก่จาเลย และให้ รายละเอียดต่อพนักงานสอบสวนตาม
ข้ อเท็จจริงที่ตรวจสอบมา ดังนี ้ อ. ย่อมมีอานาจดาเนินการร้ องทุกข์แทนโจทก์ร่วมแล้ วตังแต่
้
วันที่ที่ประชุมโจทก์ร่วมมีมติให้ อ. เป็ นผู้ดาเนินการ การมอบอานาจให้ บคุ คลใดไปร้ องทุกข์
นันกฎหมายหาได้
้
บงั คับว่าต้ องทาเป็ นหนังสือหรื อไม่ เมื่อข้ อเท็จจริงรับฟั งได้ วา่ ผู้เสียหายได้
มอบหมายให้ อ. ไปร้ องทุกข์เพื่อดาเนินคดีแก่ผ้ กู ระทาความผิดคดีนี ้จริง อ. ย่อมมีฐานะเป็ น
ผู้แทนอื่น ๆ ของโจทก์ร่วม ที่จดั การแทนโจทก์ร่วมได้ ตามนัย ปวิอ มาตรา ๕ (๓) การร้ อง
ทุกข์สามารถกระทาได้ ด้วยวาจาให้ พนักงานสอบสวนบันทึกไว้ เมื่อเป็ นการกระทาในขอบ
อานาจ แม้ หนังสือมอบอานาจลงวันที่ภายหลัง ก็ไม่ทาให้ อ. ซึง่ มีอานาจร้ องทุกข์แทนโจทก์
ร่วมได้ อยูแ่ ล้ วกลายเป็ นผู้ที่ไม่มีอานาจร้ องทุกข์แทนโจทก์ร่วมไปได้ แต่อย่างใด การร้ องทุกข์
จึงชอบด้ วยกฎหมายแล้ วตาม มาตรา ๑๒๓ วรรคสอง พนักงานสอบสวนและโจทก์จงึ มี
อานาจสอบสวนและอานาจฟ้องคดีนี ้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๘๑๒/๒๕๕๕ (ต่อ) ข. ตรวจสอบบัญชีของโจทก์ร่วม
แล้ วพบว่า มีการทุจริตยอดเงินตามฟ้องและแจ้ งให้ ประธานกรรมการโจทก์
ร่วมทราบตังแต่
้ วนั ที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๖ จะถือว่าโจทก์ร่วมรู้ เรื่ องความผิด
และรู้ตวั ผู้กระทาความผิดยังไม่ได้ เนื่องจากเป็ นเพียงข้ อมูลเบื ้องต้ นว่ามีการ
ทุจริตเกิดขึ ้น แต่ยงั ไม่ร้ ูแน่ชดั ว่าผู้กระทาเป็ นใคร ต่อมาโจทก์ร่วมได้ ตงั ้
คณะกรรมการตรวจสอบข้ อเท็จจริง เมื่อกรรมการตรวจสอบเสร็จสิ ้นและการ
ประชุมพร้ อมมีมติวา่ ความเสียหายเกิดขึ ้นในช่วงจาเลยเป็ นผู้จดั การ จึงมอบ
อานาจให้ อ. ไปร้ องทุกข์ให้ ดาเนินคดีแก่จาเลย ประธานการรมการของโจทก์
ร่วมน่าจะทราบเรื่ องในวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๔๗ อันเป็ นวันที่โจทก์ร่วมรู้ตวั
ผู้กระทาความผิดแน่นอน ผู้รับมอบอานาจโจทก์ร่วมไปร้ องทุกข์เมื่อวันที่ ๑๐
มิถนุ ายน ๒๕๔๗ จึงเป็ นการร้ องทุกข์ภายในอายุความสามเดือน
คดีอาญาทีร่ ัฐเป็ นผู้ดาเนินการ
ความผิดต่ อส่ วนตัว
(ความผิดอันยอมความได้ )
ร้ องทุกข์
ความผิดต่ อแผ่ นดิน
(ความผิดอันยอมความไม่ ได้ )
ร้ องทุกข์
กล่าวโทษ
สอบสวน
สอบสวน
ฟ้องคดี
ฟ้องคดี
คดีอาญาทีผ่ ู้เสี ยหายเป็ นผู้ดาเนินการ
ความผิดต่ อส่ วนตัว / ต่ อแผ่ นดิน
ร้ องทุกข์
ฟ้องคดีด้วย
ตนเอง
อัยกำรฟ้อง
คดี
เข้ ำ
ร่ วม
เป็ น
โจทก์
กับ
อัยกำร
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๖๐๐-๒๖๐๒/๒๕๕๐ ตามหนังสือมอบอานาจทังสองฉบั
้
บมี
ข้ อความระบุเหมือนกันว่า โจทก์ร่วมโดย ณ. และ ท. กรรมการผู้มีอานาจ มอบ
อานาจให้ ม. เป็ นผู้รับมอบอานาจไปร้ องทุกข์ดาเนินคดีอาญาตามเช็คพิพาทแก่
บริษัท ต. โดยจาเลยที่ ๑ และจาเลยที่ ๒ แสดงว่าโจทก์ร่วมมอบอานาจให้ ม. ร้ อง
ทุกข์ดาเนินคดีแก่บริษัท ต. ซึง่ มีจาเลยทังสองเป็
้
นกรรมการผู้มีอานาจกระทาการ
แทน มิใช่มอบอานาจให้ ร้องทุกข์ดาเนินคดีแก่จาเลยทังสองในฐานะส่
้
วนตัว อีกทัง้
ตามสาเนาหนังสือรับรองและสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของ ณ. และ ท. ที่แนบ
ท้ ายหนังสือมอบอานาจดังกล่าวทุกฉบับซึง่ มีการรับรองสาเนาถูกต้ องก็ระบุไว้
ชัดเจนว่า สาหรับใช้ งานมอบอานาจให้ ม. ร้ องทุกข์ดาเนินคดีอาญาแก่บริษัท ต.
เท่านัน้ แม้ ณ. กรรมการผู้จดั การโจทก์ร่วมจะเบิกความว่า ตามหนังสือมอบอานาจ
ทังสองฉบั
้
บ เป็ นการมอบอานาจให้ ม. ไปแจ้ งความร้ องทุกข์ให้ ดาเนินคดีแก่จาเลย
ทังสองก็
้
ตาม แต่คาเบิกความของ ณ. ก็ขดั ต่อข้ อความในหนังสือมอบอานาจ
ดังกล่าว ย่อมไม่มีน ้าหนักให้ รับฟั ง (มีต่อ)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๐๐-๒๖๐๒/๒๕๕๐ (ต่ อ) แม้ จาเลยทังสองจะเป็
้
นกรรมการผู้
มีอานาจกระทาการแทนบริษัท ต . ก็ตาม แต่ความเป็ นนิตบิ คุ คลของบริษัท ต. ก็แยก
ต่างหากจากความเป็ นบุคคลของจาเลยทังสอง
้ ประกอบกับความรับผิดในทาง
อาญาเป็ นเรื่ องเฉพาะตัวของผู้กระทาความผิดแต่ละบุคคล เมื่อโจทก์ร่วมมีหนังสือ
มอบอานาจให้ ม. ไปร้ องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนโดยระบุให้ ดาเนินคดีแก่บริษัท ต.
เท่านัน้ ม. จึงไม่มีอานาจไปแจ้ งความร้ องทุกข์ให้ ดาเนินคดีแก่จาเลยทังสอง
้ และเป็ น
การร้ องทุกข์ที่ไม่ชอบ เท่ากับว่าโจทก์ร่วมซึง่ เป็ นผู้เสียหายไม่ได้ ร้องทุกข์ให้ ดาเนินคดี
นี ้อันเป็ นความผิดต่อส่วนตัวแก่จาเลยทังสอง
้ พนักงานสอบสวนจังไม่มีอานาจ
สอบสวนคดีนี ้ได้ ตาม ปวิอ.มาตรา ๑๒๑ ฉะนันพนั
้ กงานอัยการโจทก์จงึ ไม่มีอานาจ
ฟ้องจาเลยทังสองตาม
้
ปวิอ. มาตรา ๑๒๐ เมื่อโจทก์ไม่มีอานาจฟ้อง คาร้ องขอเข้ า
ร่วมเป็ นโจทก์ของผู้เสียหายย่อมตกไป และต้ องยกฟ้องด้ วย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๙๗๔/๒๕๑๖ การพิจารณาว่าพนักงาน
สอบสวนผู้รับคาร้ องทุกข์ไว้ จะมีอานาจรับคาร้ องทุกข์หรื อไม่นนั ้
เป็ นคนละเรื่ องกับการพิจารณาปั ญหาว่า พนักงานสอบสวนผู้
นันจะมี
้ อานาจสอบสวนในความผิดเรื่ องนันด้
้ วยหรื อไม่
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๒๔ มิได้
บังคับให้ ร้องทุกข์ตอ่ เจ้ าพนักงานผู้มีอานาจสอบสวนเสมอไป
เหตุนี ้พนักงานสอบสวนท้ องที่ใดท้ องที่หนึง่ ซึง่ แม้ จะไม่มีอานาจ
ทาการสอบสวนในคดีใดเลยก็ยงั มีอานาจรับคาร้ องทุกข์ในคดี
นันได้
้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๘๐๔/๒๕๔๐ การจะสอบสวน
จาเลยทังสองในความผิ
้
ดฐานใดนัน้ ย่อมเป็ นอานาจ
ของพนักงานสอบสวนที่จะดาเนินการต่อไปตาม
ข้ อเท็จจริงที่ปรากฏจากการสอบสวน ดังนัน้ แม้ ป. จะ
ลงชื่อในคาร้ องทุกข์โดยยังไม่ได้ กรอกข้ อความ
รายละเอียดต่าง ๆ ลงไปเพราะไม่ทราบว่าจะแจ้ งความ
ให้ ดาเนินคดีจาเลยในความผิดฐานใดก็ตาม ก็ไม่ทาให้
การสอบสวนเสียไปการสอบสวนจึงชอบแล้ ว
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๓๐๘/๒๕๔๗ โจทก์ร่วมร้ องทุกข์ตอ่
พนักงานสอบสวนว่า จาเลยยักยอกทรัพย์ พนักงานสอบสวน
สอบสวนจาเลยแล้ วมีความเห็นสัง่ ฟ้องจาเลยในข้ อหายักยอก
แต่โจทก์เห็นว่าการกระทาของจาเลยตามที่พนักงานสอบสวน
ได้ สอบสวนเป็ นความผิดฐานฉ้ อโกงจึงฟ้องจาเลยในข้ อหา
ฉ้ อโกง กรณีเช่นนี ้เป็ นเรื่ องความเห็นของโจทก์กบั พนักงาน
สอบสวนแตกต่างกันในการปรับบทกฎหมายกับการกระทาของ
จาเลย ถือว่าพนักงานสอบสวนได้ สอบสวนในข้ อหาฉ้ อโกงแล้ ว
โจทก์จงึ มีอานาจฟ้อง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๖๓๐/๒๕๔๙ โจทก์ทงสองเมาสุ
ั้
ราจนครองสติไม่ได้ ประพฤติตนวุน่ วาย
ในทางสาธารณะหรื อสาธารณสถาน แต่โจทก์ทงสองช
ั้
าระค่าปรับตามที่พนักงานสอบสวน
ได้ เปรี ยบเทียบแล้ ว ทาให้ คดีอาญาที่โจทก์ทงสองถู
ั้
กกล่าวหาเป็ นอันเลิกกันตาม ปวิอ. มาตรา
๓๗ (๒) เมื่อโจทก์ทงสองกล่
ั้
าวหาต่อจาเลยในฐานะพนักงานสอบสวนว่าจ่าสิบตารวจ ป. ทาร้ าย
ร่างกายโจทก์ทงสองในเหตุ
ั้
การณ์ดงั กล่าว ซึง่ เป็ นการกล่าวหาว่าจ่าสิบตารวจ ป.ได้ กระทา
ความผิดฐานทาร้ ายร่างกาย ทาให้ โจทก์ทงสองเสี
ั้
ยหายโดยมีเจตนาจะให้ จ่าสิบตารวจ ป. ได้ รับ
โทษ เช่นนี ้ จึงเป็ นคาร้ องทุกข์ตาม ปวิอ. มาตรา ๒ (๗) และเป็ นการกระทาที่แยกต่างหากจาก
การกระทาที่โจทก์ทงสองถู
ั้
กกล่าวหาว่าเมาสุราจนครองสติไม่ได้ ประพฤติตนวุน่ วายในทาง
สาธารณะหรื อสาธารณสถาน จาเลยในฐานะพนักงานสอบสวนมีหน้ าทีต้องรับคาร้ องทุกข์ของ
โจทก์ทงสองไว้
ั้
ดาเนินการตามอานาจหน้ าที่ตอ่ ไป การที่จาเลยไม่รับคาร้ องทุกข์ของโจทก์ทงสอง
ั้
ในข้ อหาทาร้ ายร่างกาย อ้ างเพียงว่าคดีเลิกกันแล้ วโดยไม่มีกฎหมายให้ อานาจ จึงเป็ นการละเว้ น
การปฏิบตั ิหน้ าที่โดยมิชอบทาให้ โจทก์ทงสองได้
ั้
รับความเสียหาย
การพิจารณาคดีในข้ อหาทาร้ ายร่างกายเกิดขึ ้นหลังจากจาเลยไม่ยอมรับคาร้ องทุกข์
ของโจทก์ทงสองแล้
ั้
ว จนโจทก์ทงสองต้
ั้
องไปร้ องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนคนอื่นในเวลาต่อมา
แม้ ศาลฎีกามีคาพิพากษาให้ ยกฟ้องก็ไม่มีผลลบล้ างการกระทาของจาเลยที่ไม่ชอบด้ วยกฎหมาย
และฟั งไม่ได้ วา่ จาเลยใช้ ดลุ พินิจโดยชอบ
คำสั่งคำร้ องของศำลฎีกำที่ ๗๕๑/๒๕๔๑ สิทธิขอถอนคาร้ อง
ทุกข์ในคดีความผิดฐานฉ้ อโกง ตาม ป.อ. มาตรา ๓๔๑ เป็ นสิทธิ
เกี่ยวกับทรัพย์สนิ เมื่อผู้ร้องทุกข์ตายย่อมตกทอดแก่ทายาท ผู้
ร้ องเป็ นสามีโดยชอบด้ วยกฎหมายของนาง ป. ผู้ตาย เมื่อนาง
ป.ผู้ร้องทุกข์ตาย สิทธิในการถอนคาร้ องทุกข์จงึ ตกแก่ผ้ รู ้ องซึง่
เป็ นทายาท ผู้ร้องมีสทิ ธิถอนคาร้ องทุกข์ได้ เมื่อผู้ร้องยื่นคาร้ อง
ขอถอนคาร้ องทุกข์เพราะได้ รับชดใช้ เงินที่ฉ้อโกงไปจากจาเลย
แล้ ว สิทธินาคดีอาญามาฟ้องจึงระงับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙
(๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๔๒/๒๕๓๓ แม้ วา่ ผู้ร้องจะเป็ นพี่ชายของ
โจทก์ร่วมผู้ตายเกิดจากบิดามารดาเดียวกันตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๖๒๙ (๓) ก็ตาม แต่ผ้ รู ้ องมิใช่บคุ คลตามบทบัญญัติแห่ง ป.วิ.อ.
มาตรา ๒๙ ที่จะขอเข้ าดาเนินคดีตา่ งโจทก์ร่วมผู้ตายโดยอนุโลม
ต่อไปได้ ดังนันผู
้ ้ ร้องจึงหามีสทิ ธิถอนคาร้ องทุกข์หรื อมีคาขออื่น
ใดแทนโจทก์ร่วมผู้ตายไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๐๕/๒๕๔๒ การขอถอนคาร้ องทุกข์
นันผู
้ ้ เสียหายจะถอนต่อพนักงานสอบสวนหรื อต่อพนักงาน
อัยการหรื อต่อศาลก็ได้ แม้ ขณะคดีจะอยูใ่ นระหว่างการ
พิจารณาของศาลก็ตามเมื่อปรากฏว่า พนักงานอัยการโจทก์
ได้ รับคาร้ องขอถอนคาร้ องทุกข์ของผู้เสียหายโดยชอบแล้ ว
สิทธิในการนาคดีของโจทก์มาฟ้อง จาเลยย่อมเป็ นอันระงับ
ไป การที่โจทก์แถลงยืนยันต่อศาลในวันนัด
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๙๖๒/๒๕๐๖ การถอนคาร้ องทุกข์ที่จะ
ทาให้ คดีระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๓๙ (๒) นัน้ เป็ นเรื่ องเจตนาถอนเพื่อยกเลิก
ไม่เอาความแก่จาเลยต่อไป แต่การถอนคาร้ องทุกข์โดยเหตุที่
ผู้เสียหายได้ นาคดีมาฟ้องศาลเสียเอง หาทาให้ คดีระงับไปไม่
คงระงับไปแต่เฉพาะเรื่ องการร้ องทุกข์ โดยศาลย่อมดาเนินคดี
เสมือนว่าผู้เสียหายฟ้องคดีตอ่ ศาลโดยไม่มีการร้ องทุกข์มา
ก่อนเท่านันเอง
้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๐๑๙/๒๕๔๓ ข้ อตกลงที่โจทก์ร่วมยอมลดหนี ้
ตามเช็คทังสองฉบั
้
บให้ แก่จาเลยและยอมให้ จาเลยผ่อนชาระหนี ้ให้
เสร็จในกาหนดเวลา ๑๒ เดือน พร้ อมด้ วยดอกเบี ้ย เมื่อผ่อนชาระ
เสร็จสิ ้นแล้ วโจทก์ร่วมจะถอนคาร้ องทุกข์คดีนี ้ให้ จาเลยกับพวก
ข้ อตกลงนี ้โจทก์ร่วมไม่ได้ ยินยอมถอนคาร้ องทุกข์ให้ จนกว่า จาเลยจะ
ชาระหนี ้ให้ เสร็จสิ ้นเป็ นข้ อตกลงที่มีเงื่อนไข เป็ นการให้ โอกาสแก่
จาเลยผ่อนชาระหนี ้โดยยอมให้ เลื่อนการพิจารณาคดีไป ข้ อตกลง
ดังกล่าวมิใช่เป็ นการยอมความ จึงไม่มีผลทาให้ สิทธินาคดีอาญามา
ฟ้องระงับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา
๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๕๗๗/๒๕๕๑ ตามคาร้ องของโจทก์ร่วมระบุวา่ โจทก์ร่วมได้ รับการ
ชดใช้ คา่ เสียหายจากจาเลยแล้ วเป็ นเงินจานวน ๕๐,๐๐๐ บาท โจทก์ร่วมในฐานะผู้เสียหาย
คดีนี ้จึงไม่ติดใจเอาความใดๆกับจาเลยอีก และประสงค์จะถอนคาร้ องทุกข์หรื อขอให้ ศาล
ลงโทษสถานเบาและรอการลงโทษแก่จาเลย และท้ ายคาร้ องดังกล่าวจาเลยก็ได้ ลงลายมือ
ชื่อด้ วย พอแปลความได้ วา่ โจทก์ร่วมมีความประสงค์จะขอถอนคาร้ องทุกข์แล้ ว หรื อหาก
ศาลไม่อนุญาตให้ โจทก์ร่วมถอนคาร้ องทุกข์ ก็ขอให้ ศาลลงโทษจาเลยสถานเบาเท่านัน้ เมื่อ
คดีนี ้โจทก์ฟ้องขอให้ ลงโทษจาเลยตาม ป.อ. มาตรา ๓๖๒ , ๓๖๕ ศาลชันต้
้ นพิพากษาว่า
จาเลยมีความผิดฐานบุกรุกตาม ป.อ. มาตรา ๓๖๒ อันเป็ นความผิดต่อส่วนตัว ศาลอุทธรณ์
ภาค ๙ พิพากษายืน ตราบใดที่ยงั ไม่มีคาพิพากษาของศาลสูงเปลี่ยนแปลงคาพิพากษาศาล
อุทธรณ์ภาค ๙ ต้ องถือว่าคดีนี ้เป็ นคดีความผิดต่อส่วนตัว เมื่อคดียงั ไม่ถงึ ที่สดุ โจทก์ร่วมจะ
ถอนคาร้ องทุกข์เสียเมื่อใดก็ได้ เมื่อโจทก์ร่วมยื่นคาร้ องขอถอนคาร้ องทุกข์ก่อนศาลชันต้
้ นสัง่
รับฎีกา จาเลยไม่คดั ค้ าน ศาลชันต้
้ นย่อมมีอานาจสัง่ ได้ แต่เมื่อคดีขึ ้นมาสูศ่ าลฎีกาแล้ ว
ศาลฎีกาย่อมมีอานาจสัง่ ได้ เช่นกัน เมื่อโจทก์ร่วมถอนคาร้ องทุกข์สิทธิ นาคดีอาญามาฟ้อง
ของโจทก์ยอ่ มระงับไปตาม ปวิอ. มาตรา ๓๙ (๒) แม้ ตอ่ มาโจทก์ร่วมยื่นคาแถลงว่า ยังไม่ได้
รับชดใช้ เงินอีก ๑๕,๐๐๐ บาท ก็เป็ นการขัดแย้ งกับคาร้ องขอถอนคาร้ องทุกข์ จึงไม่อาจทา
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๗๔ - ๙๗๕/๒๕๕๔ แม้ ผ้ เู สียหายที่ ๒ จะเบิกความว่า
ผู้เสียหายที่ ๒ เห็นจาเลยที่ ๑ ถืออาวุธเฉพาะตอนอยูท่ ี่หน้ าร้ าน ขณะที่อยูใ่ น
ห้ องผู้เสียหายที่ ๒ ไม่ทนั สังเกต แต่พนั ตารวจโท ส. พนักงานสอบสวนเบิก
ความว่าในชันสอบสวนจ
้
าเลยที่ ๒ ให้ การว่า ขณะที่จาเลยที่ ๒ กระทาชาเรา
ผู้เสียหายที่ ๒ จาเลยที่ ๑ เก็บอาวุธไว้ ใต้ ที่นอนที่ผ้ เู สียหายที่ ๒ นอนอยู่ และ
ได้ บอกกับผู้เสียหายที่ ๒ ด้ วยว่ามีกระสุนปื น ๔ นัด ซึง่ สอดคล้ องกับบันทึก
คาให้ การของผู้ต้องหา ที่จาเลยที่ ๑ ได้ ให้ การต่อพนักงานสอบสวนไว้ หลังวันเกิด
เหตุเพียง ๑ วัน กับได้ ลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้ องไว้ ด้วย จึงเชื่อว่าเป็ น
จริงตามนัน้ การเก็บอาวุธปื นพกไว้ ใกล้ ชิดกับตัวเช่นนัน้ เป็ นการมีอาวุธปื นอยูใ่ น
ความครอบครองของจาเลยที่ ๑ และฟั งได้ วา่ จาเลยที่ ๑ มีความผิดฐานข่มขืน
กระทาชาเราโดยมีอาวุธปื นแล้ ว ซึง่ ความผิดข้ อหาดังกล่าวไม่เป็ นความผิดอัน
ยอมความได้ ตามบทบัญญัติแห่ง ปอ มาตรา ๒๘๑ ดังนัน้ แม้ มารดาของ
ผู้เสียหายที่ ๒ มาถอนคาร้ องทุกข์ สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ก็ไม่ระงับ
ไป
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๓๓/๒๕๐๕ คดีความผิดอันยอมความ
กันได้ แม้ ราษฎรเป็ นโจทก์ฟ้องคดีเอง ถ้ าโจทก์มิได้ ร้องทุกข์
ภายใน ๓ เดือน นับแต่วนั ที่โจทก์ร้ ูเรื่ องความผิดและรู้ตวั
ผู้กระทาความผิดคดีก็ขาดอายุความตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๙๖
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๖ เป็ นบทบังคับว่าถ้ าไม่ได้
ร้ องทุกข์ในกาหนดคดีก็ขาดอายุความ ฉะนันถ้
้ าผู้เสียหายไม่
ร้ องทุกข์แต่จะฟ้องเลยทีเดียวก็ต้องฟ้องใน ๓ เดือน
เช่นเดียวกันเพราะในกรณีอย่างนี ้ถือได้ วา่ การฟ้องนันเท่
้ ากับ
การร้ องทุกข์แล้ ว จึงหาต้ องร้ องทุกข์อีกไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๗๕๒/๒๕๔๕ แม้ โจทก์จะฟ้องจาเลยในข้ อหาฉ้ อโกง
ประชาชน ตาม ป.อ. มาตรา ๓๔๓ และข้ อหาจัดหางานให้ คนหางานไปทางาน
ต่างประเทศโดยไม่ได้ รับอนุญาต ตาม พ.ร.บ.จัดหางานและคุ้มครองคนหางานฯ
มาตรา ๓๐, ๘๒ ซึง่ เป็ นความผิดอันยอมความไม่ได้ แต่ศาลชันต้
้ นพิพากษาว่า
จาเลยกระทาผิดฐานฉ้ อโกง ตาม ป.อ. มาตรา ๓๔๑ และยกฟ้องความผิดตาม
พ.ร.บ.จัดหางานและคุ้มครองคนหางานฯ ซึง่ โจทก์มิได้ อทุ ธรณ์ ความผิดทังสอง
้
ฐานจึงถึงที่สดุ โจทก์จะฎีกาว่าจาเลยกระทาผิดสองฐานนี ้อีกไม่ได้ และเมื่อฟั งได้
ว่าจาเลยกระทาความผิดตาม ป.อ. มาตรา ๓๔๑ ซึง่ เป็ นความผิดอันยอมความได้
ผู้เสียหายต้ องร้ องทุกข์ภายใน ๓ เดือน นับแต่วนั ที่ร้ ูเรื่ องความผิดและรู้ตวั ผู้กระทา
ความผิด ตาม ป.อ. มาตรา ๙๖ เมื่อผู้เสียหายร้ องทุกข์เพื่อดาเนินคดีแก่จาเลย
เกินกว่า ๓ เดือน นับแต่วนั ดังกล่าว คดีโจทก์จงึ ขาดอายุความตาม มาตรา ๙๖
สิทธินาคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๖) โจทก์ไม่มี
อานาจฟ้อง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๖๙๕/๒๕๔๖ โจทก์มอบอานาจให้ ร. ดาเนินการทุกอย่าง
เพื่อยับยังและจ
้
ากัดการเลียนแบบ ละเมิดและการกระทาที่ไม่ชอบด้ วยกฎหมาย
เกี่ยวกับชื่อทางการค้ า ลิขสิทธิ์ สิทธิบตั ร และอื่นๆ ที่ใช้ เกี่ยวกับการค้ าของโจทก์
และให้ อานาจร้ องทุกข์ ฟ้องร้ องดาเนินคดีในนามของโจทก์ ร. รู้เรื่ องการกระทา
ความผิดและรู้ตวั ผู้กระทาความผิดในวันที่ ร. อ่านรายงานการล่อซื ้อ
คอมพิวเตอร์ ที่มีโปรแกรมละเมิดลิขสิทธิ์ของโจทก์ ส่วนการตรวจสอบ
คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ซื ้อมาก็เพื่อให้ ได้ หลักฐานชัดเจนยิ่งขึ ้น
อันจะเป็ นประโยชน์ในการฟ้องคดี ไม่ใช่เพื่อให้ ร้ ูถึงการกระทาความผิดเพราะ ร.
รู้วา่ คอมพิวเตอร์ เครื่ องนันมี
้ การละเมิดลิขสิทธิ์ของโจทก์แล้ ว เมื่อโจทก์ไม่ได้ ร้อง
ทุกข์และนาคดีนี ้ซึง่ เป็ นความผิดอันยอมความได้ มาฟ้องภายใน ๓ เดือน นับแต่
วันที่ ร. รู้เรื่ องดังกล่าว คดีโจทก์ขาดอายุความตาม ป.อ. มาตรา ๙๖
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๓๖๗-๓๓๖๘/๒๕๔๖ โจทก์แจ้ งต่อพนักงานสอบสวนถึง
ข้ อเท็จจริงที่โจทก์เห็นว่า จาเลยที่ ๑ ถอนเงินออกจากบัญชีเงินฝากของโจทก์โดย
ไม่ถกู ต้ อง เมื่อโจทก์สอบถามจาเลยที่ ๒ จาเลยที่ ๒ ก็ได้ ชี ้แจงถึงเหตุที่ทาง
ธนาคารจาเลยที่ ๑ ต้ องหักเงินฝากออกจากบัญชีเงินฝากของโจทก์ชาระหนี ้
ลูกหนี ้ที่โจทก์ทาสัญญาค ้าประกันไว้ แสดงว่าโจทก์ร้ ูอยูแ่ ล้ วว่าจาเลยที่ ๑ และ
จาเลยที่ ๒ คือผู้ที่หกั เอาเงินของโจทก์ออกไปจากบัญชีเงินฝากของโจทก์ โจทก์
จึงไปพบพนักงานสอบสวนเพื่อแจ้ งความให้ ดาเนินคดีแก่จาเลยทังสอง
้ จึงรับฟั ง
ข้ อเท็จจริงได้ วา่ โจทก์ได้ ร้ ูเรื่ องความผิดที่จาเลยทังสองกระท
้
าการฉ้ อโกงโจทก์
ตังแต่
้ วนั ดังกล่าว ส่วนเมื่อโจทก์แจ้ งความแล้ ว พนักงานสอบสวนผู้รับแจ้ งจะเห็น
ว่าการกระทาของจาเลยทังสองไม่
้
เป็ นความผิดทางอาญา ก็เป็ นเพียงความเห็น
ของพนักงานสอบสวน จึงไม่อาจลบล้ างข้ อเท็จจริงที่ถือว่าโจทก์ร้ ูเรื่ องความผิด
และรู้ตวั ผู้กระทาความผิดฐานฉ้ อโกงดังกล่าวไปได้ โจทก์นาคดีมาฟ้องเมื่อพ้ น
กาหนดเวลา ๓ เดือน ตาม ป.อ. มาตรา ๙๖ ฟ้องโจทก์จงึ ขาดอายุความ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๖๕๕/๒๕๔๓ คดีนี ้ผู้เสียหายเป็ นโจทก์
ฟ้องจาเลยต่อศาล ขอให้ ลงโทษจาเลยตาม พ.ร.บ.ว่าด้ วย
ความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ค อันเป็ นความผิดต่อส่วนตัว
จาเลยฎีกาว่าการร้ องทุกข์ไม่ชอบด้ วยกฎหมาย โจทก์ไม่มี
อานาจฟ้อง ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตาม
เช็ค โจทก์ก็นาคดีมาฟ้องภายในอายุความฟ้องร้ อง ดังนี ้การร้ อง
ทุกข์จะชอบด้ วยกฎหมายหรื อไม่ จึงไม่ใช่สาระสาคัญ ไม่ทา
ให้ ผลของคดีเปลี่ยนแปลงไป โจทก์มีอานาจฟ้อง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๑๒/๒๕๑๕ กาหนดเวลาที่ให้ ผ้ เู สียหายร้ อง
ทุกข์ภายใน ๓ เดือนนับแต่วนั ที่ร้ ูเรื่ องความผิดและรู้ตวั ผู้กระทาผิด
มิฉะนันจะเป็
้
นอันขาดอายุความนัน้ เป็ นบทบัญญัติสาหรับกรณีที่
ผู้เสียหายจะร้ องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวน ฯลฯ แต่ถ้าผู้เสียหายไม่ร้อง
ทุกข์เสียก่อน จะใช้ สิทธินาคดีมาฟ้องต่อศาลด้ วยตนเองก็ยอ่ มกระทา
ได้ ภายในกาหนดระยะเวลาเดียวกัน แต่เมื่อวันสุดท้ ายแห่งระยะเวลา
เป็ นวันหยุด ซึง่ ตามประเพณีงดเว้ นการงาน ท่านให้ นบั วันที่เริ่ มทางาน
ใหม่เข้ าด้ วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๑
(ปั จจุบนั คือ มาตรา ๑๙๓/๘) ดังนันการที
้
่ระยะเวลาที่ผ้ เู สียหายจะร้ อง
ทุกข์ในคดีนี ้ได้ สิ ้นสุดลงในวันที่ ๒๔ อันเป็ นวันหยุดราชการ ผู้เสียหาย
ยื่นฟ้องคดีตอ่ ศาลในวันที่ ๒๕ ซึง่ เป็ นวันเริ่ มทางานใหม่ ฟ้องของโจทก์
จึงไม่ขาดอายุความ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๕๓/๒๕๓๑ (ป) จาเลยเข้ าไปปั กเสาและปลูกต้ นมะขาม ในที่ดินของ
โจทก์ก็เพื่อถือการครอบครองที่ดินของโจทก์ ดังนัน้ ความผิดฐานบุกรุกได้ เกิดขึ ้นและสาเร็จแล้ ว
เมื่อจาเลยเข้ าไปกระทาการดังกล่าว ส่วนการครอบครองที่ดินต่อมาเป็ นเพียงผลของการบุกรุก
การกระทาของจาเลยจึงไม่เป็ นความผิดต่อเนื่องตราบเท่าที่จาเลยยังถือการครอบครองที่ดินของ
โจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่าเหตุเกิดระหว่างวันที่ ๑ ถึง ๑๐ สิงหาคม ๒๕๒๘ เวลาใดไม่
ปรากฏชัด ขอให้ ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๖๒ และ ๓๖๓ โดยมิได้ บรรยาย
ฟ้องว่าเหตุเกิดเวลากลางคืน แม้ จะมีข้อความตอนหนึง่ ว่าขณะนี ้จาเลยยังคงบุกรุกอยู่ ซึง่ พอ
เข้ าใจได้ วา่ จาเลยบุกรุกที่ดินตามฟ้องทังเวลากลางวั
้
นและกลางคืน แต่โจทก์กม็ ิได้ ขอให้ ลงโทษ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๖๕ (๓) จึงถือไม่ได้ วา่ โจทก์ประสงค์จะให้ ลงโทษจาเลย
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๖๕ (๓) อันเป็ นความผิดอาญาแผ่นดิน เมื่อความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๖๒ และ ๓๖๓ เป็ นความผิดอันยอมความกันได้ โจทก์มิได้
ร้ องทุกข์และได้ ฟ้องคดีเองเมื่อพ้ นกาหนดสามเดือนนับแต่วนั รู้เรื่ องความผิดและรู้ตวั ผู้กระทา
ความผิด คดีโจทก์จงึ ขาดอายุความตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๖
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๓๒๕/๒๕๒๙ อายุความ ๓
เดือน ต้ องเริ่มนับจากวันที่โจทก์ได้ รับแจ้ งจาก
ธนาคารว่ามีการปฏิเสธการจ่ายเงิน จะนับจากวันที่
โจทก์ได้ รับเช็คและใบคืนเช็คจากธนาคารหาได้ ไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๘๘/๒๕๔๖ ป.อ. ภาค ๑ ลักษณะ ๑
หมวด ๙ ได้ บญ
ั ญัติเรื่ องอายุความคดีอาญาไว้ โดยเฉพาะแล้ ว หา
ได้ มีบทบัญญัติเรื่ องอายุความสะดุดหยุดลงหรื อเลิกนับอายุความ
ร้ องทุกข์ อันจะนา ป.พ.พ. มาใช้ บงั คับไม่ แม้ โจทก์จะฟ้องจาเลย
ทังสองต่
้
อศาลแขวงดุสติ ภายในกาหนดอายุความ แต่เมื่อคดีไม่
อยูใ่ นอานาจศาลแขวงดุสติ ซึง่ ศาลแขวงดุสติ มีคาสัง่ จาหน่ายคดี
ไปแล้ ว การที่โจทก์นาคดีนี ้มาฟ้องศาลแขวงพระนครใต้ อีกเมื่อพ้ น
กาหนดอายุความ สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ย่อมระงับ
ไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๖)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๒๘/๒๔๙๙ ศาลสัง่ ให้ แพทย์ตรวจ
จิตของจาเลย แพทย์รายงานว่าจาเลยเป็ นลมบ้ าหมู
อาการวิกลจริตมีขึ ้นเมื่อเวลาจาเลยชัก ถ้ าไม่ชกั ก็เป็ นคน
ปกติ ดังนี ้แม้ จะปรากฏในรายงานแพทย์วา่ จาเลย
วิกลจริต แต่ก็ปรากฏว่าจาเลยยังสามารถต่อสู้คดีได้ ศาล
ก็ทาการพิจารณาต่อไปได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๕๕๓/๒๕๑๕ กรณีที่ผ้ ปู ระกันผิดสัญญา
ประกันต่อศาลเพราะไม่นาจาเลยมาส่งศาลตามหมายนัดนัน้
ผู้ประกันจะมาขอให้ ศาลงดการพิจารณาคดีและดาเนินการไต่
สวนข้ อเท็จจริ งที่ผ้ ปู ระกันอ้ างว่า จาเลยเป็ นโรคประสาทอย่าง
แรงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๔
หาได้ ไม่ เพราะมาตรา ๑๔ เป็ นบทบัญญัติใช้ สาหรับกรณีที่ได้ ตวั
จาเลยมาศาลแล้ ว และศาลจะต้ องดาเนินการพิจารณาคดีเกี่ยว
แก่ตวั จาเลยโดยตรง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๐๙/๒๕๔๘ ทนายจาเลยขอส่งตัวจาเลย
ไปตรวจจิตที่โรงพยาบาล โจทก์แถลงว่ากรณีไม่เข้ าเหตุตาม ป.
วิ.อ. มาตรา ๑๔ ศาลชันต้
้ นเห็นว่าในระหว่างการสอบสวนและ
พิจารณาจาเลยสามารถต่อสู้คดีได้ เหตุที่ทนายจาเลยขอส่งตัว
จาเลยไปตรวจจิตที่โรงพยาบาลไม่เข้ าเหตุตาม มาตรา ๑๔
ดังนันเมื
้ ่อศาลชันต้
้ นชี ้ขาดว่าจาเลยสามารถต่อสู้คดีได้ และ
จาเลยมิได้ โต้ แย้ งคัดค้ าน การดาเนินกระบวนพิจารณาต่อมา
จึงชอบด้ วยกฎหมายแล้ ว
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๒๔๘/๒๕๓๒ ระหว่างการพิจารณาของ
ศาลชันต้
้ นจาเลยเป็ นผู้วิกลจริ ตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ แต่
ศาลชันต้
้ นและศาลอุทธรณ์ได้ พิจารณาและพิพากษาลงโทษ
จาเลยมาโดยมิได้ ปฏิบตั ิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๑๔ เสียก่อน จึงเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณา
ที่ไม่ชอบด้ วยกฎหมาย ศาลฎีกามีอานาจตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๒๐๘(๒), ๒๒๕ ในอันที่จะสัง่ ให้
ศาลชันต้
้ นดาเนินกระบวนการพิจารณาใหม่ให้ ถกู ต้ องและ
เหมาะสมต่อไป
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๔๗๐/๒๕๔๔ การใช้ สายลับช่วยล่อซื ้อเมท
แอมเฟตามีนเป็ นเพียงการกระทาเท่าที่จาเป็ นและเป็ นการสมควร
ในการแสวงหาพยานหลักฐานในการกระทาความผิดของจาเลย
ตามอานาจใน ปวิอ. มาตรา ๒ (๑๐) ชอบที่เจ้ าพนักงานตารวจจะ
กระทาได้ เพื่อให้ ได้ โอกาสจับกุมจาเลยพร้ อมด้ วยพยานหลักฐาน
ดังนี ้ การใช้ สายลับไปล่อซื ้อเมทแอมเฟตามีนจากจาเลยจึงเป็ น
เพียงการพิสจู น์ความผิดของจาเลย ไม่เป็ นการแสวงหา
พยานหลักฐานโดยไม่ชอบ จึงมิใช่เป็ นการใช้ ให้ ไปกระทาความผิด
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๑๔๒/๒๕๔๘ ตาม ปวิอ. มาตรา ๑๘ วรรคหนึง่ พนักงานสอบสวนมี
อานาจสอบสวนความผิดอาญาซึง่ ได้ เกิดในเขตอานาจของตน หรื อผู้ต้องหามีที่อยู่หรื อถูกจับ
ภายในเขตอานาจของตน นอกจากสามกรณีดงั กล่าวแล้ วพนักงานสอบสวนจะมีอานาจสอบสวน
ต่อเมื่อมีการอ้ างหรื อเชื่อว่าความผิดนันได้
้ เกิดภายในเขตอานาจของพนักงานสอบสวนนัน้
กล่าวคือพนักงานสอบสวนเข้ าใจหรื อมีความเชื่อเกี่ยวกับที่เกิดเหตุวา่ ความผิดได้ เกิดภายในเขต
อานาจของตน ซึง่ ผิดพลาดคลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริง แต่ได้ เกิดในสถานที่อื่นนอกเขต
อานาจของพนักงานสอบสวนนัน้
เจ้ าพนักงานตารวจประจาสถานีตารวจภูธรอาเภอไทยเจริญผู้จบั กุมพบว่าความผิด
เกิดขึ ้นในที่เกิดเหตุและจับกุมจาเลยในที่เกิดเหตุซงึ่ เป็ นเขตอาเภอเลิงนกทา จึงเป็ นกรณีที่เจ้ า
พนักงานตารวจผู้จบั กุมและพนักงานสอบสวนทราบข้ อเท็จจริงเกี่ยวกับที่เกิดเหตุโดยชัดแจ้ งแล้ ว
ไม่มีข้ออ้ าง ข้ อสงสัย หรื อความเชื่อเกี่ยวกับที่เกิดเหตุที่คลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริงแต่ประการ
ใด จึงไม่ใช่กรณีที่พนักงานสอบสวนอ้ างหรื อเชื่อว่าความผิดเกิดในเขตอานาจของตน ซึง่ จะทาให้
พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรอาเภอไทยเจริญมีอานาจสอบสวนได้ ตาม ปวิอ. มาตรา ๑๘
วรรคหนึง่ เมื่อจาเลยไม่ใช่ผ้ ทู ี่มีที่อยูห่ รื อถูกจับในเขตอาเภอไทยเจริญซึง่ เป็ นเขตอานาจสอบสวน
ของพนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรอาเภอไทยเจริญ พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธร
อาเภอไทยเจริญจึงไม่มีอานาจสอบสวนและมีผลห้ ามโจทก์ฟ้องคดีตาม ปวิอ. มาตรา ๑๒๐
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๒๓๙/๒๕๔๗ เหตุคดีนี ้เกิดขึ ้นในซอย
บ่อนไก่ ถนนพิบลู สงคราม ตาบลสวนใหญ่ อาเภอเมืองนนทบุรี
จังหวัดนนทบุรี เพียงท้ องที่เดียว สถานที่ที่จาเลยถูกจับกุม
ภายหลังการกระทาความผิดซึง่ อยูใ่ นเขตท้ องที่สถานีตารวจ
นครบาลเตาปูน หาใช่ท้องที่ที่เกิดการกระทาความผิดด้ วยไม่
เมื่อที่เกิดเหตุอยูใ่ นเขตสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองนนทบุรี
พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรนนทบุรีจงึ มีหน้ าที่เป็ น
ผู้รับผิดชอบในการสอบสวนความผิดนี ้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๘
วรรคสาม
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๗๕๖/๒๕๕๐ โจทก์ฟ้องว่าจาเลยทังสองร่
้
วมกันมีเมทแอมเฟตามีนไว้
ในครอบครองเพื่อจาหน่าย และจาหน่ายเมทแอมเฟตามีนดังกล่าวแก่ผ้ มู ีชื่อหลายคน เจ้ า
พนักงานตารวจจับจาเลยทังสองพร้
้
อมยึดเมทแอมเฟตามีน และจับ ศ. อ. ณ. น. ภ. จ. และ
ห. พร้ อมยึดเมทแอมเฟตามีนทีบ่ คุ คลทังเจ็
้ ดซื ้อจากจาเลยทังสองได้
้
ที่บ้านจาเลยที่ ๒ ซึง่ อยู่
ในท้ องที่สถานีตารวจนครบาลแสมดา การมีเมทแอมเฟตามีนไว้ ในครอบครองเพื่อจาหน่าย
และการจาหน่ายเมทแอมเฟตามีนจึงเกิดในท้ องที่สถานตารวจนครบาลแสมดาทังสิ
้ ้น และ
โจทก์มิได้ ฟ้องว่าจาเลยที่ ๑ ร่วมกระทาความผิดกับ ส. และ ร. ดังนันแม้
้ ส. และ ร. ถูกจับใน
ท้ องที่สถานีตารวจนครบาลบางบอนการกระทาของจาเลยที่ ๑ ก็หาใช่ความผิดต่อเนื่อง
กระทาต่อเนื่องในท้ องที่ตา่ งๆเกินกว่าท้ องที่หนึง่ ขึ ้นไปตาม ปวิอ. มาตรา ๑๙ (๓) ไม่ แต่การ
กระทาของจาเลยที่ ๑ ปรากฏชัดแจ้ งว่า เกิดในท้ องที่สถานีตารวจนครบาลแสมดา ซึง่ อยูใ่ น
เขตอานาจของพนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลแสมดาตาม ปวิอ. มาตรา ๑๘ วรรค
สอง ประกอบมาตรา ๒ (๖) ที่จะเป็ นผู้สอบสวน มิใช่อยูใ่ นเขตอานาจของพนักงานสอบสวน
สถานีตารวจนครบาลบางบอนที่สอบสวน โจทก์จงึ ไม่มีอานาจฟ้อง ตามปวิอ. มาตรา ๑๒๐
เมื่อการสอบสวนไม่ชอบด้ วยกฎหมายเป็ นเหตุที่อยูใ่ นส่วนลักษณะคดี ศาลฎีกาพิพากษา
ตลอดไปถึงจาเลยที่ ๒ ที่ถอนฎีกาไปแล้ วได้ ตาม ปวิอ. มาตรา ๒๑๓ ประกอบ ๒๒๕
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๗๑/๒๕๓๑ การสอบสวนที่บญ
ั ญัติไว้ ใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๑๒๐ ต้ องสอบสวนโดยพนักงานสอบสวนที่ระบุไว้ ในประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๒ (๖) ประกอบด้ วยมาตรา ๑๘ เมื่อเหตุเกิดขึ ้นในเขตท้ องที่สถานี
ตารวจภูธรสาโรงใต้ ม.เจ้ าหน้ าที่ตารวจสถานีตารวจนครบาลบางซื่อย่อมไม่มีอานาจสอบสวน
เมื่อไม่มีเหตุอื่นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๘ วรรคสอง ที่จะทาให้
ม.มีอานาจสอบสวนได้ ทังถื
้ อไม่ได้ วา่ เป็ นการทาแทนพนักงานสอบสวนผู้มีอานาจตามที่
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๒๘ บัญญัติไว้ การสอบสวนพยานผู้
กล่าวหาของ ม. จึงเป็ นการสอบสวนที่ไม่ชอบด้ วยกฎหมาย แม้ จ.พนักงานสอบสวนสถานี
ตารวจภูธรสาโรงใต้ จะสอบสวนจาเลย ทาแผนที่เกิดเหตุ ตรวจสถานที่เกิดเหตุ และทาบันทึกการ
นาชี ้ที่เกิดเหตุประกอบคารับสารภาพของจาเลย ก็ไม่ทาให้ การสอบสวนคดีนี ้ชอบด้ วยกฎหมาย
เพราะไม่ปรากฏว่า จ. เห็นว่าการสอบสวนเฉพาะส่วนของตนเสร็จแล้ ว ตามที่บญ
ั ญัติไว้ ใน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๔๐ การสอบสวนของ จ. จึงเป็ นการ
สอบสวนเพียงบางส่วนของคดี เมื่อการสอบสวนทังคดี
้ รวมการสอบสวนที่ไม่ชอบด้ วยกฎหมายไว้
ด้ วย การสอบสวนคดีนี ้จึงไม่ชอบด้ วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๘ และ
ไม่เป็ นการสอบสวนตามที่ระบุไว้ ใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๒๐
โจทก์จงึ ไม่มีอานาจฟ้อง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๖๗๐/๒๕๓๕ เหตุเกิดขึ ้น
ในเรื อไทย เป็ นการกระทาความผิดใน
ราชอาณาจักรพนักงานสอบสวน กอง
ปราบปราม กรมตารวจ มีอานาจสอบสวน
คดีอาญาได้ ทวั่ ราชอาณาจักร จึงมีอานาจ
สอบสวน
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๔๖๖/๒๕๔๗ คดีนี ้ข้ อเท็จจริ งยังไม่ชดั แจ้ งว่าเหตุ
เกิดในท้ องที่ใดแน่ระหว่างอาเภอบัวใหญ่กบั อาเภอแก้ งสนามนาง แต่
จาเลยถูกจับกุมที่อาเภอแก้ งสนามนางโดยมีเจ้ าพนักงานตารวจสถานี
ตารวจภูธรอาเภอบัวใหญ่หลายคนเป็ นผู้ร่วมจับกุม ดังนัน้ พนักงาน
สอบสวนผู้รับผิดชอบในคดีนี ้คือพนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธร
อาเภอแก้ งสนามนาง มิใช่พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรอาเภอบัว
ใหญ่ เมื่อพันตารวจตรี ว. สารวัตรสืบสวนสอบสวนสถานีตารวจภูธร
อาเภอบัวใหญ่ ซึง่ มิใช่พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบเป็ นผู้สรุปสานวน
และทาความเห็นว่าควรสัง่ ฟ้องหรื อสัง่ ไม่ฟ้องจาเลยคดีนี ้แล้ วส่งไปพร้ อม
สานวน เพื่อให้ พนักงานอัยการพิจารณาตามที่บญ
ั ญัติไว้ ใน ป.วิ.อ.
มาตรา ๑๔๐ และ ๑๔๑ ก็ถือไม่ได้ วา่ มีการสอบสวนในความผิดนันโดย
้
ชอบตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๒๐ โจทก์จงึ ไม่มีอานาจฟ้อง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๒๐๑/๒๕๕๕ แม้ จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ ถูกจับกุมในท้ องที่
สถานีตารวจภูธรพระประแดง แต่ก่อนหน้ านันจ
้ าเลยที่ ๑ ถูกจับกุมพร้ อมด้ วย
เมทแอมเฟตามีนของกลางจานวนหนึง่ ในท้ องที่สถานีตารวจภูธรพระสมุทรเจดีย์
ซึง่ จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ อยูบ่ ริเวณที่เกิดเหตุในท้ องที่ดงั กล่าวและมีพฤติการณ์
ร่วมกระทาความผิดกับจาเลยที่ ๑ ด้ วย แต่จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ ขับรถที่มีเมท
แอมเฟตามีนของกลางอีกจานวนหนึง่ หลบหนีไปและถูกจับกุมในท้ องที่สถานี
ตารวจภูธรพระประแดง ย่อมถือว่าเป็ นความผิดต่อเนื่องและกระทาต่อเนื่องใน
ท้ องที่ทงสองแห่
ั้
ง พนักงานสอบสวนท้ องที่ใดท้ องที่หนึง่ ในสองแห่งนันย่
้ อมมี
อานาจสอบสวนได้ และเมื่อจาเลยที่ ๒ และที่ ๓ เป็ นคูค่ ดีกบั จาเลยที่ ๑ ซึง่
เป็ นตัวการและถูกจับกุมได้ ก่อนแล้ ว พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรพระ
สมุทรเจดีย์ยอ่ มเป็ นผู้รับผิดชอบในการสอบสวนตาม ปวิอ มาตรา ๑๙ และ
พนักงานอัยการย่อมมีอานาจฟ้องตาม ปวิอ มาตรา ๑๒๐
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๗๙๐/๒๕๔๑ รถจักรยานยนต์ของผู้เสียหายถูกลักไปใน
ท้ องที่สถานีตารวจนครบาลบางขุนเทียน ต่อมาเจ้ าพนักงานตารวจยึดรถยนต์
ดังกล่าวได้ จากร้ านของจาเลยซึง่ อยูใ่ นเขตท้ องที่สถานีตารวจภูธรอาเภอเมือง
สมุทรสาคร (แสดงว่าบางขุนเทียนได้ พบการกระทาความผิดก่อน จึงได้ สืบสวนและ
ติดตามไปยึดของกลาง) ดังนี ้แม้ ความผิดฐานลักทรัพย์กบั ฐานรับของโจรเกิดขึ ้นต่าง
ท้ องที่กนั ก็ตาม แต่เป็ นความผิดต่อเนื่องกัน พนักงานสอบสวนในท้ องที่หนึง่ ท้ องที่
ใดที่เกี่ยวข้ องมีอานาจสอบสวนได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๑๙ (๓) พนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลบางขุนเทียนซึง่ เป็ น
พนักงานสอบสวนคดีนี ้ จึงมีอานาจสอบสวนความผิดอาญาที่เกิดขึ ้นกับทรัพย์ของ
ผู้เสียหายได้ ไม่วา่ เป็ นความผิดฐานลักทรัพย์หรื อรับของโจร และแม้ ว่าจะยึด
รถจักรยานยนต์ของผู้เสียหายและจับจาเลยได้ พร้ อมกันที่บ้านของจาเลยซึง่ อยูใ่ น
เขตอานาจของพนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรสาครก็ตาม ก็
ไม่ทาให้ อานาจสอบสวนของพนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลบางขุนเทียน
หมดสิ ้นไป จึงถือว่ามีการสอบสวนในความผิดฐานรับของโจรโดยชอบแล้ ว
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๙๗๔/๒๕๓๙ ความผิดฐานพาหญิงไปเพื่อการอนาจารโดยใช้ อบุ าย
หลอกลวงเป็ นความผิดต่อเนื่องและกระทาต่อเนื่องกันในท้ องที่ตา่ ง ๆ เกินกว่าท้ องที่หนึง่ ขึ ้นไป
และความผิดดังกล่าวกับความผิดฐานหน่วงเหนี่ยวกักขังผู้อื่นและข่มขืนกระทาชาเราเป็ น
ความผิดหลายกรรมกระทาลงในท้ องที่ตา่ งๆ กัน รวมทังท้
้ องที่สถานีตารวจนครบาลบางยี่ขนั
และสถานีตารวจภูธรอาเภอท่ามะกา พนักงานสอบสวนท้ องที่หนึง่ ท้ องที่ใดที่เกี่ยวข้ องมี
อานาจสอบสวนได้ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙ วรรคหนึง่
(๓),(๔) และวรรคสอง พนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลบางยี่ขนั ซึง่ เป็ นพนักงาน
สอบสวนท้ องที่ที่เกี่ยวข้ องจึงมีอานาจสอบสวน แต่จาเลยทังสองถู
้
กจับที่อาเภอท่ามะกา
พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในกรณีจบั ผู้ต้องหาได้ แล้ วคือพนักงานสอบสวนสถานี
ตารวจภูธรอาเภอท่ามะกา ซึง่ เป็ นท้ องที่ที่จบั ได้ อยูใ่ นเขตอานาจตาม ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙ วรรคสาม (ก) พนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาล
บางยี่ขนั คงเป็ นพนักงานสอบสวนผู้มีอานาจเท่านัน้ ทังไม่
้ เข้ ากรณีที่จับผู้ต้องหายังไม่ได้ อนั จะ
ถือว่าพนักงานสอบสวนท้ องที่ที่พบการกระทาผิดก่อนอยูใ่ นเขตอานาจเป็ นพนักงานสอบสวน
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๗๙/๒๕๔๖ รถยนต์หายไปจากท้ องที่
สถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรสาคร ต่อมาเจ้ าพนักงาน
ตารวจจับจาเลยกับพวกได้ พร้ อมรถยนต์ที่หายไปในท้ องที่สถานี
ตารวจภูธรอาเภอลาดบัวหลวงในข้ อหาซ่องโจร ความผิดฐานลัก
ทรัพย์หรื อรับของโจรรถยนต์จงึ เป็ นความผิดต่อเนื่องซึง่ กระทา
ต่อเนื่องกันในท้ องที่ตา่ งๆเกินกว่าท้ องที่หนึง่ ขึ ้นไปตาม ป.วิ.อ.
มาตรา ๑๙ วรรคหนึ่ง (๓) พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธร
อาเภอเมืองสมุทรสาครจึงมีอานาจสอบสวนในความผิดฐานลัก
ทรัพย์หรื อรับของโจรได้ เพราะเป็ นสถานีตารวจในท้ องที่ที่
เกี่ยวข้ องกับความผิดดังกล่าว (มีตอ่ )
(๑๕๗๙/๒๕๔๖ ต่อ)เจ้ าพนักงานตารวจจับกุมจาเลยกับพวกได้ พร้ อม
รถยนต์ในท้ องที่สถานีตารวจภูธรอาเภอลาดบัวหลวงในข้ อหาซ่องโจรซึง่
เป็ นความผิดคนละข้ อหากับความผิดที่พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธร
อาเภอเมืองสมุทรสาครทาการสอบสวน และเจ้ าพนักงานตารวจสถานี
ตารวจภูธรอาเภอลาดบัวหลวงคงควบคุมตัวจาเลยกับพวกในข้ อหาซ่องโจร
เท่านัน้ เมื่อเจ้ าพนักงานตารวจสถานีตารวจภูธรอาเภอลาดบัวหลวงไม่ได้
จับกุมและกล่าวหาว่าจาเลยทังสี
้ ่กบั พวกกระทาความผิดลักทรัพย์หรื อรับ
ของโจรรถยนต์ที่หายไป จึงถือไม่ได้ วา่ เจ้ าพนักงานตารวจสถานีตารวจภูธร
อาเภอลาดบัวหลวงจับกุมจาเลยกับพวกในความผิดฐานลักทรัพย์หรื อรับ
ของโจรได้ แล้ วตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๙ วรรคสอง (ก) ดังนัน้ พนักงาน
สอบสวนสถานีตารวจภูธรอาเภอลาดบัวหลวง จึงไม่ใช่พนักงานสอบสวน
ผู้รับผิดชอบในข้ อหาลักทรัพย์หรื อรับของโจร
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๘๘๐/๒๕๔๘ พ. ซึง่ เป็ นอาและทาหน้ าที่ผ้ ปู กครองดูแล
ผู้เสียหายไปแจ้ งความร้ องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลบางเขน
แต่พนักงานสอบสวนไม่รับแจ้ งความร้ องทุกข์ เนื่องจาก พ. และผู้เสียหายพักอยูท่ ี่
บ้ านในเขตท้ องที่สถานีตารวจภูธรตาบลคูคต จึงเท่ากับไม่มีการแจ้ งความร้ องทุกข์
ต่อพนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลบางเขน พ. จึงไปแจ้ งความร้ องทุกข์ตอ่
พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรตาบลคูคตว่า ผู้เสียหายถูกจาเลยพรากตัวไป
ต่อมาจาเลยถูกเจ้ าพนักงานตารวจจับกุมได้ ที่อาเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ ดังนัน้
พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรตาบลคูคตจึงเป็ นพนักงานสอบสวนซึง่ ท้ องที่ที่
พบการกระทาความผิดก่อน จึงเป็ นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบตาม มาตรา
๑๙ วรรคสาม (ข) มีอานาจสรุปสานวนทาความเห็นควรสัง่ ฟ้องหรื อสัง่ ไม่ฟ้อง
ส่งไปพร้ อมกับสานวนเพื่อให้ พนักงานอัยการพิจารณาตาม มาตรา ๑๔๐ และ
๑๔๑ ได้ การสอบสวนคดีนี ้จึงชอบด้ วยกฎหมาย เมื่อพนักงานอัยการเห็นควรสัง่
ฟ้องจาเลย คาฟ้องของโจทก์จงึ ชอบด้ วยกฎหมาย ศาลมีอานาจพิจารณา
พิพากษาคดีได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๙๕๒/๒๕๕๑ เมื่อจาเลยมียาเสพติดให้ โทษของกลางตังแต่
้ ออก
เดินทางจากซอยข้ างวัดยานนาวา ซึง่ อยูใ่ นเขตอานาจสอบสวนของสถานีตารวจนครบาลยาน
นาวา แล้ วครอบครองยาเสพติดให้ โทษดังกล่าวตลอดมาจนกระทัง่ ถูกจับกุมได้ ในเขตพื ้นที่
รับผิดชอบสอบสวนของสถานีตารวจนครบาลวัดพระยาไกร ดังนัน้ หากแม้ สถานที่เกิดเหตุมิได้
อยูใ่ นเขตอานาจสอบสวนของสถานีตารวจนครบาลยานนาวา พนักงานสอบสวนสถานีตารวจ
นครบาลยานนาวาก็มีอานาจสอบสวนได้ เพราะกรณีเป็ นความผิดต่อเนื่องกันในท้ องที่ตา่ งกัน
พนักงานสอบสวนในทุกท้ องที่ที่ความผิดได้ เกิดขึ ้นมีอานาจสอบสวนได้ ส่วน ปวิอ. มาตรา ๑๙
วรรคสาม (ก) ที่บญ
ั ญัติวา่ ถ้ าจับผู้ต้องหาได้ แล้ ว พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในการ
สอบสวนคือ พนักงานสอบสวนซึง่ ท้ องที่ที่จบั ได้ อยูใ่ นเขตอานาจ เป็ นการกาหนดให้ ต้องมี
พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบทาคดีหากมีปัญหากันในระหว่างพนักงานสอบสวนหลายท้ องที่
ที่มีอานาจสอบสวนเท่านัน้ มิได้ หมายความว่าพนักงานสอบสวนที่เคยมีอานาจสอบสวนอยู่
แล้ วต้ องหมดอานาจไปเพราะบทบัญญัติของมาตรานี ้ ดงั นัน้ พนักงานสอบสวนสถานีตารวจ
นครบาลยานนาวาย่อมมีอานาจสอบสวนคดี
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๓๓๗/ ๒๕๕๔ เจ้ าพนักงานตารวจสถานีตารวจ
นครบาลบางเขนจับกุม ว. ได้ พร้ อมเมทแอมเฟตามีนจานวนหนึง่ เป็ น
ของกลาง จึงได้ วางแผนให้ ว. โทรศัพท์สงั่ ซื ้อเมทแอมเฟตามีนของกลาง
จากจาเลยและ ป. อีก จนจับกุมจาเลยและ ป. ได้ ในท้ องที่สถานีตารวจ
นครบาลบางซื่อ กรณีจงึ เป็ นความผิดต่อเนื่องและกระทาต่อเนื่อง
เกี่ยวพันกันทังในท้
้ องที่สถานีตารวจนครบาลบางเขน ซึง่ เป็ นท้ องที่ที่ ว.
โทรศัพท์ลอ่ ซื ้อ และท้ องที่สถานีตารวจนครบาลบางซื่อซึง่ เป็ นท้ องที่ที่
จับกุมจาเลยและ ป. พนักงานสอบสวนท้ องที่หนึง่ ท้ องที่ใดที่เกี่ยวข้ องจึง
มีอานาจสอบสวน ดังนัน้ พนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาล
บางเขนจึงมีอานาจสอบสวนได้ โดยชอบ ตาม ปวิอ มาตรา ๑๙ วรรค
หนึง่ (๓) การสอบสวนจึงเป็ นไปโดยชอบ โจทก์จงึ มีอานาจฟ้องตาม
ปวิอ มาตรา ๑๒๐
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๔๔๕/๒๕๕๕ การที่จาเลยซึง่ เป็ นพนักงาน รับเงินค่าสินค้ าจากลูกค้ า
ของโจทก์ร่วมที่จงั หวัดต่างๆแล้ วไม่โอนเงินค่าสินค้ าให้ แก่โจทก์ร่วมกับไม่มาชาระบัญชีกบั
โจทก์ร่วม ความผิดฐานยักยอกจึงอาจเกิด อ้ างหรื อเชื่อว่าได้ เกิดขึ ้นตังแต่
้ จาเลยรับเงินจาก
ลูกค้ าของโจทก์ร่วมแต่ละจังหวัดจนถึงสานักงานของโจทก์ร่วมซึง่ เป็ นสถานที่ที่จาเลยต้ องมา
ชาระบัญชีกบั โจทก์ร่วม กรณีเป็ นเรื่ องที่จาแลยกระทาความผิดต่อเนื่องกันในท้ องที่ตา่ งๆเกิน
กว่าท้ องที่หนึง่ ขึ ้นไป และเป็ นความผิดซึง่ มีหลายกรรรมกระทาลงในท้ องที่ตา่ งๆกันตาม
ปวิอ. มาตรา ๑๙ (๓) และ (๔) พนักงานสอบสวนท้ องที่หนึง่ ท้ องที่ใดที่เกี่ยวข้ องมีอานาจ
สอบสวนได้
หนังสือรับสารภาพเป็ นเพียงเอกสารที่จาเลยรับว่าไม่ได้ นาเงินจานวน
๓,๒๗๖,๘๐๘ บาท ส่งคืนโจทก์ร่วม ยอมรับว่าได้ กระทาผิดจริง และยอมชดใช้ เงินจานวน
ดังกล่าวคืนให้ โจทก์ร่วม โดยยินยอมให้ ยดึ ถือที่ดินและรถยนต์ไว้ ก่อน ไม่มีข้อความตอนใด
เลยที่แสดงว่าโจทก์ร่วมตกลงไม่ติดใจเอาความในทางอาญาแก่จาเลย จึงไม่เป็ นการยอม
ความทางอาญาโดยถูกต้ องตามกฎหมาย สิทธินาคดีอาญามาฟ้องจึงไม่ระงับตาม ปวิอ.
มาตรา ๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๘๖/๒๕๒๖ จาเลยกับพวกบังคับ
หน่วงเหนี่ยวกักขังผู้เสียหายชาวมาเลเซียเพื่อเรี ยกค่าไถ่
และบังคับให้ ผ้ เู สียหายขับรถไปส่งยังชายแดนประเทศไทย
ซึง่ น่าจะได้ ควบคุมเข้ าไปในเขตไทยด้ วยเพราะภูมิลาเนา
ของจาเลยกับพวกอยู่ในราชอาณาจักร จึงเป็ นความผิด
ต่อเนื่องทังในและนอกราชอาณาจั
้
กร พนักงานสอบสวนกิ่ง
อาเภอควนโดน จังหวัดสตูล ซึง่ จับจาเลย จึงมีอานาจ
สอบสวนดาเนินคดีกบั จาเลยได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๗๐๒-๑๗๐๓/๒๕๒๓(ประชุมใหญ่ ) จาเลยได้ ออกเช็คของธนาคารกรุง
ศรี อยุธยา จากัด สาขา ดินแดง ซึง่ ตังอยู
้ ใ่ นท้ องที่เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ให้ แก่โจทก์ร่วม
เมื่อเช็คถึงกาหนดโจทก์ร่วมนาเช็คนันไปเข้
้
าบัญชีที่ธนาคารกรุงเทพ จากัด สาขาบางนา เพื่อ
เรี ยกเก็บเงินตามเช็ค ธนาคารกรุงศรี อยุธยา จากัด สาขาดินแดงปฏิเสธไม่จ่ายเงินตามเช็คนัน้
โจทก์ร่วมได้ ร้องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรอาเภอพระประแดง จังหวัด
สมุทรปราการให้ ดาเนินคดีกบั จาเลย โดยอ้ างว่าจาเลยออกเช็คให้ โจทก์ร่วมที่ตาบลสาโรงใต้
อาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ดังนี ้แม้ ความผิดมิได้ เกิดในท้ องที่ อาเภอพระประแดง
จังหวัดสมุทรปราการ เพราะธนาคารที่ปฏิเสธการจ่ายเงินไม่ได้ ตงอยู
ั ้ ใ่ นอาเภอนัน้ ก็ตาม แต่
โจทก์และโจทก์ร่วมก็อ้างว่าจาเลยทาผิดในเขตอาเภอพระประแดง โดยออกเช็คในท้ องที่นนั ้ ถ้ า
เป็ นความจริงก็ถือได้ วา่ ความผิดอาญาได้ กระทาลงในท้ องที่อาเภอพระประแดงต่อเนื่องกับการ
กระทาผิดในท้ องที่ที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรอาเภอพระ
ประแดงย่อมมีอานาจสอบสวนตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙(๓)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๕๐/๒๕๒๘ แม้ เช็คที่สงั่ จ่ายแก่ผ้ ถู ืออาจ
โอนเปลี่ยนมือกันได้ การโอนเปลี่ยนมือกันระหว่างผู้ทรงคนแรก
กับผู้เสียหายซึง่ เป็ นผู้ทรงคนถัดไปไม่ใช่การกระทาของจาเลย ถือ
ไม่ได้ วา่ เป็ นความผิดต่อเนื่องกับการกระทาผิดในท้ องที่ที่ธนาคาร
ปฏิเสธการจ่ายเงิน พนักงานสอบสวนแห่งท้ องที่ๆผู้เสียหายรับ
โอนเช็คจึงไม่มีอานาจสอบสวนแม้ ผ้ เู สียหายจะได้ ร้องทุกข์แล้ ว
การสอบสวนจึงไม่ชอบพนักงานอัยการไม่มีอานาจฟ้อง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๙๖/๒๕๑๗ ความผิดตาม
พระราชบัญญัติวา่ ด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็คเกิดขึ ้น
เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค ฉะนันสถานที
้
่ตงของ
ั้
ธนาคารที่ปฏิเสธการจ่ายเงินตังอยู
้ จ่ งึ เป็ นสถานที่ความผิด
เกิดขึ ้น ส่วนธนาคารที่ผ้ ทู รงตามเช็คนาเข้ าบัญชีเพื่อเรี ยกเก็บ
เงินนันเป็
้ นแต่เพียงตัวแทนเรี ยกเก็บเงินตามเช็คเท่านัน้ ที่ตงของ
ั้
ธนาคารซึง่ เรี ยกเก็บเงิน จึงมิใช่สถานที่เกิดเหตุ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๒๒๙/๒๕๑๙ (ประชุมใหญ่ ) ความผิดตามพระราชบัญญัติ
ว่าด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็คนันเกิ
้ ดเมื่อธนาคารได้ ปฏิเสธการจ่ายเงินตาม
เช็ค สถานที่ตงของธนาคารที
ั้
่ปฏิเสธการจ่ายเงินจึงเป็ นสถานที่ที่ความผิดเกิดขึ ้น
จาเลยสัง่ จ่ายเช็คธนาคาร ท. สาขากาญจนบุรี ให้ โจทก์ที่กรุงเทพมหานคร โจทก์นา
เช็คเข้ าบัญชีโจทก์ที่ธนาคาร ท. สานักงานใหญ่ที่กรุงเทพมหานครเพื่อเรี ยกเก็บเงิน
ธนาคาร ท. สาขากาญจนบุรีปฏิเสธการจ่ายเงิน ดังนี ้ต้ องถือว่าเหตุเกิดในท้ องที่
จังหวัดกาญจนบุรี หาใช่ความผิดเกิด ณ สถานที่ที่เขียนเช็คและสถานที่ตงธนาคาร
ั้
ที่โจทก์นาเช็คเข้ าบัญชีและสถานที่ตงธนาคารที
ั้
่ปฏิเสธการจ่ายเงินเกี่ยวเนื่องกัน
หลายท้ องที่ไม่ แม้ ธนาคาร ท.สานักงานใหญ่และสาขากาญจนบุรีเป็ นของเจ้ าของ
เดียวกัน ธนาคาร ท. สานักงานใหญ่ ก็หาได้ เป็ นผู้จ่ายเงินตามเช็คให้ โจทก์ไม่
เพียงแต่เป็ นตัวแทนโจทก์เรี ยกเก็บเงินตามเช็คให้ เท่านัน้ จึงถือไม่ได้ วา่ ความผิด
เกิดขึ ้นที่กรุงเทพมหานครด้ วย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๑๕๔/๒๕๑๘ เหตุที่
หนังสือพิมพ์หมิ่นประมาท ถือว่าเกิดขึ ้นในที่ที่
ข้ อความหมิ่นประมาทปรากฏขึ ้นด้ วย โจทก์ฟ้องต่อ
ศาลแขวงท้ องที่ที่หนังสือพิมพ์มีจาหน่ายได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๔๗๙/๒๕๓๒ คาว่า จาเลยมีที่อยู่ ในประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๒(๑) หมายถึงถิ่นที่อยูท่ ี่
แท้ จริ งของจาเลยในขณะที่จาเลยตกเป็ นผู้ต้องหาตามที่พนักงานสอบสวน
ได้ สอบสวนไว้ ซึง่ อาจจะเป็ นภูมิลาเนาหรื อมิใช่ภมู ิลาเนาของจาเลยก็ได้
ทังนี
้ ้เพื่อให้ โอกาสแก่จาเลยที่จะได้ รับความสะดวกในการต่อสู้คดีได้ เต็มที่
เรื อนจาจังหวัดปราจีนบุรีตามที่โจทก์ระบุมาในฟ้อง มิใช่ที่อยูท่ ี่
แท้ จริ งของจาเลยทังสอง
้ โดยเป็ นเพียงสถานที่ๆจาเลยที่ ๑ ถูกคุมขังไว้
หลังจากศาลมีคาพิพากษาในคดีอื่นแล้ ว และจาเลยที่ ๒ ถูกคุมขังตาม
คาสัง่ ของกรมราชทัณฑ์เท่านัน้ จึงถือไม่ได้ วา่ เป็ นที่อยู่ของจาเลยทังสอง
้
ตามความหมายของ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา
๒๒(๑)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๔๖๗/๒๕๔๐(ประชุมใหญ่ ) ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๒๒ วรรคหนึง่ คาว่า จาเลยถูกจับในท้ องที่หนึง่ หมายถึง เจ้ าพนักงานจับจาเลย
ตามข้ อหาที่ถกู กล่าวหาในคดีที่จะนามาฟ้องเท่านัน้ แต่ตามบันทึกการจับกุมจาเลยกับคาร้ องขอ
อนุญาตฟ้องคดีของโจทก์ปรากฏว่า จาเลยถูกจับในความผิดฐานพยายามฆ่าและต่อสู้ขดั ขวาง
เจ้ าพนักงานซึง่ กระทาการตามหน้ าที่และความผิดฐานอื่นๆ ในเขตศาลจังหวัดกบินทร์ บรุ ี ซงึ่ มิใช่
ความผิดที่ถกู กล่าวหาในคดีนี ้นัน้ แต่เจ้ าพนักงานตารวจได้ อายัดตัวจาเลยมาสอบสวนในคดีนี ้
และโจทก์ยื่นคาร้ องขออนุญาตฟ้องคดีนี ้ต่อศาลจังหวัดกบินทร์ บรุ ี ดังนี ้ กรณีถือไม่ได้ วา่ คดีนี ้
จาเลยถูกจับในท้ องที่ซงึ่ อยูใ่ นเขตอานาจศาลจังหวัดกบินทร์ บรุ ี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา ๔๗ ภูมิลาเนาของผู้ที่ถกู จาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สดุ ของศาลหรื อตามคาสัง่
โดยชอบด้ วยกฎหมาย ได้ แก่ เรื อนจา หรื อทัณฑสถานที่ถกู จาคุกอยู่จนกว่าจะได้ รับการปล่อย
ตัว บทบัญญัติดงั กล่าวได้ แยกผู้ที่ถกู จาคุกเป็ น ๒ กรณีตา่ งหากจากกัน กล่าวคือ ถูกจาคุกตาม
คาพิพากษาถึงที่สดุ ของศาลเป็ นกรณีหนึง่ และถูกจาคุกตามคาสัง่ โดยชอบด้ วยกฎหมายเป็ นอีก
กรณีหนึง่ หาใช่กรณีเดียวกันไม่ เมื่อปรากฏว่าในขณะที่โจทก์ยื่นคาร้ องขออนุญาตฟ้องคดีนี ้ต่อ
ศาลจังหวัดกบินทร์ บรุ ี ซงึ่ เป็ นศาลชันต้
้ น จาเลยถูกจาคุกอยูต่ ามคาพิพากษาซึง่ ยังไม่ ถงึ ที่สุดอยู่
ที่เรื อนจาอาเภอกบินทร์ บรุ ี ดังนี ้ จะถือว่าจาเลยมีภมู ิลาเนาอยูท่ ี่เรื อนจาอาเภอกบินทร์ บรุ ี ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๗ ไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๕๙๙/๒๕๔๐ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๒๒(๑) มิได้ บญ
ั ญัติบงั คับให้ ศาลชันต้
้ นซึง่ เป็ นศาลท้ องที่ๆจาเลยมีที่อยูใ่ น
เขตอานาจต้ องรับชาระคดีที่โจทก์ฟ้องจาเลย กฎหมายดังกล่าวเพียงแต่บญ
ั ญัติให้
เป็ นดุลพินิจของศาลชันต้
้ นที่จะรับชาระคดีหรื อไม่ก็ได้
แม้ เรื อนจากลางจังหวัดลาปางจะเป็ นภูมิลาเนาของจาเลยในขณะที่โจทก์
ฟ้องคดีนี ้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๗ เพราะจาเลยถูก
จาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สดุ ของศาลชันต้
้ นแล้ วก็ตาม เมื่อความผิดนี ้เกิดขึ ้นใน
เขตอานาจของศาลจังหวัดเชียงใหม่และอยูใ่ นวิสยั ที่โจทก์จะฟ้องจาเลยต่อศาล
จังหวัดเชียงใหม่ได้ ทังไม่
้ ปรากฏข้ อเท็จจริงว่า หากมีการชาระคดีที่ศาลจังหวัด
ลาปางจะมีความสะดวกมากกว่าการชาระคดีที่ศาลจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งเป็ นศาล
ท้ องที่ความผิดเกิดขึ ้นอย่างไรจึงไม่สมควรให้ ศาลจังหวัดลาปางรับชาระคดีที่โจทก์
ฟ้องจาเลยเป็ นคดีนี ้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๔๓๘/๒๕๕๐ คดีนี ้เหตุเกิดในท้ องที่แขวง
บางหว้ า เขตภาษีเจริ ญ กรุงเทพมหานคร แต่ตามบันทึกการฟ้อง
คดีด้วยวาจาของโจทก์ระบุวา่ คดีนี ้พนักงานสอบสวนสถานี
ตารวจนครบาลบางขุนเทียนเป็ นผู้สอบสวน จาเลยมิได้ โต้ แย้ งว่า
พนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลบางขุนเทียนไม่มีอานาจ
สอบสวน ดังนัน้ ความผิดที่เกิดขึ ้นจะฟ้องที่ศาลซึ่งท้ องที่ที่
สอบสวนอยูใ่ นเขตอานาจก็ได้ ตาม ปวิอ. มาตรา ๒๒ (๑)
ประกอบ พรบ. จัดตังศาลแขวงและวิ
้
ธีพิจารณาความอาญาใน
ศาลแขวงฯ มาตรา ๔ เมื่อสถานีตารวจนครบาลบางขุนเทียนอยู่
ในเขตอานาจศาลแขวงธนบุรี โจทก์ยอ่ มฟ้องจาเลยที่ศาลแขวง
ธนบุรีได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๕๖/๒๕๒๒ ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๒๒(๑) เป็ นข้ อยกเว้ นมาตรา
๒๒ วรรคแรก คดีที่พนักงานทาการสอบสวนในอีกท้ องที่
หนึ่ง นอกเขตของศาลที่ความผิดเกิดขึ ้น จะชาระที่ศาลซึง่
ท้ องที่ที่ทาการสอบสวนนันอยู
้ ่ในเขตอานาจก็ได้ ฉะนันเมื
้ ่อ
ความผิดเกิดขึ ้นในเขตศาลอานาจศาลจังหวัดปั ตตานี แต่
ปรากฏว่าเจ้ าพนักงานตารวจจับจาเลยได้ ในเขตท้ องที่
จังหวัดสงขลา และพนักงานสอบสวนที่สงขลาได้ ทาการ
สอบสวน โจทก์ก็ฟ้องที่ศาลจังหวัดสงขลาให้ ชาระคดีนี ้ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๔๕๕/๒๕๕๐ แม้ ความผิดฐานลักทรัพย์กบั ความผิดฐาน
รับของโจรเกิดขึ ้นต่างท้ องที่กนั คือ จังหวัดราชบุรีและจังหวัดนครปฐม แต่ทรัพย์ที่
ถูกลักกับรับของโจรนันเป็
้ นทรัพย์สิ่งเดียวกัน คือรถจักรยานยนต์ของผู้เสียหาย
โดยถูกลักไปจากท้ องที่หนึง่ แล้ วนาไปจาหน่ายให้ แก่ผ้ รู ับของโจรในอีกท้ องที่หนึง่
จึงเป็ นความผิดหลายฐานเกี่ยวพันกัน โดยมีผ้ กู ระทาความผิดหลายคน มีทงที
ั้ ่
เป็ นตัวการลักทรัพย์ ผู้สมรู้ และผู้รับของโจรตาม ปวิอ. มาตรา ๒๔ (๑) และ
ความผิดฐานลักทรัพย์ในเวลากลางคืนมีอตั ราโทษสูงกว่าฐานรับของโจร ดังนัน้
โจทก์จงึ ฟ้องจาเลยในความผิดฐานรับของโจรต่อศาลชันต้
้ นที่มีอานาจพิจารณา
พิพากษาคดีคามผิดฐานลักทรัพย์ในเหตุฉกรรจ์ได้ ตาม ปวิอ. มาตรา ๒๔ วรรค
หนึง่ โจทก์ไม่ได้ ฟ้องจาเลยผิดศาลดังที่จาเลยฎีกา
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๖๔๖/๒๕๑๕ แม้
ผู้เสียหายจะได้ ยื่นฟ้องจาเลยเป็ นคดีอาญา
ไว้ สานวนหนึง่ แล้ วก็ไม่มีกฎหมายจากัด
อานาจของพนักงานอัยการมิให้ ฟ้องจาเลย
ในเรื่ องเดียวกันเป็ นคดีใหม่อีกสานวนหนึง่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๖๙/๒๕๓๕ ในคดีอาญาที่มีผ้ เู สียหายหลายคน แม้
จะมีผ้ เู สียหายคนหนึง่ ฟ้องผู้กระทาความผิดก่อนแล้ วก็ตาม ผู้เสียหายคน
อื่นก็มีสิทธิฟ้องผู้กระทาผิดได้ อีกเพราะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา ไม่มีบทบัญญัติห้ามผู้เสียหายคนอื่นฟ้องผู้กระทาผิดอีก และแม้
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๕ จะให้ นาประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) มาใช้ บงั คับ
ในคดีอาญา แต่มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) ก็ห้ามเฉพาะโจทก์ในคดีเดิม
เท่านันมิ
้ ให้ ฟ้องจาเลยในเรื่ องเดียวกัน ดังนี ้ เมื่อโจทก์ยงั ไม่เคยฟ้องจาเลย
ที่ ๒ ในเรื่ องเดียวกับที่ฟ้องคดีนี ้มาก่อน และการที่ ม. ภรรยาโจทก์ฟ้อง
จาเลยที่ ๒ ในเรื่ องเดียวกับคดีนี ้ก็ไม่ถือว่าเป็ นการฟ้องแทนโจทก์ ฟ้องของ
โจทก์เกี่ยวกับจาเลยที่ ๒ จึงไม่เป็ นฟ้องซ้ อนกับคดีอาญาที่ ม.ภรรยาโจทก์
ฟ้องจาเลยที่ ๒ ดังกล่าว
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๓๓๑/๒๕๒๑ ในกรณีที่บิดาผู้เสียหายได้
เป็ นโจทก์ยื่นฟ้องจาเลยในความผิดฐานฆ่าผู้เสียหายถึงแก่
ความตายโดยเจตนาในฐานะผู้จดั การแทนผู้เสียหายตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๕(๒) นัน้
เมื่อบิดาผู้เสียหายได้ ตายลงระหว่างพิจารณา ผู้ร้องซึง่ เป็ นบุตร
ของบิดาผู้เสียหาย หามีสทิ ธิดาเนินคดีตา่ งบิดาผู้เสียหายต่อไป
ตามความหมายของบทบัญญัติ มาตรา ๒๙ แห่งประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ไม่ เพราะบิดาผู้เสียหายเป็ น
ผู้จดั การแทนผู้เสียหายซึง่ ถูกทาร้ ายถึงตายเท่านัน้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๘๘๔/๒๕๕๐ โจทก์ร่วมที่ ๒ เป็ นบิดา
เด็กหญิง ร. มีสิทธิเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ได้ ก็โดยฐานะเป็ นผู้จดั การแทน
เด็กหญิง ร. ผู้ตายตามปวิอ. มาตรา ๕ (๒) ต่อมาระหว่างพิจารณา
ของศาลโจทก์ร่วมที่ ๒ ถึงแก่ความตาย ส.ภริ ยาโจทก์ร่วมที่ ๒ หามี
สิทธิเข้ าดาเนินคดีตา่ งโจทก์ร่วมที่ ๒ ตามความหมายแห่ง ปวิอ.
มาตรา ๒๙ ไม่ เพราะโจทก์ร่วมที่ ๒ เป็ นเพียงผู้จดั การแทนเด็กหญิง
ร. ผู้ตายเท่านัน้ โจทก์ร่วมที่ ๒ ไม่ใช่ผ้ เู สียหายในความผิดฐาน
กระทาโดยประมาทเป็ นเหตุให้ ผ้ อู ื่นถึงแก่ความตายโดยตรง ที่ศาล
ชันต้
้ นอนุญาตให้ ส. เข้ าดาเนินคดีตา่ งโจทก์ร่วมที่ ๒ จึงเป็ นการไม่
ชอบ
คำสั่งคำร้ องศำลฎีกำที่ ท ๑๕๙๒/๒๕๕๖ โจทก์ร่วมที่ ๑ บิดา
โดยชอบด้ วยกฎหมายของ ท. ผู้เสียหายซึง่ ถูกทาร้ ายถึงแก่ความ
ตายถึงแก่ความตาย ผู้ร้องซึง่ เป็ นภริ ยาโดยชอบด้ วยกฎหมาย
ของโจทก์ร่วมที่ ๑ และเป็ นมารดาของ ท. ผู้ตายยื่นคาร้ องขอ
เข้ าดาเนินคดี ถือว่าผู้ร้องประสงค์ขอใช้ สทิ ธิของตนที่มีอยูเ่ ดิม
ตังแต่
้ แรกในฐานะผู้มีอานาจจัดการแทนตาม ปวิอ มาตรา ๕
(๒) เพื่อสืบสิทธิดาเนินคดีแทนโจทก์ร่วมที่ ๑ ในชันฎี
้ กา ศาล
ฎีกาอนุญาตให้ ผ้ รู ้ องเข้ าดานเนินคดีในฐานะเป็ นโจทก์ร่วมที่ ๑
แทนโจทก์ร่วมได้ กบั รับคาแก้ ฎีกาไว้ พิจารณา
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๑๑๙/๒๕๓๐ ผู้เสียหายยื่นฟ้องแล้ วตายลง
ผู้สืบสันดานตามความเป็ นจริ งของผู้เสียหายซึง่ แม้ จะไม่ใช่บตุ ร
โดยชอบด้ วยกฎหมายก็มีสทิ ธิดาเนินคดีตา่ งผู้ตายต่อไปได้ ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๙ วรรคแรก
และเมื่อผู้สืบสันดานของผู้เสียหายยังเป็ นผู้เยาว์ มารดาซึง่ เป็ น
ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ก็ดาเนินคดีแทนผู้เยาว์ได้ ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๕๖ ประกอบ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๕ โดยมารดา
ไม่ต้องขออนุญาตเป็ นผู้แทนเฉพาะคดีของผู้เยาว์ตอ่ ศาลก่อน
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๔๒/๒๕๓๓ แม้ วา่ ผู้ร้องจะเป็ น
พี่ชายของโจทก์ร่วมผู้ตายเกิดจากบิดามารดาเดียวกันตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๒๙ (๓) ก็ตาม แต่ผ้ รู ้ องมิใช่บคุ คลตาม
บทบัญญัติแห่ง ป.วิ.อ. มาตรา ๒๙ ที่จะขอเข้ าดาเนินคดี
ต่างโจทก์ร่วมผู้ตายโดยอนุโลมต่อไปได้ ดังนันผู
้ ้ ร้องจึงหา
มีสิทธิถอนคาร้ องทุกข์หรื อมีคาขออื่นใดแทนโจทก์ร่วม
ผู้ตายไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๕๑/๒๔๙๔ (ประชุมใหญ่ ) บิดา
ฟ้องมารดาเป็ นจาเลยหาว่าร้ องเรี ยนเท็จ แจ้ งความเท็จ
ระหว่างพิจารณาบิดาตายบุตรจึงร้ องขอรับมรดกความ
แทนบิดา ดังนี ้ก็นบั ว่าอยู่ในฐานะเป็ นผู้ฟ้องบุพการี ของ
ตน ต้ องด้ วยข้ อห้ ามตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา ๑๕๓๔
คำสั่งคำร้ องศำลฎีกำที่ ท. ๒๑๒/๒๕๕๗ ผู้ร้องเป็ นผู้จดั การ
มรดกของโจทก์ แต่มิใช่บคุ คลตามบทบัญญัติปวิอ มาตรา
๒๙ ประกอบ พรบ จัดตังศาลแขวงและวิ
้
ธิพิจารณาความ
อาญาในศาลแขวง พ.ศ. ๒๔๙๙ มาตรา ๔ ผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิ
เข้ ามาดาเนินคดีตา่ งโจทก์ผ้ ตู ายได้ คดีนี ้แม้ เป็ นความผิดอาญา
อันยอมความได้ และโจทก์ได้ ตายไปแล้ วก็ตาม แต่หามี
กฎหมายบัญญัติวา่ ในคดีอาญานันเมื
้ ่อโจทก์ตายแล้ วให้ คดี
ระงับไปไม่ เมื่อคดีมาถึงศาลฎีกาแล้ วและโจทก์ตายโดยมีการ
ดาเนินคดีครบถ้ วนบริ บรู ณ์แล้ วเช่นนี ้ ศาลฎีกาย่อมดาเนิน
กระบวนพิจารณาคดีนี ้ต่อไปได้ ให้ ศาลชันต้
้ นอ่านคาพิพากษา
ศาลฎีกาให้ คคู่ วามฟั งต่อไป
คำสั่งคำร้ องศำลฎีกำที่ ๑๕๙๕/๒๕๒๘ ผู้ร้องขอรับของ
กลางคืนถึงแก่ความตาย ภริยาผู้ตายย่อมมีสิทธิขอเข้ า
ดาเนินคดีตา่ งผู้ตายต่อไปได้ ตาม ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๒๙ ในเมื่อคดียงั อยู่ระหว่าง
การพิจารณาของศาล แม้ จะขอเข้ ามาดาเนินคดีตา่ งผู้ตาย
เกินหนึง่ ปี ก็ตาม เพราะบทกฎหมายดังกล่าวไม่ได้ กาหนด
ระยะเวลาเอาไว้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๖๒๕/๒๕๓๒ โจทก์ยื่นคาร้ องขอให้ ตงโจทก์
ั้
เป็ น
ผู้แทนเฉพาะคดีของ ต.และมีอานาจฟ้องคดีแทน ต.เมื่อปรากฏว่า ต.
ซึง่ โจทก์อ้างว่าเป็ นผู้วิกลจริ ตถึงแก่กรรมไปก่อนวันนัดไต่สวนคาร้ อง
ดังกล่าวแล้ ว ศาลก็ไม่อาจตังโจทก์
้
เป็ นผู้แทนเฉพาะคดีของ ต.ได้ เพราะ
ต.ไม่ใช่ผ้ วู ิกลจริ ตดังที่โจทก์กล่าวอ้ างต่อไป
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๙ วรรคสอง
ที่บญ
ั ญัติวา่ ถ้ าผู้เสียหายที่ตายนันเป็
้ นคนวิกลจริ ตซึง่ ผู้แทนเฉพาะคดีได้
ยื่นฟ้องแทนไว้ แล้ ว ผู้ฟ้องคดีนนจะว่
ั ้ าคดีตอ่ ไปก็ได้ นัน้ หมายถึงกรณีที่
ศาลได้ ตงผู
ั ้ ้ แทนเฉพาะคดีของผู้เสียหายไว้ แล้ วก่อนที่ผ้ ูเสียหายตาย หา
ได้ หมายความรวมถึงกรณีนี ้ซึง่ ผู้เสียหายได้ ตายไปเสียก่อนที่ศาลจะตัง้
ผู้แทนเฉพาะคดีด้วยไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๔๓๒/๒๕๓๖ การร้ องขอเป็ นผู้แทนเฉพาะคดี ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๖ จะต้ องปรากฏว่า
โจทก์มีสภาพบุคคลเป็ นผู้วิกลจริ ตและไม่มีผ้ อู นุบาล แต่ปรากฏว่าโจทก์ซงึ่
ผู้ร้องอ้ างว่าเป็ นผู้วิกลจริ ตและไม่มีผ้ อู นุบาลได้ ถงึ แก่ความตายระหว่างไต่
สวนคาร้ องขอเป็ นผู้แทนเฉพาะคดี สภาพบุคคลของโจทก์จงึ สิ ้นสุดลงไป
แล้ วก่อนที่ศาลจะมีคาสัง่ ตังผู
้ ้ ร้องให้ เป็ นผู้แทนเฉพาะคดี ผู้ร้องจึงขอให้ ตงผู
ั้ ้
ร้ องเป็ นผู้แทนเฉพาะคดีของโจทก์ไม่ได้
อนึง่ แม้ ขณะที่โจทก์ถงึ แก่ความตายผู้ร้องขอเป็ นผู้แทนเฉพาะคดี
ของโจทก์ได้ ยื่นคาฟ้องไว้ ก่อนแล้ วในนามของโจทก์ แต่ในขณะที่โจทก์ถงึ แก่
ความตาย ศาลยังไม่ได้ ตงผู
ั ้ ้ ร้องเป็ นแทนเฉพาะคดีของโจทก์จะถือว่าเป็ น
กรณีที่โจทก์ยื่นฟ้องแล้ วตายลงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๒๙ ไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๑๗/๒๕๐๖(ประชุมใหญ่ )
ผู้เสียหายเป็ นโจทก์ฟ้องคดีอาญาซึง่ เป็ นความผิดอันยอม
ความได้ แล้ วตายลงภายหลังจากที่ศาลฎีกาได้ สง่ คา
พิพากษาไปให้ ศาลชันต้
้ นเพื่อจะอ่านให้ คคู่ วามฟั งแล้ วนัน้
หาได้ มีกฎหมายบัญญัติให้ คดีอาญาระงับไปไม่ เมื่อคดี
มาถึงศาลฎีกาและโจทก์ตาย เมื่อได้ ดาเนินคดีมา
ครบถ้ วนบริบรู ณ์แล้ วศาลฎีกาย่อมดาเนินกระบวน
พิจารณาคดีตอ่ ไปได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๑๐๐/๒๕๔๗ จาเลยได้ แจ้ งความร้ องทุกข์
โจทก์ร่วมข้ อหาทาร้ ายร่างกาย โจทก์ร่วมให้ การรับสารภาพ
เนื่องจากโจทก์ร่วมได้ ทาร้ ายร่างกายจาเลยหลังจากจาเลยใช้
อาวุธมีดแทงโจทก์ร่วมแล้ ว ซึง่ คดีดงั กล่าวพนักงานอัยการได้ แยก
ฟ้องโจทก์ร่วมในข้ อหาทาร้ ายร่างกาย ศาลมีคาพิพากษาปรับ
โจทก์ร่วมแล้ ว จึงฟั งได้ วา่ โจทก์ร่วมมีสว่ นผิดฐานทาร้ ายร่างกาย
จาเลยในเหตุการณ์ที่จาเลยใช้ มีดแทงโจทก์ร่วมในคดีนี ้ โจทก์ร่วม
จึงมิใช่ผ้ เู สียหายตามความหมายใน ป.วิ.อ.มาตรา ๒(๔) และทา
ให้ ไม่มีอานาจจะขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ตาม มาตรา ๓๐ โจทก์ร่วม
ไม่มีอานาจยื่นฎีกา
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๗๙๔/๒๕๑๖ พนักงานอัยการฟ้องขอให้
ลงโทษจาเลยฐานร่วมกันทาร้ ายร่างกายผู้เสียหายได้ รับ
บาดเจ็บ ผู้เสียหายเข้ าเป็ นโจทก์ร่วม ศาลชันต้
้ นพิพากษายก
ฟ้อง โจทก์ร่วมอุทธรณ์ฝ่ายเดียว แม้ ศาลอุทธรณ์จะพิพากษา
ลงโทษจาเลยตามฟ้อง หากศาลฎีกาเห็นว่าโจทก์ร่วมและ
จาเลยทังสองชกต่
้
อยทาร้ ายซึง่ กันและกัน และโจทก์ร่วมได้ รับ
บาดเจ็บเนื่องจากเหตุทาร้ ายกันนัน้ เป็ นเรื่ องวิวาททาร้ ายกัน
ย่อมต้ องถือว่า โจทก์ร่วมไม่ใช่ผ้ เู สียหายตามกฎหมาย ไม่มี
สิทธิเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ อุทธรณ์ของโจทก์ร่วมจึงไม่ชอบที่จะรับไว้
พิจารณา ศาลฎีกาย่อมพิพากษากลับให้ ยกฟ้อง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๙๗๐/๒๕๓๖ อัยการฟ้องว่าจาเลย
พยายามฆ่าผู้เสียหาย ผู้เสียหายเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ ศาลชันต้
้ น
พิพากษายกฟ้อง อัยการไม่อทุ ธรณ์โจทก์ร่วมอุทธรณ์ แม้ ศาล
อุทธรณ์จะพิพากษาแก้ เป็ นลงโทษจาเลยตามฟ้อง แต่ตอ่ มาเมื่อ
ศาลฎีกาฟั งว่าโจทก์ร่วมกับพวกกลุ้มรุมทาร้ ายร่างกายจาเลย
จาเลยยิงโจทก์ร่วมได้ รับอันตรายสาหัส เป็ นเรื่ องวิวาททาร้ าย
ร่างกายซึง่ กันและกัน โจทก์ร่วมจึงไม่ใช่ผ้ เู สียหายผู้เสียหาย
ตามกฎหมาย ไม่มีสทิ ธิเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ และไม่มีสิทธิอทุ ธรณ์
คัดค้ านคาพิพากษาศาลชันต้
้ น ศาลฎีกาย่อมพิพากษากลับ ให้
ยกฟ้อง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๘๐/๒๕๔๕ โจทก์ร่วมซึง่ เป็ นผู้เสียหายที่ ๑ เป็ น
ผู้เสียหายเฉพาะในความผิดฐานบุกรุก มิได้ เป็ นผู้เสียหายในความผิด
ฐานหน่วงเหนี่ยวกักขังผู้เสียหายที่ ๒ ดังนันแม้
้ ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่
อนุญาตให้ โจทก์ร่วมเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการโดยมิได้ ระบุวา่
อนุญาตให้ เข้ าร่วมเป็ นโจทก์ในความผิดฐานบุกรุกซึง่ โจทก์ร่วมเป็ น
ผู้เสียหายด้ วยเท่านัน้ เมื่อศาลชันต้
้ นพิพากษายกฟ้อง โจทก์มิได้ อทุ ธรณ์
ข้ อหาหน่วงเหนี่ยวกักขังผู้เสียหายที่ ๒ จึงยุติไปตามคาพิพากษาศาล
ชันต้
้ น โจทก์ร่วมไม่มีอานาจอุทธรณ์ขอให้ ลงโทษจาเลยในข้ อหาหน่วง
เหนี่ยวกักขังผู้เสียหายที่ ๒ ที่ศาลอุทธรณ์ภาค ๗ พิจารณาอุทธรณ์ของ
โจทก์ร่วมในข้ อหาหน่วงเหนี่ยวกักขังผู้เสียหายที่ ๒ และพิพากษาลงโทษ
จาเลยจึงไม่ชอบ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๑๑๐/๒๕๔๘ ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ อนุญาตให้ ผ้ เู สียหายเข้ า
ร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการ โดยมิได้ ระบุวา่ อนุญาตให้ เข้ าร่วมเป็ นโจทก์ใน
ความผิดฐานใด ต้ องถือว่าศาลชันต้
้ นอนุญาตให้ เข้ าร่วมเป็ นโจทก์ เฉพาะข้ อหา
ความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนาและฐานลักทรัพย์ซงึ่ โจทก์ร่วมเป็ นผู้เสียหาย
เท่านัน้ ส่วนความผิดเกี่ยวกับการทาลายพยานหลักฐานไม่ใช่ความผิดต่อ
สาธารณชน แต่เป็ นความผิดเกี่ยวกับรัฐโดยตรง แม้ จาเลยจะย้ ายศพ จ. ผู้ตาย
เพื่อปิ ดบังเหตุแห่งการตายก็ตาม โจทก์ร่วมซึง่ เป็ นบิดาผู้ตายก็ไม่ได้ เป็ นบุคคลผู้
ได้ รับความเสียหายเนื่องจากการกระทาผิดฐานใดฐานหนึง่ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒
(๔) จึงไม่ใช่ผ้ เู สียหายตามกฎหมาย เมื่อศาลชันต้
้ นพิพากษาลงโทษจาเลย
พนักงานอัยการโจทก์มไิ ด้ อทุ ธรณ์ ข้ อหาทาลายพยานหลักฐานจึงยุตไิ ปตามคา
พิพากษาศาลชันต้
้ น โจทก์ร่วมไม่มีอานาจอุทธรณ์ขอให้ ลงโทษจาเลยสถานหนัก
ในข้ อหาทาลายพยานหลักฐาน.
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๕๓๐/๒๕๕๕ พนักงานอัยการโจทก์บรรยายฟ้องว่า จาเลย
ใช้ กาลังประทุษร้ ายผู้ตายเป็ นเหตุให้ ผ้ ตู ายถึงแก่ความตาย และจาเลยใช้ กาลัง
ประทุษร้ าย ย ผู้เสียหาย แต่ไม่ถึงกับเป็ นเหตุให้ เกิดอันตรายแก่กาย เมื่อผู้เสียหาย
ยื่นคาร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการโดยระบุวา่ ผู้เสียหายมีความ
ประสงค์ที่จะขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ในคดีนี ้ การที่ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ อนุญาตให้
ผู้เสียหายเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ได้ เฉพาะความผิดฐานทาร้ ายร่างกายไม่ถึงกับเป็ นเหตุให้
เกิดอันตรายแก่กายหรื อจิตใจที่โจทก์ร่วมเป็ นผู้เสียหายเท่านัน้ เมื่อศาลชันต้
้ น
พิพากษาว่าการกระทาของจาเลยตามฟ้องเป็ นการกระทากรรมเดียว เป็ นความผิด
ต่อกฎหมายหลายบท ให้ ลงโทษฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา ซึง่ เป็ นกฎหมายบทที่มีโทษ
หนักที่สดุ โจทก์ไม่อทุ ธรณ์ โจทก์ร่วมจึงไม่มีสทิ ธิอทุ ธรณ์คาพิพากษาศาลชันต้
้ นใน
ความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา และศาลอุทธรณ์ภาค ๒ ไม่มีอานาจวินิจฉัย
อุทธรณ์ของโจทก์ร่วม
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๕๖๒/๒๕๕๕ การที่ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ให้
พิจารณาพิพากษารวมกันกับอีก ๒ คดี โดยโจทก์ร่วมที่ ๓ ยื่นคาร้ อง
ขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ในสานวนคดีอาญาหมายเลขแดงที่ ๔๒๔๙/
๒๕๔๖ ของศาลชันต้
้ น ซึง่ โจทก์ฟ้องจาเลยที่ ๑ ถึงที่ ๕ แต่โจทก์
ร่วมที่ ๓ ไม่ได้ ยื่นคาร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ในสานวนคดีนี ้ซึง่ โจทก์
ฟ้องจาเลยที่ ๗ ดังนัน้ แม้ ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ให้ พิจารณาพิพากษา
รวมกันสามสานวน เมื่อโจทก์ร่วมที่ ๓ ไม่ได้ ยื่นคาร้ องขอเข้ าร่วม
เป็ นโจทก์ในคดีอาญาสานวนนี ้ซึง่ พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้อง
จาเลยที่ ๗ ต่อศาลตาม ปวิอ มาตรา ๓๐ โจทก์ร่วมที่ ๓ จึง
ไม่ใช่โจทก์ร่วมในสานวนคดีนี ้ โจทก์ร่วมที่ ๓ จะอุทธรณ์ขอให้
ลงโทษจาเลยที่ ๗ ไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๘๖๒/๒๕๑๔ ผู้เสียหายที่ได้ รับ
อนุญาตให้ เข้ าเป็ นโจทก์ร่วมในคดีแล้ ว แม้ ภายหลังศาล
อุทธรณ์จะยกคาร้ องขอเข้ าเป็ นโจทก์ร่วมเสีย ก็ไม่ทาให้ การ
ดาเนินกระบวนพิจารณาของโจทก์ร่วมที่ได้ กระทาระหว่าง
เป็ นคูค่ วามในคดีเสียเปล่าไป พยานหลักฐานที่โจทก์ร่วม
ได้ อ้างอิงไว้ ศาลย่อมใช้ เป็ นพยานหลักฐานสาหรับโจทก์
และโจทก์ร่วมคนอื่น เพื่อประมวลวินิจฉัยข้ อเท็จจริงแห่งคดี
ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๙๘-๒๙๙/๒๕๑๐(ประชุมใหญ่ ) ผู้วา่ คดีฟ้อง
จาเลยหาว่าเลียนเครื่ องหมายการค้ าของบริ ษัทโจทก์ซงึ่ ปรากฏที่กล่อง
บรรจุยาและใช้ กบั สินค้ ายาปฏิชีวนะ บริ ษัทโจทก์เข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั
ผู้วา่ คดี แล้ วบริ ษัทโจทก์เข้ ายื่นฟ้องเป็ นคดีขึ ้นมาอีกในข้ อหาว่าเลียน
เครื่ องหมายการค้ าอันเดียวกันนี ้ที่กล่องบรรจุยาและที่ สินค้ ายา ดังนี ้
บริ ษัทโจทก์ต้องห้ ามไม่ให้ ฟ้องเรื่ องเดียวกันนันอี
้ ก ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง ประกอบ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๕ ศาลชันต้
้ นรับ
ฟ้องไว้ ไม่ชอบ ให้ ยกฟ้องที่บริ ษัทโจทก์ยื่น แต่บริ ษัทโจทก์ดาเนินคดีกบั
จาเลยในฐานะโจทก์ร่วมได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๘๓/๒๕๑๓ การที่ผ้ เู สียหายเข้ าเป็ นโจทก์
ร่วมกับผู้วา่ คดีโจทก์ ตามอานาจที่ให้ ไว้ ในประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญามาตรา ๓๐ นัน้ คาร้ องของผู้เสียหายไม่ได้
ถือว่าเป็ นคาฟ้องคดีหนึง่ อีกต่างหากจากฟ้องของผู้วา่ คดีโจทก์
เมื่ออานาจฟ้องของผู้วา่ คดีโจทก์สาหรับคดีนนไม่
ั ้ มี ต้ องยกฟ้อง
ของผู้วา่ คดีโจทก์แล้ ว ย่อมเป็ นผลตามกฎหมายที่ต้องยกฟ้องของ
ผู้เสียหายโจทก์ร่วมไปด้ วยเพราะไม่มีคาฟ้องเหลืออยู่ที่จะให้
ดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไป
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๘๘๗/๒๕๓๓ การที่จาเลยเข้ าเป็ น
โจทก์ร่วมในคดีซงึ่ พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้องโจทก์ใน
คดีนี ้เป็ นจาเลยในข้ อหาปลอมและใช้ เอกสารปลอม เมื่อ
เอกสารดังกล่าวไม่ใช่เอกสารปลอม ฟ้องดังกล่าวจึงเป็ น
ฟ้องเท็จ จาเลยจึงมีความผิดฐานเอาความอันเป็ นเท็จฟ้อง
โจทก์ตอ่ ศาลว่ากระทาผิดอาญา
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๐๗/๒๕๑๖ ผู้เสียหายได้ ยื่นฟ้องจาเลยฐานฉ้ อโกง
ไว้ แล้ ว ต่อมาพนักงานอัยการได้ ยื่นฟ้องจาเลยด้ วยเรื่ องเดียวกันนันเป็
้ นคดี
ใหม่ ผู้เสียหายจึงถอนฟ้องคดีที่ผ้ เู สียหายได้ ฟ้องไว้ แล้ วขอเข้ าร่วมเป็ น
โจทก์ในคดีที่พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้อง เป็ นได้ วา่ การที่ผ้ เู สียหายถอน
ฟ้องดังกล่าวก็เพื่อจะขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ในคดีที่พนักงานอัยการได้ ยื่น
ฟ้องจาเลยนัน่ เอง มิใช่เป็ นการถอนฟ้องเด็ดขาดตามความหมายใน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๖ พนักงานอัยการจึง
ยังมีอานาจฟ้องจาเลยและสิทธินาคดีอาญามาฟ้องของผู้เสียหายจึงยังไม่
ระงับไป จึงมีสิทธิขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๗๘๙/๒๕๓๘ คาร้ องขอถอนฟ้องของโจทก์ร่วมระบุ
ว่า ขอถอนฟ้องเพราะโจทก์ร่วมและจาเลยตกลงกันได้ แล้ ว ไม่ได้ ระบุวา่ ขอ
ถอนฟ้องเพราะโจทก์ร่วมจะไปขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการผู้
เป็ นโจทก์คดีนี ้ เมื่อเป็ นการขอถอนฟ้องเสร็จเด็ดขาดแล้ ว โจทก์ร่วมจะไป
ขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ในคดีนี ้อีกไม่ได้ เพราะการเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ถือว่าเป็ น
การฟ้องคดีใหม่ ต้ องห้ ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๓๖ ดังนันที
้ ่ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ให้ โจทก์ร่วมเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์กบั
พนักงานอัยการผู้เป็ นโจทก์ในคดีนี ้ และที่พิพากษาว่าจาเลยทังสองมี
้
ความผิดฐานทาให้ เสียทรัพย์ด้วยนันจึ
้ งไม่ชอบ เมื่อโจทก์ร่วมเข้ าร่วมเป็ น
โจทก์ในคดีนี ้ไม่ได้ แล้ ว โจทก์ร่วมจึงมิได้ เป็ นโจทก์ของคดีนี ้และไม่มีสิทธิ
อุทธรณ์คาพิพากษาของศาลชันต้
้ นคดีนี ้ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๒๔๑/๒๕๔๔ เมื่อศาลชันต้
้ นอนุญาตให้ โจทก์ร่วมเข้ าร่วมเป็ น
โจทก์กบั พนักงานอัยการได้ ในครัง้ แรก ก็แสดงว่าศาลชันต้
้ นฟั งว่าโจทก์ร่วมเป็ น
ผู้เสียหายสามารถดาเนินคดีแก่จาเลยโดยอาศัยสิทธิตามฟ้องของพนักงานอัยการ
เสมือนโจทก์ร่วมฟ้องเอง การที่โจทก์ร่วมขอถอนตัวจากการเป็ นโจทก์ร่วมโดยระบุวา่
มีความเห็นหลายอย่างไม่ตรงกับความเห็นของโจทก์ หากโจทก์ร่วมดาเนินคดีนี ้ต่อไป
อีกอาจจะเกิดความเสียหายแก่รูปคดีของโจทก์ การขอถอนตัวของโจทก์ร่วมดังกล่าว
ไม่ปรากฏว่าโจทก์ร่วมจะไปดาเนินการอะไรอีกต่อไป มีผลเท่ากับเป็ นการถอนฟ้องใน
ส่วนของโจทก์ร่วมเสร็จเด็ดขาดนัน่ เอง เมื่อเป็ นการขอถอนฟ้องเสร็จเด็ดขาดแล้ ว
โจทก์ร่วมจะไปขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์อีกไม่ได้ ต้ องห้ ามตาม ปวิอ.มาตรา ๓๖ ดังนี ้ที่
ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ให้ โจทก์ร่วมเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการผู้เป็ นโจทก์ในครัง้
หลังจึงไม่ชอบ และเมื่อโจทก์ร่วมเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ไม่ได้ แล้ ว โจทก์ร่วมจึงมิได้ เป็ น
โจทก์ของคดีนี ้ โจทก์ร่วมจึงไม่มีสทิ ธิอทุ ธรณ์คาพิพากษาของศาลชัน้ ต้ นคดีนี ้ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๑๖/๒๕๒๓ โจทก์ร่วมเคยเป็ นโจทก์ฟ้องจาเลยในมูล
กรณีเดียวกันกับคดีนี ้มาครัง้ หนึง่ แล้ ว แต่ในคดีนนโจทก์
ั้
ร่วมไม่มาตาม
กาหนดนัดในชันไต่
้ สวนมูลฟ้อง ศาลพิพากษายกฟ้อง ตาม ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๖๖ ผลแห่งคดีที่โจทก์ร่วมยื่น
ฟ้องจาเลยดังกล่าวนัน้ ทาให้ โจทก์ร่วมจะฟ้องจาเลยเรื่ องเดียวกันนันอี
้ ก
ไม่ได้ เมื่อเป็ นคดีความผิดต่อส่วนตัวย่อมตัดอานาจฟ้องของพนักงาน
อัยการตามมาตรา ๑๖๖ วรรคท้ าย สิทธิของพนักงานอัยการที่ยื่นฟ้อง
จาเลยในมูลกรณีเดียวกันไว้ แล้ วเป็ นอันระงับไป โดยไม่ต้องคานึงถึงว่า
พนักงานอัยการฟ้องก่อนหรื อหลังจากคดีที่ศาลยกฟ้องคดีของโจทก์ร่วม
เมื่อพนักงานอัยการถูกตัดอานาจฟ้องย่อมจะดาเนินคดีตอ่ ไปไม่ได้ ต้ องยก
ฟ้องของโจทก์และโจทก์ร่วม
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๘๓๓/๒๕๒๕ โจทก์ร่วมเข้ ามา
ดาเนินคดีแก่จาเลยโดยอาศัยสิทธิตามฟ้องของ
พนักงานอัยการ จึงไม่มีอานาจขอแก้ หรื อเพิ่มเติมฟ้อง
ให้ นอกเหนือไปจากฟ้องของพนักงานอัยการ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๓๒๐/๒๕๒๘ ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๓๐, ๓๑ ได้ บญ
ั ญัติเกี่ยวกับการ
ร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการ เฉพาะกรณีที่
ผู้เสียหายร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการ และกรณีที่
พนักงานอัยการร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั ผู้เสียหายสาหรับคดีที่
มิใช่ความผิดต่อส่วนตัวเท่านัน้ ส่วนกรณีที่ผ้ เู สียหายยื่นคาร้ อง
ของเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั ผู้เสียหายด้ วยกันมิได้ มีกฎหมายบัญญัติ
ให้ อานาจไว้ สิทธิในการขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ในคดีอาญา
นอกจากสองกรณีดงั กล่าวนี ้แล้ วย่อมไม่อาจมีได้ ดังนันใน
้
คดีอาญาที่ผ้ เู สียหายคนหนึง่ ได้ ยื่นฟ้องคดีไว้ ก่อนแล้ ว ผู้เสียหาย
อีกคนหนึง่ ไม่อาจยื่นคาร้ องของเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๙๓๕/๒๕๒๙ การขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ในคดีอาญา
นัน้ มีบญ
ั ญัติไว้ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา
๓๐ และ๓๑…เมื่อผู้เสียหายคนหนึง่ เป็ นโจทก์ฟ้องคดีแล้ วผู้เสียหายคน
อื่นจะขอเข้ าเป็ นโจทก์ร่วมจึงไม่อาจกระทาได้ และจะอาศัยประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๕๗(๒) ซึง่ บัญญัติให้ สิทธิ
บุคคลภายนอกในกรณีร้องสอดขอเข้ าเป็ นโจทก์หรื อจาเลยร่วม ประกอบ
กับ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๕ มาอนุโลม
บังคับใช้ ในกรณีนี ้ก็ไม่ได้ เช่นกัน เพราะอานาจฟ้องดังกล่าวถือว่า
กฎหมายได้ กาหนดไว้ เป็ นกรณีพิเศษโดยเฉพาะในมาตรา ๓๐ และ ๓๑
แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแล้ ว ดังนันผู
้ ้ ร้องไม่มีสิทธิ
ที่จะร้ องขอเข้ าเป็ นโจทก์ร่วมกับผู้เสียหายซึง่ เป็ นโจทก์เดิมได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๐๐๐/๒๕๑๒(ประชุมใหญ่ ) แม้ พนักงาน
อัยการโจทก์มิได้ อทุ ธรณ์ แต่โจทก์ร่วมได้ อทุ ธรณ์และฎีกาต่อมา
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒(๑๔)
อธิบายคาว่า โจทก์ ไว้ วา่ หมายความถึงพนักงานอัยการหรื อ
ผู้เสียหายซึง่ ฟ้องคดีอาญาต่อศาล หรื อทังคู
้ ใ่ นเมื่อพนักงานอัยการ
และผู้เสียหายเป็ นโจทก์ร่วมกัน ดังนันโจทก์
้
ร่วมกับพนักงาน
อัยการจึงต่างมีฐานะเป็ นโจทก์ด้วยกัน เมื่อศาลอุทธรณ์ มีคาสัง่ ให้
ศาลชันต้
้ นสืบพยานโจทก์ซงึ่ ศาลชันต้
้ นสัง่ งดไม่สืบต่อไปให้ เสร็จ
พนักงานอัยการโจทก์จงึ มีสทิ ธินาสืบต่อไปได้ ศาลอุทธรณ์จงึ ฟั ง
พยานที่นาสืบต่อไปนันวิ
้ นิจฉัยคดีได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๔๕/๒๕๓๔ พนักงานอัยการเป็ นโจทก์
ฟ้องจาเลย ระหว่างพิจารณาผู้เสียหายยื่นคาร้ องขอเข้ าเป็ น
โจทก์ร่วม เมื่อศาลชันต้
้ นพิพากษายกฟ้องย่อมหมายถึงยก
ฟ้องของโจทก์ร่วมด้ วย พนักงานอัยการอุทธรณ์ ศาล
อุทธรณ์พิพากษายืนดังนี ้ เมื่อโจทก์ร่วมมิได้ อทุ ธรณ์คดั ค้ าน
คาพิพากษาของศาลชันต้
้ น คดีของโจทก์ร่วมจึงยุติ โจทก์
ร่วมไม่มีสทิ ธิฎีกา แม้ ผ้ พู ิพากษาศาลอุทธรณ์ซงึ่ ลงชื่อในคา
พิพากษาศาลอุทธรณ์จะอนุญาตให้ ฎีกาได้ ก็ตาม
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๓๓-๑๓๔/๒๔๙๑ (ประชุมใหญ่ )
คดีอาญาราษฎรและอัยการต่างเป็ นโจทก์ฟ้องจาเลยใน
กรณีเหตุอนั เดียวกันนัน้ ถ้ าศาลสัง่ ให้ รวมการพิจารณา
คดีเป็ นคดีเดียวกันแล้ ว การฟั งคาพยานหลักฐานก็รวม
เป็ นคดีเดียวกันได้ ไม่ต้องแยกว่าเป็ นพยานของสานวน
ไหน
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๔๓๘/๒๕๒๗ ผู้เสียหายเป็ นโจทก์ฟ้องเมื่อวันที่ ๙ มิถนุ ายน
๒๕๒๕ ขอให้ ลงโทษจาเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕ ศาลนัดไต่
สวนมูลฟ้องวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๕ ครัน้ วันที่ ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๒๕ อัยการ
ฟ้องจาเลยในความผิดกรรมเดียวกัน แต่ขอให้ ลงโทษตาม ม.๓๙๑ จาเลยให้ การรับ
สารภาพ ศาลชันต้
้ นพิพากษาปรับจาเลย การที่ศาลจะใช้ ดลุ พินิจสัง่ ให้ รวมพิจารณา
เป็ นคดีเดียวกันหรื อไม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๓ ก็
ต่อเมื่อปรากฏต่อศาลโดยศาลรู้เองหรื อโดยโจทก์ยื่นคาร้ องในระยะใดก่อนมีคา
พิพากษาว่าอัยการและผู้เสียหายต่างฟ้องร้ องเรื่ องเดียวกันในศาลเดียวกันหรื อต่าง
ศาลกัน เมื่อศาลไม่ร้ ูดงั กล่าวและการกระทาความผิดของจาเลยตามที่ผ้ เู สียหายฟ้อง
ได้ มีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดแล้ วในคดีที่อยั การเป็ นโจทก์ สิทธิของผู้เสียหายที่เป็ น
โจทก์ในการนาคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา ม.๓๙ (๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๐๒๕/๒๕๑๓ อัยการฟ้อง ร. กับ ส. เป็ น
จาเลย หาว่าทาร้ ายร่างกายซึง่ กันและกัน และ ส. ฟ้อง ร. เป็ นอีก
สานวนหนึง่ ว่าทาร้ ายร่างกายตน ศาลชันต้
้ นสัง่ รวมการพิจารณา
พิพากษาแล้ วพิพากษาลงโทษจาคุกและปรับ ร. แต่โทษจาคุก
ให้ รอไว้ ส่วน ส. นันก็
้ ให้ ลงโทษปรับ กับยกฟ้องคดีที่ ส.เป็ นโจทก์
ส.แต่ผ้ เู ดียวอุทธรณ์ทงสองส
ั้
านวน ศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้อง
คดีที่ ส. เป็ นโจทก์เหมือนกัน แต่ให้ แก้ โทษของ ร. เป็ นไม่รอการ
ลงโทษจาคุก ดังนี ้หาชอบไม่ เพราะคดีเฉพาะตัว ร. จาเลยใน
สานวนที่อยั การเป็ นโจทก์นนถึ
ั ้ งที่สดุ แล้ ว
อัยการฟ้อง ร.
กับ ส. เป็ น
จาเลย
ร. จา ปรับ รอ
ส. ปรับ
ส. เป็ นโจทก์
ฟ้อง ร. เป็ น
จาเลย
ส.
อุทธรณ์
ศาล
อุทธรณ์
พิพาก
ษา
แก้ จาคุก ร.
ยกฟ้อง
ศาล
อุทธรณ์
พิพาก
ษา
ร.ฎีกา
ยืนให้ ยกฟ้อง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๑๙๖/๒๕๔๙ (ประชุมใหญ่ ) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๓๕ มิได้ บญ
ั ญัติถึงวิธีการถอนฟ้องว่าจะต้ องทาเป็ นคาร้ องแต่
วิธีเดียวเท่านัน้ หากคูค่ วามมาอยูต่ อ่ หน้ าศาลและแถลงขอถอนฟ้องด้ วยวาจาย่อม
ไม่ห้ามที่ศาลจะยอมรับคาแถลงขอถอนฟ้องด้ วยวาจาที่ได้ กระทาในศาล โดยจด
ข้ อความขอถอนฟ้องนันไว้
้ ในรายงานกระบวนพิจารณา หรื ออาจจะกาหนดให้ โจทก์
ถอนฟ้องโดยทาคาร้ องขอถอนฟ้องก็ได้ แล้ วแต่ศาลจะเห็นสมควร การที่ผ้ ูพิพากษา
หัวหน้ าศาลจังหวัดขอนแก่นได้ นดั คูค่ วามให้ มาศาลเพื่อเจรจากันในห้ องพักผู้
พิพากษาหัวหน้ าศาล ถือได้ วา่ คูค่ วามมาศาลและขอให้ ศาลนัง่ พิจารณาไกล่เกลี่ย
ข้ อพิพาท แม้ จะได้ กระทาในห้ องพักของผู้พิพากษาหัวหน้ าศาลมิใช่ในห้ องพิจารณา
คดี แต่ก็เพื่อความสะดวกแก่คคู่ วามได้ เจรจาตกลงกัน ถือว่าศาลได้ ดาเนินกระบวน
พิจารณาในศาลโดยชอบแล้ ว เมื่อคูค่ วามอยูต่ อ่ หน้ าศาลในการพิจารณาคดีของ
ศาล และโจทก์แถลงขอถอนฟ้องด้ วยวาจาในศาลนันเอง
้ ศาลชันต้
้ นจึงมีอานาจที่จะ
รับคาแถลงขอถอนฟ้องด้ วยวาจาได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๙๘/๒๔๘๑ การที่ศาลจะ
อนุญาตให้ โจทก์ถอนฟ้องหรื อไม่นนั ้ ย่อมอยู่ในดุลพินิจ
ของศาล ถ้ าเป็ นกรณีที่จาเลยให้ การแก้ คดีแล้ ว และ
จาเลยคัดค้ าน ศาลจะใช้ ดลุ พินิจไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๐๖๐/๒๔๙๙ ศาลชันต้
้ นพิพากษา
ลงโทษจาเลยโดยมีความผิดทังความผิ
้
ดต่อส่วนตัวและ
ความผิดอาญาแผ่นดิน จาเลยยื่นอุทธรณ์ ระหว่างอุทธรณ์
โจทก์ยื่นคาร้ องขอถอนฟ้องในชันอุ
้ ทธรณ์ ดังนี ้ศาลชันต้
้ น
อนุญาตให้ ถอนได้ เฉพาะที่เป็ นความผิดต่อส่วนตัวเท่านัน้
ส่วนความผิดที่เป็ นอาญาแผ่นดินนันจะอนุ
้
ญาตให้ ถอน
ฟ้องไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๕๗/๒๕๔๐ โจทก์ฟ้องขอให้ ลงโทษจาเลยตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๘๓,๓๖๒,๓๖๕ ศาลชันต้
้ นพิพากษาว่า จาเลยมีความผิดฐานบุกรุก ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๓๖๕(๓) อันเป็ นความผิดอาญาแผ่นดิน จาเลยอุทธรณ์ หากตราบใดที่
ยังไม่มีคาพิพากษาศาลสูงเปลี่ยนแปลงคาพิพากษาศาลชันต้
้ น ก็ต้องถือว่าจาเลยมีความผิดตาม
มาตรา ๓๖๕(๓) อันเป็ นคดีความผิดอาญาแผ่นดิน มิใช่เป็ นคดีความผิดต่อส่วนตัว โจทก์หามี
สิทธิขอถอนฟ้องจาเลยในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ไม่ ที่ศาลอุทธรณ์มีคาสัง่ ไม่
อนุญาตให้ โจทก์ถอนฟ้องจาเลยนันชอบแล้
้
ว แต่ตอ่ มาภายหลังเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ เป็ น
ว่า จาเลยมีความผิดฐานบุกรุกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๖๒ อันเป็ นความผิดต่อ
ส่วนตัวและยังไม่มีคาพิพากษาศาลสูงเปลี่ยนแปลงแก้ ไข ก็ต้องถือว่าคดีนี ้เป็ นคดีความผิดต่อ
ส่วนตัว เมื่อคดียงั ไม่ถงึ ที่สดุ และตามคาร้ องขอถอนฟ้องของโจทก์อ้างว่า โจทก์และจาเลยตกลง
กันได้ โจทก์จงึ ไม่ประสงค์จะดาเนินคดีนี ้กับจาเลยต่อไป จาเลยไม่คดั ค้ าน และท้ ายคาร้ อง
ดังกล่าวได้ ลงชื่อจาเลยไว้ ด้วย ดังนี ้ตามคาร้ องขอถอนฟ้องของโจทก์ข้างต้ นเป็ นการยอมความ
กันโดยถูกต้ องตามกฎหมายแล้ ว สิทธินาคดีอาญามาฟ้องจาเลยย่อมระงับไปตาม ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙(๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๙๖๗/๒๕๔๑ คดีอาญาความผิดต่อ
ส่วนตัวและยังไม่ถึงที่สดุ เมื่อปรากฏตามคาร้ องของโจทก์ร่วมว่า
โจทก์ร่วมไม่ติดใจดาเนินคดีอาญากับจาเลย โดยโจทก์และ
จาเลยไม่คดั ค้ าน แสดงว่าโจทก์ร่วมซึง่ เป็ นผู้เสียหายประสงค์ที่จะ
ถอนคาร้ องทุกข์ แต่โจทก์ร่วมใช้ ข้อความผิดไปว่าถอนฟ้อง
เนื่องจากคดีนี ้พนักงานอัยการเป็ นโจทก์สว่ นผู้เสียหายเป็ นเพียง
โจทก์ร่วม เช่นนี ้สิทธินาคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๓๕/๒๕๑๒ การถอนฟ้องนัน้ ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้ บญ
ั ญัติถึงคดีที่
ผู้เสียหายเป็ นโจทก์วา่ ให้ ถอนคดีได้ เสมอไป ไม่วา่ ผู้เสียหายหรื อ
อัยการเป็ นโจทก์การถอนฟ้องต้ องเป็ นไปตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๕ ที่ให้ ถอนฟ้องให้ ก่อนมี
คาพิพากษาของศาลชันต้
้ น เว้ นแต่คดีความผิดต่อส่วนตัวจะถอน
ฟ้อง หรื อยอมความในเวลาใดก่อนคดีถงึ ที่สดุ ก็ได้ ในกรณี
ความผิดฐานเบิกความเท็จตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑๗๗ มิใช่คดีความผิดต่อส่วนตัวเมื่อศาลชันต้
้ นมีคา
พิพากษาแล้ วจึงถอนฟ้องไม่ได้
คำสั่งคำร้ องของศำลฎีกำที่ ๒๗๘/๒๕๒๕ ก่อนอ่านคา
พิพากษาฎีกาให้ คคู่ วามฟั ง โจทก์ขอถอนคาฟ้องที่มีทงข้
ั ้ อหา
ความผิดอาญาแผ่นดินและความผิดอันยอมความได้ ศาลฎีกา
อนุญาตให้ ถอนฟ้องได้ ในข้ อหาความผิดอันยอมความได้ ส่วน
ข้ อหาความผิดอาญาแผ่นดินเมื่อศาลฎีกายกคาพิพากษาของ
ศาลล่างทังสองศาลและให้
้
ศาลชันต้
้ นพิจารณาพิพากษาใหม่อนั
เป็ นผลทาให้ คดีกลับไปสูก่ ารพิจารณาของศาลชันต้
้ น โจทก์ขอ
ถอนฟ้องต่อศาลชันต้
้ นได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๖๘/๒๕๒๘ (ประชุมใหญ่ ) ในคดีอาญาแม้ จะต้ องห้ ามฎีกา
ในปั ญหาข้ อเท็จจริง แต่ก็มิได้ ห้ามคูค่ วามฎีกาในปั ญหาข้ อกฎหมาย และอาจมีการ
อนุญาตหรื อรับรองให้ ฎีกาในปั ญหาข้ อเท็จจริงตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา ม.๒๒๑ ได้ คดีจึงถึงที่สดุ เมื่อสิ ้นกาหนดระยะเวลาฎีกาตาม ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ม.๑๔๗ วรรคสอง ประกอบด้ วย ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม.๑๕ โดยมิต้องคานึงว่ามีการยื่นฎีกาแล้ วหรื อไม่
เมื่อปรากฏว่าคดีได้ ขึ ้นมาสูศ่ าลฎีกาแล้ ว ศาลฎีกาย่อมมีอานาจสัง่ คาร้ องขอ
ถอนฟ้องของโจทก์ได้ โดยไม่ต้องย้ อนสานวนไปให้ ศาลชันต้
้ นสัง่ เมื่อศาลฎีกา
อนุญาตให้ โจทก์ถอนฟ้องสิทธินาคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปตาม ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม.๓๙ (๒) อันมีผลให้ คาพิพากษาของศาลล่าง
ระงับไปด้ วยในตัวให้ จาหน่ายคดีออกเสียจากสารบบความของศาลฎีกา
คำสั่งคำร้ องศำลฎีกำที่ ๓๕/๒๕๒๒ คดีความผิดต่อ
ส่วนตัวนัน้ โจทก์ถอนฟ้องเมื่อคดีอยู่ระหว่างโจทก์
อุทธรณ์คาสัง่ ไม่รับฎีกา คดียงั อยู่ในระหว่างระยะเวลาที่
จะฎีกาได้ ยงั ไม่ถึงที่สดุ จึงถอนได้
คำสั่งคำร้ องของศำลฎีกำที่ ๙๗๓/๒๕๒๕ ศาลชันต้
้ น
สัง่ ไม่รับฎีกาของจาเลย จาเลยยื่นคาร้ องอุทธรณ์คาสัง่
ศาลชันต้
้ นต่อศาลฎีกาซึง่ เป็ นเวลาล่วงเลยอายุฎีกาแล้ วก็
ตาม แต่ในระหว่างที่ศาลฎีกายังไม่สงั่ โจทก์ถอนฟ้องได้
เพราะถือว่าคดียงั ไม่ถึงที่สดุ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๓๗๕/๒๕๒๕ การที่โจทก์ขอถอนฟ้อง
จาเลยโดยอ้ างว่าโจทก์กบั จาเลยตกลงกันได้ และศาลชันต้
้ นสัง่
อนุญาตแล้ วนัน้ เป็ นการถอนฟ้องที่เกิดจากความสมัครใจของ
โจทก์เอง มิใช่เป็ นกรณีที่ศาลอนุญาตไปโดยผิดพลาดอันจะเป็ น
เหตุให้ ศาลเพิกถอนคาสัง่ ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง มาตรา ๒๗ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญามาตรา ๑๕ โจทก์จะมาอ้ างภายหลังว่าการถอนฟ้อง
เพราะจาเลยและ จ.นาความเท็จมากล่าวให้ โจทก์หลงเชื่อหาได้
ไม่ เพราะข้ ออ้ างดังกล่าวเป็ นกรณีที่โจทก์ต้องดาเนินคดีกบั
จาเลยและ จ.เป็ นอีกเรื่ องหนึง่ หาใช่ข้ออ้ างที่โจทก์จะนามาอ้ าง
ให้ ศาลเพิกถอนคาสัง่ ที่ได้ สงั่ อนุญาตไปโดยชอบแล้ วหาได้ ไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๗๖๕/๒๕๓๙ ผู้ร้องฟ้องและถอนฟ้องจาเลยไปโดย
ไม่ปรากฏข้ อความในคาร้ องขอถอนฟ้องว่าขอถอนไปเพื่อขอเข้ าร่ วมเป็ น
โจทก์กบั พนักงานอัยการ แล้ วต่อมาผู้ร้องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงาน
อัยการโจทก์ในคดีนี ้อีก แม้ วา่ ผู้ร้องอาจขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงาน
อัยการได้ โดยไม่จาต้ องบอกกล่าวหรื อมีข้อแม้ ในคาร้ องขอถอนฟ้องว่า ขอ
ถอนไปเพื่อขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการก็ตาม แต่พฤติการณ์ที่
ผู้ร้องเพิ่งจะยื่นคาร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์หลังจากที่ได้ ถอนฟ้องคดีเดิมไป
แล้ วเป็ นระยะเวลานานกว่า ๑๐ เดือน เห็นได้ วา่ ผู้ร้องมีเจตนาที่จะถอน
ฟ้องจาเลยเด็ดขาดแล้ วตังแต่
้ ต้น ตามความหมายในประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๓๖ การที่ผ้ รู ้ องยื่นคาร้ องขอเข้ าร่ วมเป็ น
โจทก์กบั พนักงานอัยการเท่ากับนาคดีมาฟ้องจาเลยใหม่ จึงต้ องห้ าม
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๐๓/๒๕๓๑ เดิมอัยการศาลทหารกรุงเทพเป็ นโจทก์ฟ้อง
จาเลยในความผิดเดียวกับคดีนี ้ไว้ แล้ ว ต่อมาขณะคดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณาโจทก์
คดีนนได้
ั ้ ยื่นคาร้ องขอถอนฟ้อง โดยอ้ างว่าจาเลยเป็ นบุคคลพลเรื อนที่สงั กัดอยูใ่ น
ราชการทหารกระทาความผิดฐานรับของโจรและมีอาวุธปื นไว้ โดยฝ่ าฝื นกฎหมาย
นอกที่ตงหน่
ั ้ วยทหารคดีไม่อยูใ่ นอานาจศาลทหารตามพระธรรมนูญศาลทหาร
พ.ศ.๒๔๙๘ มาตรา ๑๔(๒) โจทก์จงึ ขอถอนฟ้องเพื่อส่งคืนพนักงานสอบสวนให้
ส่งพนักงานอัยการพลเรื อนดาเนินการต่อไป มิใช่เป็ นการถอนฟ้องเด็ดขาดตาม
ความหมายของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๖ แต่เป็ น
การถอนฟ้องเพื่อดาเนินการให้ ถกู ต้ องเกี่ยวกับอานาจศาลเท่านัน้ และแม้ กรณี
ศาลทหารยกฟ้องเพราะเหตุคดีอยูใ่ นอานาจศาลพลเรื อน พนักงานอัยการก็ยงั นา
คดีมาฟ้องต่อศาลพลเรื อนได้ ดังนันสิ
้ ทธินาคดีมาฟ้องจึงหาระงับไปไม่พนักงาน
อัยการกรมอัยการ มีอานาจฟ้องจาเลยเป็ นคดีนี ้ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๒๔/๒๕๓๐ โจทก์เคยนาเช็คฉบับพิพาท
มาฟ้องจาเลยเป็ นคดีอาญาแล้ วขอถอนฟ้องโดยอ้ างเหตุวา่ ฟ้อง
บกพร่องขอถอนเพื่อจะนาไปดาเนินคดีใหม่ เมื่อศาลอนุญาตก็
ต้ องถือว่าเป็ นการถอนฟ้องคดีอาญาให้ เสร็จไปทังเรื
้ ่ อง โจทก์จะ
นาเช็คฉบับพิพาทมาฟ้องจาเลยเป็ นคดีใหม่อีกไม่ได้ ต้ องห้ าม
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๖
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๔๐/๒๔๙๗ ราษฎรเป็ นโจทก์ฟ้อง
คดีอาญาแล้ วถอนฟ้องไปก่อนไต่สวนมูลฟ้อง แม้ จะเป็ นการถอน
ฟ้องชัว่ คราวเพื่อรอฟั งผลคดีแพ่ง โจทก์ก็ฟ้องใหม่ไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๙๓๔-๕๙๓๕/๒๕๓๓ ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญามาตรา ๓๖ หมายความว่า ในคดีอาญาที่
ผู้เสียหายคนหนึง่ ได้ ยื่นฟ้องไว้ แล้ วถอนฟ้องคดีนนไปจากศาล
ั้
ย่อมตัด
สิทธิผ้ เู สียหายคนนันที
้ ่จะฟ้องคดีอาญาในข้ อหาเดียวกันนันอี
้ กเท่านัน้
หาได้ ตดั สิทธิผ้ เู สียหายคนอื่นที่จะฟ้องคดีอาญาในข้ อหาเดียวกันนันอี
้ ก
ไม่ เพราะสิทธิในการดาเนินคดีอาญาที่ตนเป็ นผู้เสียหายย่อมเป็ นสิทธิ
เฉพาะตัวของผู้เสียหายแต่ละคน ทังมาตรานี
้
้มิได้ บญ
ั ญัติตดั สิทธิ
ผู้เสียหายแต่ละคนในกรณีที่มีผ้ เู สียหายหลายคนไว้ โดยชัดแจ้ ง ดังนัน้
โจทก์ซงึ่ เป็ นผู้เสียหายที่ได้ ถอนฟ้อง จึงมีอานาจฟ้องคดีอาญาต่อศาล
ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๘ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๖๕/๒๕๐๒ วินิจฉัยว่า ความผิดที่
พนักงานสอบสวนเปรี ยบเทียบปรับนัน้ ถ้ าเป็ นคดีที่เกิน
อานาจที่จะเปรี ยบเทียบปรับแล้ ว คดีย่อมไม่เลิกกัน
ผู้เสียหายยังมีสิทธิที่จะนาคดดีมาฟ้องต่อศาลได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๑๐๐/๒๕๑๖ จาเลยกระทาผิดกรรมเดียว
ผิดกฎหมายหลายบท เป็ นทังความผิ
้
ดลหุโทษและที่มิใช่
ความผิดลหุโทษ แต่ชนสอบสวนพนั
ั้
กงานสอบสวนตังข้
้ อหาใน
ความผิดลหุโทษแต่บทเดียว แล้ วเปรี ยบเทียบปรับไป ถือว่าเป็ น
การเปรี ยบเทียบที่ไม่ชอบด้ วยกฎหมาย ไม่ทาให้ คดีเลิกกันเป็ น
เหตุให้ สทิ ธินาคดีอาญามาฟ้องระงับไป พนักงานอัยการมีสทิ ธิ
ฟ้องจาเลยในความผิดที่มิใช่ลหุโทษได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๑๓/๒๕๓๒ การกระทาของจาเลยเป็ นการกระทากรรมเดียว
ผิดต่อกฎหมายหลายบทคือ เป็ นความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.
๒๕๒๒ มาตรา ๕๖, ๖๑ และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๙๐ ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๙๐ ให้ ใช้ บทที่หนักที่สดุ เป็ นบทลงโทษ พนักงานสอบสวน
ไม่มีอานาจเปรี ยบเทียบจาเลยในความผิดที่มีโทษเบากว่า เพื่อให้ ความผิดทุกกรรม
รวมทังความผิ
้
ดที่มีโทษหนักกว่าเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๓๗ ได้ ดังนันแม้
้ พนักงานสอบสวนจะเปรี ยบเทียบปรับจาเลยไปแล้ ว
ตาม พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๖๑ ซึง่ เป็ นความผิดบท
เบาที่สดุ การเปรี ยบเทียบนันก็
้ ไม่ชอบ คดีไม่เลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๓๗ ศาลฎีกามีอานาจวินิจฉัยปรับบทลงโทษจาเลย
ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๙๐ ซึง่ เป็ นบทที่หนักที่สดุ ให้ ถกู ต้ องได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๘๗๕/๒๕๑๕ บริ ษัทโรงภาพยนตร์ จาเลยที่ ๑ โดย
ผู้จดั การโรงภาพยนตร์ จาเลยที่ ๒ ร่วมรู้เห็นในการที่ พนักงานขายตัว๋ ใช้
อุบายเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียอากรมหรสพโดยขายตัว๋ ฉบับเดียวคิดราคาเป็ น
๒ เท่า และอนุญาตให้ ผ้ ซู ื ้อเข้ าดูภาพยนตร์ ได้ ๒ คน โดยเสียอากรเท่า
ฉบับเดียวเป็ นผลให้ จาเลยได้ เงินขายตัว๋ ส่วนที่เกินราคาเป็ นประโยชน์แห่ง
ตนเนื่องจากการกระทาของจาเลยดังกล่าว พนักงานเจ้ าหน้ าที่อากร
มหรสพได้ มีหนังสือแจ้ งให้ ผ้ จู ดั การโรงภาพยนตร์ นาเงินค่าอากรและเงิน
เพิ่มอากรไปชาระตามมาตรา ๑๓๘ ทวิ และเจ้ าหน้ าที่ได้ รับชาระเงินไว้
แล้ ว เงินจานวนนี ้ก็ไม่ใช่เงินค่าปรับเปรี ยบเทียบในทางอาญาอันจะทาให้
คดีเลิกกัน และไม่ถือว่าเป็ นการกระทาหรื อเป็ นการเปรี ยบเทียบโดยอธิบดี
กรมสรรพากรหรื อผู้ทาการแทน ตามมาตรา ๓ ทวิ อันจะคุ้มผู้ต้องหามิ
ให้ ถกู ฟ้องร้ องทางอาญาต่อไปด้ วย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๔๕๖/๒๕๓๐ ผู้กระทาความผิดใช้
อาวุธปื นยิงเจ้ าพนักงานตารวจแต่ถกู เจ้ าพนักงานตารวจ
ยิงตาย สิทธินาคดีอาญามาฟ้องผู้กระทาผิดย่อมระงับ
ไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๓๙ และโทษเป็ นอันระงับไปด้ วยความตายของ
ผู้กระทาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๘
ดังนัน้ อาวุธปื นซึง่ เป็ นปื นมีทะเบียนของผู้อื่นที่ผ้ ตู ายใช้
ยิงเจ้ าพนักงานตารวจจึงไม่อาจริบได้ ตามบทกฎหมาย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๔๑๘/๒๕๔๘ ศาลล่างทังสองพิ
้
พากษาให้
ริ บรถยนต์กระบะของกลางของจาเลยที่ ๑ ทังที
้ ่ได้ ความเพียงว่า
จาเลยที่ ๑ เพียงแต่ใช้ รถยนต์กระบะของกลางเป็ นยานพาหนะ
เดินทางไปยังที่เกิดเหตุ มิได้ ใช้ ในการกระทาความผิดในคดีนี ้
โดยตรง และพิพากษาให้ ริบรถยนต์กระบะของกลางของจาเลยที่
๒ ทังที
้ ่จาเลยที่ ๒ ถึงแก่ความตายแล้ ว และสิทธินาคดีอาญามา
ฟ้องสาหรับจาเลยที่ ๒ ระงับลงตาม ปวิอ. มาตรา ๓๙ (๑) และ
โทษย่อมระงับไปด้ วยความตายของผู้กระทาความผิดตาม ปอ.
มาตรา ๓๘ จึงเป็ นการไม่ชอบ แม้ ฝ่ายจาเลยจะมิได้ ฎีกาใน
ปั ญหานี ้ แต่เนื่องจากเป็ นปั ญหาเกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้ อย
ศาลฎีกามีอานาจยกขึ ้นวินิจฉัยและแก้ ไขให้ ถกู ต้ องได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๔๗/๒๕๒๙ พนักงานอัยการเป็ นโจทก์
ฟ้องจาเลยข้ อหาวิ่งราวทรัพย์สร้ อยข้ อมือทองคาหนักสองสลึง ๑
เส้ น ราคา ๒,๘๐๐ บาท ของผู้เสียหายและมีคาขอให้ คืนหรื อใช้
ราคาทรัพย์ดงั กล่าวแก่ผ้ เู สียหาย คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณา
ของศาลฎีกาจาเลยถึงแก่ความตาย สิทธินาคดีอาญามาฟ้อง
ย่อมระงับไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๙(๑) มีผล
ทาให้ คาพิพากษาของศาลล่างระงับไปในตัว ศาลฎีกามีคาสัง่
จาหน่ายคดี
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๔๑/๒๕๔๘ กระจกบานเกล็ดหน้ าต่างที่
จาเลยทาแตกเสียหายเป็ นทรัพย์สนิ ของ อ. เจ้ าของหอพัก ซึง่ หลัง
เกิดเหตุจาเลยได้ นากระจกบานเกล็ดหน้ าต่างมาเปลี่ยนแทนบาน
เกล็ดที่แตกโดยความรับรู้ของ ส. สามีของ อ. ซึง่ เป็ นผู้ดแู ลหอพัก
และจาเลยชดใช้ คา่ เสียหายให้ แก่ ส. เป็ นเงิน ๕๐๐ บาท แล้ ว
แสดงว่าจาเลยกับเจ้ าของหอพักซึง่ เป็ นเจ้ าของทรัพย์ที่เสียหายได้
ยอมความกันโดยชอบมาแต่แรกหลังเกิดเหตุ สิทธินาคดีอาญามา
ฟ้องในความผิดฐานทาให้ เสียทรัพย์จงึ ระงับไปตามนัยแห่ง ปวิอ.
มาตรา ๓๙ (๒) ผู้เสียหายย่อมไม่มีสทิ ธิร้องทุกข์ โจทก์จงึ ไม่มี
อานาจฟ้องจาเลยในความผิดฐานนี ้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๗๕๑/๒๕๔๗ สัญญาประนีประนอมยอม
ความในคดีแพ่งที่ไม่มีข้อตกลงว่า ผู้เสียหายไม่ติดใจดาเนินคดี
แก่จาเลยในทางอาญา ไม่ทาให้ สทิ ธินาคดีอาญามาฟ้องของ
โจทก์ระงับไปตาม
ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๔๐๖/๒๕๔๘ บันทึกการยอมรับสภาพหนี ้ มีเพียง
ข้ อความว่าจาเลยยอมรับและยินยอมชดใช้ เงินคืนแก่สมาชิกกลุ่มออม
ทรัพย์พร้ อมด้ วยดอกเบี ้ยภายในระยะเวลา ๑ ปี นับแต่ให้ ถ้อยคานี ้ และ
หากไม่ปฏิบตั ิตามไม่วา่ ด้ วยเหตุใดๆ จาเลยยินยอมให้ คณะกรรมการกลุม่
หรื อสมาชิกกลุม่ หรื อทางราชการดาเนินการตามกฎหมาย ข้ อความใน
บันทึกดังกล่าวไม่ปรากฏว่าผู้เสียหายได้ แสดงความประสงค์ที่จะสละสิทธิ
ในการดาเนินคดีอาญาต่อจาเลยหรื อไม่ จะถือว่าสิทธิในการดาเนินคดี
อาญาของโจทก์ระงับไปหาได้ ไม่ การยอมความกันโดยถูกต้ องตาม
กฎหมายนัน้ ข้ อตกลงจะต้ องปรากฏชัดแจ้ งว่า ผู้เสียหายไม่ติดใจเอา
ความหรื อสละสิทธิในการดาเนินคดีอาญาต่อจาเลยแล้ วสิทธิในการ
ดาเนินคดีอาญามาฟ้องของโจทก์จงึ ไม่ระงับไปตาม มาตรา๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๔๒๑/๒๕๒๘ ฟ้องว่าจาเลยกระทาผิด พระราชบัญญัติวา่ ด้ วยความผิด
อันเกิดจากการใช้ เช็ค เมื่อสืบพยานโจทก์เสร็จแล้ วคดีอยูร่ ะหว่างสืบพยานจาเลย จาเลยส่ง
หนังสือสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์ร่วมกับจาเลยต่อศาล และแถลงว่าสิทธิ
นาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ระงับไปแล้ ว โจทก์ร่วมรับว่าทาสัญญาประนีประนอมยอมความ
จริงแต่ทาด้ วยความสาคัญผิด แต่โจทก์กไ็ ม่ได้ แถลงขอสืบพยานเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสมบูรณ์
ของสัญญาประนีประนอมยอมความเพื่อให้ เห็นว่าสัญญาไม่สมบูรณ์ไม่ทาให้ สิทธินาคดีมาฟ้อง
ระงับไป ทังที
้ ่โจทก์มีสิทธิทาได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ม.๘๘
ประกอบด้ วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม.๑๕ เมื่อโจทก์ไม่สืบพยานให้ เห็นว่า
โจทก์ร่วมทาสัญญานันโดยส
้
าคัญผิดก็ต้องฟั งว่าสัญญานันสมบู
้
รณ์ สิทธิ นาคดีมาฟ้องย่อม
ระงับไป การยอมความกันโดยชอบด้ วยกฎหมายตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา ม.๓๙(๒) นัน้ ไม่จาเป็ นต้ องกระทาต่อหน้ าศาลเสมอไป อาจกระทากันนอกศาลก็ได้
แต่กรณีที่โจทก์ไม่นาสืบให้ เห็นว่าผู้เสียหายหรื อโจทก์ร่วมถูกหลอกให้ ทาสัญญาและไม่นาสืบให้
เห็นว่า ผู้เสียหายหรื อโจทก์ร่วมไม่ยอมรับข้ อสัญญาโดยที่ภาระการพิสจู น์ตกแก่โจทก์ จึงต้ องฟั ง
ว่าสัญญาประนีประนอมยอมความนันชอบด้
้
วยกฎหมายแล้ ว
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๔๕๕/๒๕๕๕ หนังสือรับสารภาพเป็ น
เพียงเอกสารที่จาเลยรับว่าไม่ได้ นาเงินจานวน ๓,๒๗๖,๘๐๘
บาท ส่งคืนโจทก์ร่วม ยอมรับว่าได้ กระทาผิดจริ ง และยอมชดใช้
เงินจานวนดังกล่าวคืนให้ โจทก์ร่วม โดยยินยอมให้ ยดึ ถือที่ดิน
และรถยนต์ไว้ ก่อน ไม่มีข้อความตอนใดเลยที่แสดงว่าโจทก์ร่วม
ตกลงไม่ติดใจเอาความในทางอาญาแก่จาเลย จึงไม่เป็ นการ
ยอมความทางอาญาโดยถูกต้ องตามกฎหมาย สินธินาคดีอาญา
มาฟ้องจึงไม่ระงับตาม ปวิอ. มาตราท๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๙๗๗/๒๕๒๓ จาเลยสัง่ จ่ายเช็คชาระหนี ้ให้ แก่
โจทก์ ๙ ฉบับ แต่โจทก์รับเงินตามเช็คไม่ได้ จึงแจ้ งความร้ องทุกข์ตอ่
พนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลจักรวรรดิและสถานีตารวจภูธร
อาเภอเมืองสมุทรปราการ ต่อมาโจทก์จาเลยตกลงกันให้ โจทก์ถอน
คดีที่แจ้ งความไว้ โดยจาเลยชาระให้ เป็ นเงินสดและออกเช็ค จ.๑ แก่
โจทก์ ข้ อตกลงระหว่างโจทก์จาเลยจึงเป็ นการยอมความในคดีอาญา
ความผิดส่วนตัว แม้ จะไม่มีหลักฐานเป็ นหนังสือประนีประนอมยอม
ความ ก็มีผลทาให้ สิทธินาคดีอาญามาฟ้องระงับไป โจทก์ยงั มิได้ ถอน
คาร้ องทุกข์ตามที่ได้ ตกลงไว้ แม้ เช็ค จ.๑ ที่จาเลยออกให้ โจทก์ใน
คราวหลังธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน จาเลยก็ไม่มีความผิด
ตาม พระราชบัญญัติวา่ ด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ค
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๗๖๗/๒๕๒๗ ผู้เสียหายยอมรับเงินสดและเช็ค
จากจาเลยเป็ นการชาระหนี ้แทนเช็คเดิมซึง่ ผู้เสียหายได้ ร้องทุกข์แก่
พนักงานสอบสวนไว้ แล้ ว และได้ นาเช็คไปเรี ยกเก็บเงินจากธนาคารตาม
เช็คด้ วย แสดงว่าผู้เสียหายไม่ติดใจดาเนินคดีเกี่ยวกับเช็คเดิมข้ อตกลง
ระหว่างผู้เสียหายกับจาเลยจึงเป็ นการยอมความกันในคดีอาญา
ความผิดต่อส่วนตัว แม้ จะไม่มีหลักฐานเป็ นหนังสือประนีประนอมยอม
ความก็มีผลทาให้ สิทธินาคดีอาญามาฟ้องระงับไป และผูกพันพนักงาน
อัยการโจทก์ การที่ผ้ เู สียหายยังไม่ได้ รับเงินตามเช็คใหม่ ก็ไม่เป็ น
เงื่อนไขในการตกลงยอมความ เพราะผู้เสียหายชอบที่จะดาเนินคดีแก่
จาเลยเป็ นคดีใหม่ตอ่ ไปได้ โจทก์ไม่มีสิทธิรือ้ ฟื น้ คดีเกี่ยวกับเช็คเดิมซึง่
ยุติไปแล้ วมาฟ้องจาเลยอีก เพราะสิทธิการฟ้องคดีของโจทก์ระงับไป
แล้ วตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๔๐๓/๒๕๐๘ การถอนคาร้ องทุกข์ใน
คดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวจะต้ องกระทำภำยหลังจำกที่
ควำมผิดเกิดขึน้ แล้ ว การที่ทาความตกลงกันไว้ ลว่ งหน้ าว่า จะ
ไม่ดาเนินคดีอาญาต่อกัน ไม่ใช่การยอมความตามมาตรา ๓๕
วรรคสอง และ มาตรา ๓๙(๒) แต่อาจถือเป็ นความยินยอมที่
อาจทาให้ การกระทาไม่เป็ นความผิดได้ หากไม่ขดั ต่อสานึกหรื อ
ศีลธรรมอันดีงาม
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๑๘/๒๕๔๑ การที่โจทก์และจาเลยแถลงร่ วมกันว่า
คดีสามารถตกลงกันได้ โดยจาเลยจะรี บไปดาเนินการถมดินให้ กบั โจทก์
เป็ นที่เรี ยบร้ อย หากถมดินให้ กบั โจทก์เรี ยบร้ อยแล้ วก็สามารถหักกลบลบ
หนี ้ตามฟ้องกับโจทก์ได้ ข้ อตกลงดังกล่าวมีเจตนาจะไม่ให้ มลู หนี ้เดิม
ระงับทันทีแต่มีเงื่อนไขในลักษณะที่โจทก์มีเจตนาจะให้ จาเลยทางานให้
โจทก์แล้ วเสร็จก่อน แล้ วจึงหักค่าจ้ างกับมูลหนี ้ที่ออกเช็คพิพาทคดีนี ้กัน
ภายหลัง จึงมิใช่เป็ นการยอมความเพื่อให้ คดีระงับไปตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙(๒) หรื อเป็ นการแปลงหนี ้
ใหม่ ดังนี ้เมื่อจาเลยไม่ชาระหนี ้ให้ แก่โจทก์ตามที่แถลง หนี ้ที่ได้ ออกเช็ค
เพื่อใช้ เงินนันย่
้ อมไม่สิ ้นผลผูกพันตาม พระราชบัญญัติวา่ ด้ วยความผิด
อันเกิดจากการใช้ เช็ค พ.ศ.๒๕๓๔มาตรา ๗ คดีจงึ ไม่เลิกกันตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๐๐/๒๕๓๖ ผู้เสียหายและจาเลยได้ ทา
บันทึกกันไว้ วา่ ถ้ าจาเลยนาเงินมาคืนผู้เสียหายภายในกาหนด ก็
จะไม่เอาเรื่ องทังทางคดี
้
แพ่งและคดีอาญา มิใช่เป็ นการยอม
ความโดยสิ ้นเชิง หากแต่เป็ นการยอมความโดยมีเงื่อนไข การ
ยอมความในกรณีเช่นนี ้จะมีผลทาให้ สทิ ธินาคดีอาญามาฟ้อง
ระงับไปต่อเมื่อจาเลยใช้ เงินคืนผู้เสียหายแล้ ว
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๔๑๒/๒๕๔๗ บันทึกเงื่อนไขการชาระหนี ้ที่จาเลย
ตกลงยินยอมผ่อนชาระหนี ้ตามเช็คพิพาทกับหนี ้ในคดีอื่นอีกพร้ อม
ดอกเบี ้ยให้ แก่โจทก์ หากจาเลยปฏิบตั ิการชาระหนี ้ตามบันทึกครบถ้ วน
โจทก์จะถอนฟ้องคดีนี ้และคดีอื่นทังหมด
้
หากจาเลยผิดเงื่อนไขยินยอม
ให้ ยกคดีนี ้ขึ ้นพิจารณาต่อไปตามที่โจทก์และจาเลยทังสองตกลงกั
้
นนัน้
เป็ นเพียงข้ อตกลงที่จาเลยทังสองจะชดใช้
้
เงินของโจทก์ที่ยงั ได้ รับชาระหนี ้
ไม่ครบถ้ วน ไม่มีข้อความตอนใดแสดงว่าโจทก์ตกลงเลิกหรื อระงับการ
ดาเนินคดีอาญาแก่จาเลยทังสอง
้ ข้ อตกลงดังกล่าวเป็ นเพียงบันทึกที่จะ
ชดใช้ คา่ เสียหายในทางแพ่ง มิใช่การยอมความอันมีผลทาให้ สิทธิในการ
ดาเนินคดีอาญาของโจทก์ต้องระงับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๒) คดีจงึ
ยังไม่เลิกกัน
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๙๗๗/๒๕๔๘ ในระหว่างการพิจารณาคดีโจทก์และจาเลยทังสองได้
้
ทา
บันทึกเงื่อนไขการชาระหนี ้ว่า จาเลยทังสองยิ
้
นยอมผ่อนชาระต้ นเงินตามเช็คที่โจทก์นามาฟ้อง
ในคดีนี ้และในคดีอื่นอีกรวม ๗ คดี โดยตกลงผ่อนชาระเป็ นงวดๆ รวม ๔๗ งวด พร้ อมชาระ
ดอกเบี ้ยอัตราร้ อยละ ๑๕ ต่อปี ของต้ นเงินตามเช็คแต่ละฉบับ โดยผ่อนชาระ ๔ งวด และโจทก์
จะจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์บรรทุกให้ แก่จาเลยที่ ๑ เมื่อจาเลยทังสองช
้
าระดอกเบี ้ยใน
แต่ละงวด หากจาเลยทังสองปฏิ
้
บตั ิตามบันทึกนี ้ครบถ้ วนแล้ วโจทก์จะถอนฟ้องคดีนี ้และคดีอื่นๆ
เป็ นคดีไป แต่หากจาเลยทังสองผิ
้
ดเงื่อนไขข้ อใดข้ อหนึง่ จาเลยทังสองยิ
้
นยอมให้ โจทก์แถลงต่อ
ศาลเพื่อยกคดีที่จาเลยทังสองยั
้
งไม่ชาระเงินตามเช็คให้ แก่โจทก์ขึ ้นพิจารณาเป็ นคดีตอ่ ไป เป็ น
ข้ อตกลงในการผ่อนชาระหนี ้ตามเช็คที่โจทก์นามาฟ้องในแต่ละคดีเท่านัน้ โดยจาเลยทังสอง
้
จะต้ องผ่อนชาระหนี ้ตามเช็คพร้ อมดอกเบี ้ยในแต่ละคดีจนครบจานวนตามที่ตกลงกันดังกล่าว
โจทก์จงึ จะถือเป็ นการระงับคดีอาญาแต่ละคดีอนั เป็ นเงื่อนไขที่โจทก์จะปฏิบตั ิในภายหน้ า และ
ตามบันทึกเงื่อนไขการชาระหนี ้ดังกล่าวก็ไม่มีข้อความตอนใดแสดงว่า โจทก์ตกลงระงับข้ อ
พิพาทหรื อสละสิทธิในการดาเนินคดีอาญาแก่จาเลยทังสองทั
้
นทีแต่อย่างใด จึงไม่มีผลเป็ นการ
ยอมความกันโดยถูกต้ องตามกฎหมาย สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ยงั ไม่ระงับไปตาม
ปวิอ. มาตรา ๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๐๓๘/๒๕๓๑ จาเลยกระทาอนาจาร
ผู้เสียหายแล้ วพูดขอโทษอย่าให้ ผ้ เู สียหายเอาเรื่ อง ผู้เสียหายว่า
แล้ วกันไปแต่อย่าพูดให้ เสียหาย การที่ผ้ เู สียหายพูดกับจาเลย
ดังกล่าวเป็ นการอภัยแก่จาเลยเมื่อจาเลยได้ ขอโทษผู้เสียหายแล้ ว
โดยมีเงื่อนไขว่า จาเลยจะไม่ไปพูดให้ ผ้ เู สียหายได้ รับความ
เสียหาย ยังไม่ถือว่าเป็ นการยอมความกันโดยถูกต้ องตาม
กฎหมายเพราะผู้เสียหายมิได้ พดู ว่าจะไม่ดาเนินคดีกบั จาเลย
ตลอดไปแต่ผ้ เู สียหายจะไม่ดาเนินคดีกบั จาเลยต่อเมื่อจาเลยไม่
พูดให้ เสียหายดังนันสิ
้ ทธินาคดีอาญามาฟ้องย่อมไม่ระงับไปตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙(๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๐๑๖/๒๕๐๐(ประชุมใหญ่ ) บุกรุก
นาครัง้ หนึ่ง ผู้เสียหายแจ้ งต่อผู้ใหญ่บ้านผู้บกุ รุกรับว่าจะไม่
ทานานันต่
้ อไป ผู้เสียหายจึงว่าถ้ าแกหยุดก็ไม่เอาเรื่ อง
ต่อมาเดือนเศษผู้บกุ รุกเข้ าทานาอีก ผู้เสียหายอาจร้ องทุกข์
ได้ อีก และการที่ผ้ เู สียหายไม่เอาเรื่ องสาหรับครัง้ แรกก็
เพียงแต่ให้ รอการดาเนินคดี ไม่ทาให้ ความผิดครัง้ แรกสิ ้นไป
แม้ ไม่ฟ้องถึงการกระทาผิดครัง้ หลัง ศาลก็ลงโทษถึงการบุก
รุกครัง้ แรกได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๗๐๓/๒๕๕๕ สัญญาประนีประนอมยอมความระหว่าง
โจทก์ร่วมกับจาเลยมีใจความว่า จาเลยยอมรับว่าเป็ นหนี ้ผู้เสียหาย ผู้เสียหายและ
จาเลยตกลงชาระหนี ้กันเป็ นงวดๆ โดยผู้เสียหายไม่คิดดอกเบี ้ย เมื่อจาเลยชาระ
หนี ้ทังหมดแล้
้
ว ผู้เสียหายตกลงว่าจาถอนคาร้ องทุกข์ให้ หากจาเลยไม่ปฏิบตั ิตาม
สัญญานี ้ ผู้เสียหายขอดาเนินการสืบพยานทันที เห็นได้ วา่ เป็ นข้ อตกลงในการ
ผ่อนชาระหนี ้ที่จาเลยฉ้ อโกงโจทก์ร่วมและผู้เสียหายที่ ๒ เท่านัน้ โดยจาเลย
จะต้ องผ่อนชาระหนี ้ที่ฉ้อโกงโจทก์ร่วมและผู้เสียหายที่ ๒ จนครบก่อนโจทก์ร่วมจึง
จะถอนคาร้ องทุกข์อนั เป็ นเงื่อนไขที่โจทก์ร่วมจะปฏิบตั ิในภายหน้ า และตาม
สัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวไม่มีข้อความตอนใดแสดงว่าโจทก์ร่วมตก
ลงระงับข้ อพิพาทหรื อสละสิทธิในการดาเนินคดีอาญาแก่จาเลยทันที จึงไม่มีผล
เป็ นการยอมความกันโดยถูกต้ องตามกฎหมาย สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์
ยังไม่ระงับตาม ปวิอ มาตรา ๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๐๐/๒๕๐๘ จาเลยหลอกลวงผู้เยาว์อายุ ๑๖
ปี ว่า คูร่ ักต้ องการพบ ผู้เยาว์หลงเชื่อตามจาเลยไปแล้ วถูกจาเลย
ข่มขืนกระทาชาเรากับหน่วงเหนี่ยวกักขัง โจทก์และภริ ยาเป็ นบิดา
มารดาของผู้เยาว์รับขมาด้ วยเงิน ๒,๐๐๐ บาท โดยยังไม่ได้ ตกลง
กันเกี่ยวกับความผิดในทางอาญา และยอมรับขมาเพื่อให้ ได้ ตวั
ผู้เสียหายกลับคืนมาและเพื่อล้ างอายกับเข้ าใจว่าบุตรของตนตาม
เขาไป ดังนี ้ เป็ นเรื่ องตกลงกันในทางแพ่งไม่เกี่ยวกับความผิด
ในทางอาญา จึงถือไม่ได้ วา่ มีการยอมความกันถูกต้ องตาม
กฎหมาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา
๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๖๐๐/๒๕๔๓ โจทก์ฟ้องจาเลยเป็ นคดีแพ่งเรี ยกให้ จาเลยชาระ
เงินตามเช็คพิพาท และฟ้องเป็ นคดีอาญาขอให้ ลงโทษตามพระราชบัญญัติว่าด้ วย
ความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็คฯ ต่อมาโจทก์จาเลยได้ ทาสัญญาประนีประนอมยอม
ความกันในคดีแพ่ง โดยมีข้อความระบุวา่ ไม่ถือว่าได้ ตกลงยอมความในคดีอาญา
หากจาเลยไม่ชาระหนี ้ตามสัญญานี ้โจทก์ยงั ประสงค์ที่จะดาเนินคดีอาญากับจาเลย
จนถึงที่สดุ ดังนี ้ ผลของสัญญาประนีประนอมยอมความในคดีแพ่งย่อมทาให้ โจทก์
มีสทิ ธิที่จะเรี ยกให้ จาเลยชาระหนี ้แก่ตนตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
เท่านัน้ หนี ้ที่จาเลยออกเช็คพิพาทเพื่อใช้ เงินจึงเป็ นอันสิ ้นผลผูกพันและเมื่อสิ ้นผล
ผูกพันไปก่อนศาลมีคาพิพากษาถึงที่สดุ ในคดีอาญา คดีจึงเป็ นอันเลิกกัน สิทธิของ
โจทก์ในการนาคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปด้ วย และสิทธินาคดีอาญามาฟ้อง
ระงับไปนี ้ย่อมเป็ นไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย ไม่ใช่เรื่ องที่คสู่ ญ
ั ญาจะทา
สัญญาหรื อตกลงกันไม่ให้ สทิ ธินาคดีอาญามาฟ้องระงับไปได้ ข้ อตกลงในสัญญา
ประนีประนอมยอมความที่ระบุไม่ให้ สทิ ธินาคดีอาญามาฟ้องเป็ นอันระงับไป จึงมี
วัตถุประสงค์ขดั ต่อกฎหมายโดยชัดแจ้ งและตกเป็ นโมฆะ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๑๖๖/๒๕๓๘ การที่ผ้ เู สียหายยอมรับเช็ค
จานวน ๒๕ ฉบับจากจาเลยที่ ๑ แทนเช็คพิพาท แม้ ในขณะรับเช็ค
ดังกล่าวผู้เสียหายยังไม่คืนเช็คพิพาทแก่จาเลยแต่มีการทาบันทึก
ไว้ วา่ "เช็คชุดเก่ายังไม่ได้ คืน" ทังปรากฏว่
้
าผู้เสียหายได้ นาเช็คที่
จาเลยออกให้ ใหม่บางฉบับที่ถึงกาหนดไปเรี ยกเก็บเงิน แสดง
ว่าผู้เสียหายเจตนาเข้ าถือสิทธิตามเช็คดังกล่าวแล้ ว ย่อมเป็ น
การสละสิทธิในเช็คพิพาทรวมทังสิ
้ ทธิที่จะดาเนินคดีอาญากับ
จาเลย ถือได้ วา่ เป็ นการยอมความ สิทธิในการนาคดีอาญามา
ฟ้องย่อมเป็ นอันระงับสิ ้นไป
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๘๘๘-๒๘๘๙/๒๕๔๘ โจทก์ร่วมยอมรับ
เช็คจานวน ๕ ฉบับ เพื่อแลกเปลี่ยนกับเช็คพิพาทจานวน ๒ ฉบับ
แม้ จะยังไม่ยอมคืนเช็คพิพาททังสองฉบั
้
บให้ แก่จาเลยในขณะรับ
เช็ค ๕ ฉบับ แต่การที่โจทก์ร่วมนาเช็คพิพาททังห้
้ าฉบับไปเรี ยก
เก็บเงินแล้ วแสดงว่าโจทก์ร่วมเข้ าถือสิทธิตามเช็ดดังกล่าวและ
สละสิทธิไม่ยดึ ถือสิทธิใดๆที่มีอยูใ่ นเช็คพิพาททังสองฉบั
้
บอีก
ต่อไป รวมทังสิ
้ ทธิที่จะดาเนินคดีอาญาแก่จาเลยด้ วย ข้ อตกลง
แลกเปลี่ยนเช็คดังกล่าวถือได้ วา่ เป็ นการยอมความกัน ทาให้ สทิ ธิ
นาคดีอาญามาฟ้องสาหรับเช็คพิพาททังสองฉบั
้
บระงับไปตาม
ปวิอ. มาตรา ๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๖๘๐/๒๕๓๑ คาสัง่ ของบุคคลซึง่ มิได้ เป็ นผู้บงั คับบัญชาที่ได้
มอบหมายงานให้ จาเลยปฏิบตั ิ เป็ นคาสัง่ ที่ออกโดยไม่มีอานาจ จาเลยจึงไม่เป็ นเจ้ า
พนักงานผู้มีอานาจกระทาการตามคาสัง่ นัน้ การที่จาเลยรับเงินค่าดูดสิ่งปฏิกลู ของ
เทศบาลซึง่ มิใช่หน้ าที่ของจาเลยแล้ วเบียดบังไว้ จงึ ไม่เป็ นความผิดตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๑๔๗,๑๕๗ และ ๑๖๑ แต่เป็ นความผิดฐานยักยอกตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๕๒ ซึง่ เป็ นความผิดอันยอมความได้ แม้ ตอ่ มา
จาเลยจะได้ นาเงินจานวนที่ยกั ยอกไปดังกล่าวมาชดใช้ คืนแก่เทศบาลก็ตาม ก็เป็ น
เพียงการกระทาเพื่อบรรเทาความเสียหายเท่านัน้ เมื่อไม่ปรากฏว่าเทศบาลซึง่ เป็ น
ผู้เสียหายตกลงให้ ระงับข้ อพิพาทหรื อสละสิทธิในการดาเนินคดีอาญากับจาเลย
เช่นนี ้ ย่อมถือไม่ได้ วา่ เป็ นการยอมความกันโดยถูกต้ องตามกฎหมายที่จะทาให้
สิทธินาคดีอาญามาฟ้องระงับตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๓๙(๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๐๗๕/๒๕๔๕ ฎีกาของจาเลยกล่าวแต่เพียง
ว่า จาเลยใช้ เงินคืนแก่ผ้ เู สียหายเพื่อแลกกับอิสรภาพ เมื่อผู้เสียหาย
ยอมรับเงินคืนจากจาเลย ย่อมเชื่อหรื อสันนิษฐานได้ ว่าผู้เสียหาย
ไม่ติดใจเอาความกับจาเลยเท่านัน้ จาเลยมิได้ อ้างว่าผู้เสียหายไม่
ติดใจเอาความกับจาเลย ทังผู
้ ้ เสียหายก็เบิกความว่า ยังติดใจ
ดาเนินคดีแก่จาเลยอยูเ่ พราะเป็ นตัวอย่างที่ไม่ดี อันเป็ นการยืนยัน
ว่าผู้เสียหายไม่ได้ ยอมความกับจาเลย สิทธินาคดีอาญามาฟ้องใน
ความผิดฐานฉ้ อโกงจึงไม่ระงับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๘๔/๒๕๔๗ จากข้ อความที่ปรากฏใน
เอกสารได้ ความแต่เพียงว่า เงินค่าราคาสินค้ าที่จาเลยรับมาจาก
ลูกค้ าแล้ วไม่สง่ มอบให้ แก่ผ้ เู สียหายมีจานวน ๙๔,๗๒๙ บาท
จาเลยจะนามาส่งคืนให้ ผ้ เู สียหายในวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
เท่านัน้ ไม่ปรากฏข้ อความหรื อพฤติการณ์ใดเลยว่า ผู้เสียหายได้
ตกลงยินยอมที่จะไม่ดาเนินคดีทางอาญาเกี่ยวกับความผิดฐาน
ยักยอกทรัพย์ที่จาเลยกระทาขึ ้นให้ ระงับหรื อเลิกกันไป สิทธินา
คดีอาญามาฟ้องของโจทก์จงึ ยังไม่ระงับไป
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๗๔๙/๒๕๑๗ จาเลยจ่ายเช็คชาระหนี ้ค่า
ซื ้อเป็ ดให้ โจทก์เป็ นเงิน ๑๔,๑๐๗ บาท แต่เบิกเงินไม่ได้ โจทก์
จึงฟ้องให้ ลงโทษจาเลยตาม พระราชบัญญัติวา่ ด้ วยความผิดอัน
เกิดจากการใช้ เช็ค ต่อมาจาเลยได้ นาเช็คจานวนเงิน ๑๓,๐๐๐
บาท มาชาระหนี ้ค่าเป็ ดให้ โจทก์ แต่หนี ้ที่ค้างอยู่อีก ๑,๑๐๗ บาท
นัน้ จาเลยยังไม่ได้ ชาระและโจทก์ไม่คืนเช็คฉบับแรกให้ จาเลย
แสดงว่าโจทก์ไม่ประสงค์จะให้ คดีอาญาระงับ ยังถือไม่ได้ วา่ ได้ มี
การยอมความกัน อันจะทาให้ สทิ ธิที่จะดาเนินเป็ นอาญาของ
โจทก์ระงับไป
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๒๔๗/๒๕๔๕ หลังจากที่จาเลยเป็ นหนี ้ค่าทองรูปพรรณและ
ออกเช็คพิพาทเพื่อชาระหนี ้ให้ โจทก์แล้ ว ย.ภริยาโจทก์และจาเลยได้ ตกลงกันทา
หนังสือสัญญากู้ขึ ้นมีเนื ้อความว่า จาเลยได้ ก้ ยู ืมเงินภริยาโจทก์ไปจานวน
๕๐๐,๐๐๐ บาท จะใช้ คืนให้ ภายใน ๖ เดือน นับจากวันทาสัญญา โดยภริยาโจทก์
ลงชื่อเป็ นผู้ให้ ก้ แู ละจาเลยลงชื่อเป็ นผู้ก้ ู เป็ นกรณีที่โจทก์ยินยอมให้ นามูลหนี ้ตาม
เช็คพิพาทมาเปลี่ยนเป็ นมูลหนี ้กู้ยืมระหว่างจาเลยกับภริยาโจทก์ สัญญากู้ดงั กล่าว
จึงเป็ นการตกลงทาสัญญาแปลงหนี ้ใหม่โดยเปลี่ยนตัวเจ้ าหนี ้ สทิ ธิเรี ยกร้ องของ
โจทก์ที่มีอยูเ่ ดิมย่อมระงับสิ ้นไป แม้ วา่ จาเลยไม่เคยชาระเงินตามสัญญากู้แต่อย่าง
ใดก็หามีผลทาให้ การแปลงหนี ้ใหม่ดงั กล่าวเสียไปไม่ มูลหนี ้ที่จาเลยได้ ออกเช็ค
พิพาทเพื่อใช้ เงินนัน้ จึงสิ ้นผลผูกพันไปก่อนที่ศาลมีคาพิพากษาถึงที่สดุ คดีเป็ นอัน
เลิกกัน ตาม พ.ร.บ.ว่าด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็คฯ มาตรา ๗ สิทธินา
คดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปตามป.วิ.อ. มาตรา ๓๙
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๗๙/๒๕๔๕ แม้ สญ
ั ญากู้เงินซึง่ เป็ นมูลหนี ้ที่ออกเช็ค
พิพาทที่โจทก์นามาฟ้องจาเลยทังสามจะรวมอยู
้
ใ่ นกลุม่ สินทรัพย์ของโจทก์
ซึง่ ถูกองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงินเข้ าควบคุมกิจการและได้
ขายให้ แก่บริ ษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ก. ไปแล้ วก็ตาม แต่ก็เป็ นเพียงการโอน
สิทธิเรี ยกร้ องมูลหนี ้ที่ออกเช็คที่ถกู บังคับโอน ตาม พ.ร.ก.การปฏิรูประบบ
สถาบันการเงินฯ มาตรา ๒๗ ไม่ทาให้ จาเลยที่ ๑ หลุดพ้ นจากมูลหนี ้ที่ออก
เช็คพิพาทแต่อย่างใดจนกว่าจะได้ มีการใช้ เงิน เมื่อจาเลยทังสามยั
้
งมิได้
ชาระเงินตามสัญญากู้เงินอันเป็ นมูลหนี ้ที่ออกเช็คดังกล่าว มูลหนี ้ตาม
สัญญากู้เงินยังไม่สิ ้นผลผูกพัน ทังนี
้ ้ไม่ต้องคานึงว่าโจทก์จะสามารถ
ดาเนินกิจการและรับชาระหนี ้จากลูกหนี ้ได้ หรื อไม่ คดีจงึ ไม่เลิกกันตาม
พ.ร.บ.ว่าด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ค มาตรา ๗ สิทธินาคดีอาญา
มาฟ้องยังไม่ระงับไปตามป.วิ.อ. มาตรา ๓๙
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๕๗/๒๕๔๐ โจทก์ฟ้องขอให้ ลงโทษจาเลยตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๘๓,๓๖๒,๓๖๕ ศาลชันต้
้ นพิพากษาว่า จาเลยมีความผิดฐานบุกรุก ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๓๖๕(๓)อันเป็ นความผิดอาญาแผ่นดิน จาเลยอุทธรณ์ หากตราบใดที่
ยังไม่มีคาพิพากษาศาลสูงเปลี่ยนแปลงคาพิพากษาศาลชันต้
้ น ก็ต้องถือว่าจาเลยมีความผิดตาม
มาตรา ๓๖๕(๓) อันเป็ นคดีความผิดอาญาแผ่นดิน มิใช่เป็ นคดีความผิดต่อส่วนตัว โจทก์หามี
สิทธิขอถอนฟ้องจาเลยในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ไม่ ที่ศาลอุทธรณ์มีคาสัง่ ไม่
อนุญาตให้ โจทก์ถอนฟ้องจาเลยนันชอบแล้
้
ว แต่ตอ่ มาภายหลังเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ เป็ น
ว่า จาเลยมีความผิดฐานบุกรุกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๖๒ อันเป็ นความผิดต่อ
ส่วนตัวและยังไม่มีคาพิพากษาศาลสูงเปลี่ยนแปลงแก้ ไข ก็ต้องถือว่าคดีนี ้เป็ นคดีความผิดต่อ
ส่วนตัว เมื่อคดียงั ไม่ถงึ ที่สดุ และตามคาร้ องขอถอนฟ้องของโจทก์อ้างว่า โจทก์และจาเลยตกลง
กันได้ โจทก์จงึ ไม่ประสงค์จะดาเนินคดีนี ้กับจาเลยต่อไป จาเลยไม่คดั ค้ าน และท้ ายคาร้ อง
ดังกล่าวได้ ลงชื่อจาเลยไว้ ด้วย ดังนี ้ตามคาร้ องขอถอนฟ้องของโจทก์ข้างต้ นเป็ นการยอมความ
กันโดยถูกต้ องตามกฎหมายแล้ ว สิทธินาคดีอาญามาฟ้องจาเลยย่อมระงับไปตาม ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๒)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๘๑๔/๒๕๔๘ คดีนี ้มีปัญหาที่ต้องวินิจฉัยว่า เงินสด
ของกลางจานวน ๑๑๖,๖๐๐ บาท เป็ นทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทา
ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้ โทษของผู้คดั ค้ านทังสองตาม
้
พรบ.
มาตรการในการปราบปรามผู้กระทาความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ฯ และให้
ริ บเงินสดดังกล่าวตกเป็ นของกองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
หรื อไม่ แต่ในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ ๑๘๑๕/๒๕๔๔ ของศาลชันต้
้ น คดี
ก่อน มีปัญหาที่ต้องวินิจฉัยว่าเงินสดของกลางเป็ นทรัพย์สินที่ได้ ใช้ หรื อมีไว้
เพื่อใช้ ในการกระทาความผิดหรื อได้ มาโดยการกระทาความผิดในคดี
ดังกล่าวที่ต้องริ บให้ ตกเป็ นของแผ่นดินตาม พรบ. ยาเสพติดให้ โทษ ฯ และ
ปวิอ. หรื อไม่ เห็นได้ วา่ ปั ญหาที่ต้องวินิจฉัยในคดีอาญาดังกล่าวและคดี
ตามคาร้ องคดีนี ้แตกต่างกัน การพิจารณาคดีนี ้จึงไม่เป็ นฟ้องซ ้าหรื อร้ องซ ้า
กับคดีอาญาดังกล่าว
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๑๑๖/๒๕๒๕ โจทก์เคยฟ้องจาเลยฐานทา
ร้ ายร่างกายผู้เสียหาย ศาลพิพากษาลงโทษจาคุกจาเลยและคดี
อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ แม้ ตอ่ มาผู้เสียหายถึง
แก่ความตายเพราะบาดแผลที่ถกู จาเลยทาร้ าย โจทก์จะฟ้อง
จาเลยฐานฆ่าคนตายโดยไม่เจตนาซึง่ เป็ นการกระทากรรม
เดียวกันในขณะมีคดีก่อนอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาล
อุทธรณ์อีกไม่ได้ เพราะถือว่าได้ มีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดใน
ความผิดซึง่ ได้ ฟ้องแล้ ว ต้ องห้ ามตาม ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๑๙๓/๒๕๒๙ จาเลยบุกรุกที่เกิดเหตุในเวลาเดียวกันกับกระทาอนาจาร
การกระทาของจาเลยเป็ นกรรมเดียวเป็ นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ดังนี ้เมื่อมีคาพิพากษา
เสร็จเด็ดขาดในข้ อหากระทาอนาจารซึง่ จาเลยถูกฟ้องแล้ ว สิทธินาคดีอาญามาฟ้องจาเลยใน
ข้ อหาบุกรุกก็เป็ นอันระงับไป ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๔)
ในคดีก่อนพนักงานอัยการซึง่ เป็ นโจทก์บรรยายฟ้องไว้ และจาเลยให้ การรับสารภาพ
ศาลรับฟั งข้ อเท็จจริงเป็ นยุติวา่ ในเวลาและสถานที่เกิดเหตุเดียวกันกับคดีนี ้ จาเลยกระทา
อนาจารนางสาวสาอางค์ โดยใช้ กาลังประทุษร้ ายกอดรัดตัวนางสาวสาอางค์และใช้ กรรไกรจี ้
บังคับ และแทงเฉี่ยวหน้ าอกของนางสาวสาอางค์ได้ รับบาดเจ็บเล็กน้ อย ทังนี
้ ้เพื่อให้ นางสาง
สาอางค์ยอมให้ จาเลยกระทาชาเรา ศาลพิพากษาลงโทษจาเลยฐานกระทาอนาจารตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๘ คดีถงึ ที่สดุ แล้ ว โจทก์มาฟ้องจาเลยข้ อหาพยายามฆ่าโดย
ใช้ กรรไกรแทงนางสางสาอางค์เป็ นคดีนี ้ จึงเป็ นการกระทาครัง้ คราวเดียวกัน ซึง่ จะต้ องฟ้องเป็ น
คดีเดียว ดังนี ้ฟ้องของโจทก์จงึ ต้ องห้ ามตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา
๓๙ (๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๖๗๘/๒๕๓๑ จาเลยรับของโจร ๑๓ รายการ ไว้ ใน
คราวเดียวกัน แม้ จะปรากฏว่าทรัพย์ดงั กล่าวแต่ละรายการเป็ นของ
ผู้เสียหายหลายคนต่างกัน การกระทาของจาเลยก็เป็ นความผิดกรรม
เดียว การที่โจทก์แยกฟ้องจาเลยเป็ นแต่ละคดีตามจานวนผู้เสียหาย
รวมทังคดี
้ นี ้ด้ วยนัน้ เมื่อได้ ความว่าศาลชันต้
้ นในคดีอื่นได้ มีคาพิพากษา
เสร็จเด็ดขาดลงโทษจาเลยในความผิดฐานรับของโจรทรัพย์บางรายการที่
จาเลยรับมาในคราวเดียวกับคดีนี ้แล้ ว โจทก์ยอ่ มไม่มีสิทธิจะนาคดีมา
ฟ้องขอให้ ลงโทษฐานจาเลยฐานรับของโจรคดีนี ้อีก เพราะสิทธินา
คดีอาญามาฟ้องเป็ นอันระงับไปตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๓๙(๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๓๘๘/๒๕๓๗ จาเลยรับของโจร
รถจักรยานยนต์ ๒ คัน ไว้ ในคราวเดียวกัน การกระทาของจาเลย
เป็ นความผิดกรรมเดียว การที่โจทก์แยกฟ้องจาเลยเป็ นแต่ละคดี
ตามจานวนรถจักรยานยนต์เป็ น ๒ คดี เมื่อได้ ความว่ามีคา
พิพากษาเสร็จเด็ดขาดลงโทษจาเลยในความผิดฐานรับของโจร
รถจักรยานยนต์คนั หนึง่ แล้ ว โจทก์ย่อมไม่มีสทิ ธินาคดีมาฟ้องขอให้
ลงโทษจาเลยในความผิดฐานรับของโจรรถจักรยานยนต์อีกคันหนึง่
เป็ นคดีนี ้อีก เพราะสิทธินาคดีอาญามาฟ้องเป็ นอันระงับไป ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙(๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๒๙๖/๒๕๔๔ เจ้ าพนักงานตารวจจับจาเลยและ บ. ได้ พร้ อม
กันขณะที่จาเลยขับรถจักรยานยนต์หมายเลขทะเบียน เชียงใหม่ ๑ก- ๓๖๒๐ และ
บ.ขับรถจักรยานยนต์ของกลางในคดีนี ้และยึดรถจักรยานยนต์ทงสองคั
ั้
นไว้ เป็ นของ
กลาง โดยที่โจทก์มิได้ นาสืบให้ เห็นว่าจาเลยรับรถจักยานยนต์ของกลางคดีนี ้ไว้ คนละ
คราวกับที่รับรถจักรยานยนต์หมายเลขทะเบียน เชียงใหม่ ๑ ก – ๓๖๒๐ จึงต้ องฟั ง
ว่าจาเลยรับรถจักรยานยนต์ของกลางทังสองคั
้
นไว้ ในคราวเดียวกัน ซึง่ เป็ นการ
กระทาความผิดฐานรับของโจรกรรมเดียวกัน แต่โจทก์ได้ แยกฟ้องจาเลยเป็ นสองคดี
ตามจานวนผู้เสียหาย เมื่อจาเลยถูกฟ้องและศาลมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดลงโทษ
จาเลยในความผิดฐานรับของโจรในคดีก่อนไปแล้ ว โจทก์ไม่มีสทิ ธิที่จะนาคดีมาฟ้อง
ขอให้ ลงโทษจาเลยฐานรับของโจรในคดีนี ้อีกเพราะเป็ นความผิดกรรมเดียวกันกับคดี
ดังกล่าว สิทธิที่จะนาคดีมาฟ้องจาเลยสาหรับความผิดฐานรับของโจรนันเป็
้ นอัน
ระงับไปตาม ปวิอ. มาตรา ๓๙ (๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๗๐๕/๒๕๔๖ ศาลฎีกาจาต้ องถือข้ อเท็จจริงตามที่ศาล
อุทธรณ์ภาค ๙ วินิจฉัยมาแล้ วจากพยานหลักฐานในสานวนตาม ป.วิ.อ. มาตรา
๑๙๔ ประกอบด้ วยมาตรา ๒๒๕ โดยศาลอุทธรณ์ภาค ๙ ฟั งข้ อเท็จจริงว่า จาเลย
ทังสองกั
้
บ ล. ร่วมกันลักเก้ าอี ้ของ พ. และเสื ้อแจกเก็ตของผู้เสียหาย แม้ จาเลยทัง้
สองกับพวกจะแบ่งหน้ าที่กนั ทาโดยไปลักทรัพย์ของเจ้ าของก็เป็ นการกระทาใน
คราวเดียวกัน การกระทาของจาเลยที่ ๒ จึงเป็ นความผิดกรรมเดียว หาใช่หลาย
กรรมต่างกันไม่ เมื่อการกระทาของจาเลยที่ ๒ ในคดีนี ้กับการกระทาของจาเลยที่
๒ ในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ ๒๕๒๕/๒๕๔๓ ของศาลชันต้
้ นเป็ นความผิดกรรม
เดียวกัน และศาลชันต้
้ นมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึง่ ได้ ฟ้องจาเลยที่
๒ กับพวกในคดีดงั กล่าวไปแล้ ว สิทธินาคดีอาญามาฟ้องสาหรับจาเลยที่ ๒ ย่อม
ระงับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๔ ) โจทก์จงึ ไม่มีอานาจฟ้องจาเลยที่ ๒
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๑๙๒/๒๕๕๔ แม้ เมทแอมเฟตามีน ๕๐ เม็ด ที่พบที่ตวั
จาเลยและ ว. กับเมทแอมเฟตามีนของกลางที่พบที่บ้านจาเลยและริมห้ วยนาราง
จะเป็ นจานวนที่แยกต่างหากจากกันได้ ก็ตาม แต่เมื่อเจ้ าพนักงานตารวจค้ นพบ
แมทแอมเฟตามีนที่ตวั จาเลยและ ว. แล้ วจาเลยได้ นาเจ้ าพนักงานตารวจไปตรวจ
ยึดเมทแอมเฟตามีนของกลางในทันทีทนั ใดต่อเนื่องกันดังนี ้ เมทแอมเฟตามีนที่พบ
ที่ตวั จาเลยกับ ว. จึงเป็ นจานวนเดียวกับเมทแอมเฟตามีนของกลางที่จาเลยซุก
ซ่อนไว้ ที่บ้านจาเลยริมห้ วยนาราง โดยจาเลยมีไว้ ในครอบครองเพื่อจาหน่ายใน
คราวเดียวกัน เป็ นแต่เพียงจาเลยแยกเอาเมทแอมเฟตามีนบางส่วนติดตัวไป ส่วน
ที่เหลือจาเลยซุกซ่อนไว้ มิได้ นาติดตัวไปเท่านัน้ การกระทาของจาเลยจึงเป็ น
ความผิดกรรมเดียวกัน เมื่อมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดฐานมีเมทแอม
เฟตามีนไว้ ในครอบครองเพื่อจาหน่ายตามคดีอาญาหมายเลขแดงที่ ๓๙๔/๒๕๕๒
ของศาลชันต้
้ นแล้ ว สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ในคดีนี ้จึงระงับไปตาม ปวิอ
มาตรา ๓๙ (๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๒๒๓/๒๕๕๔ วัน เวลา สถานที่รวมถึงการกระทาที่กล่าวอ้ างว่าจาเลย
กระทาความผิดในคดีนี ้เป็ นวัน เวลา สถานที่ เดียวกัน และเป็ นการกระทาในคราวเดียวกันกับ
คดีอาญาหมายเลขดาที่ ๑๑๔๗/๒๕๔๗ หมายเลขแดงที่ ๒๑๐๕/๒๕๕๒ ของศาลชันต้
้ น และ
ศาลชันต้
้ นได้ วินิจฉัยถึงการกระทาความผิดของจาเลยต่อ พรบ ว่าด้ วยความผิดของพนักงานใน
องค์การหรื อหน่วยงานของรัฐฯ ในคดีดงั กล่าวแล้ วว่า แม้ ข้อเท็จจริงจะรับฟั งได้ วา่ มีการทุจริต
ยักยอกเงินถึง ๒๒ ครัง้ แต่เมื่อโจทก์มิได้ บรรยายมาในฟ้องว่าจาเลยกระทาผิดหลายกรรม
ต่างกัน ศาลจะพิพากษาลงโทษจาเลยเป็ นความผิดหลายกรรมมิได้ เพราะต้ องห้ ามตามปวิอ
มาตรา ๑๙๒ วรรคหนึง่ ทังศาลชั
้
นต้
้ นก็มีคาพิพากษาลงโทษจาเลยตาม พรบ.ว่าด้ วยความผิด
ของพนักงานในองค์การหรื อหน่วยงานของรัฐฯ ตามคาขอท้ ายฟ้องของโจทก์และโจทก์ก็มิได้
อุทธรณ์โต้ แย้ งคัดค้ านคาพิพากษาศาลชันต้
้ นเช่นนี ้ ถือได้ วา่ ศาลชันต้
้ นในคดีก่อนได้ วินิจฉัยชี ้
ขาดเนื ้อหาการกระทาความผิดของจาเลย และมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดที่ได้ ฟ้อง
แล้ ว สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ในคดีนี ้จึงระงับไปตาม ปวิอ มาตรา ๓๙ (๔) ปั ญหา
ดังกล่าวเป็ นปั ญหาข้ อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้ อย ศาลฎีกามีอานาจหยิบยกขึ ้น
วินิจฉัยได้ ตาม ปวิอ มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๒๒๕
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๔๑๕๙/๒๕๕๕ การกระทาทังหลายที
้
่โจทก์อ้างว่า
จาเลยหมิ่นประมาทโจทก์โดยการโฆษณาด้ วยเอกสารทังในคดี
้
อาญาหมายเลยแดง
ที่ ๕๒๒๘/๒๕๕๐ ของศาลจังหวัดเชียงร่ายและในคดีนี ้เป็ นการกระทาในเรื่ อง
เดียวกัน รายละเอียดที่เกี่ยวกับวันเวลาซึง่ เกิดการกระทานัน้ ๆ ตามที่โจทก์ฟ้องทัง้
สองคดีเกิดขึ ้นในช่วงเวลาเดียวกัน หาใช่คนละวันเวลาไม่ แม้ จาเลยจะมีหนังสือ
แจ้ งไปยังลูกค้ าซึง่ เป็ นบุคคลที่สามต่างรายและต่างสถานที่กนั ก็ต้องถือว่าจาเลย
กระทาในวาระเดียวโดยมีเจตนาเดียวคือ เพื่อแจ้ งให้ ลกู ค้ าของโจทก์ทราบเรื่ องที่
จาเลยแจ้ งความดาเนินคดีแก่โจทก์ตาม พรบ ลิขสิทธิ์ การกระทาของจาเลยจึงเป็ น
กรรมเดียว มิใช่เป็ นการกระทาต่างกรรมต่างวาระตามจานวนและสถานที่อยู่ของ
บุคคลที่สาม เมื่อศาลจังหวัดเชียงรายพิพากษาแล้ ว แม้ ยงั ไม่ถึงที่สดุ เพราะโจทก์ยงั
อุทธรณ์และฎีกาคัดค้ านอยู่ ก็เรี ยกได้ วา่ มีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึง่ ได้
ฟ้องแล้ ว สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ยอ่ มระงับไปตาม ปวิอ มาตรา ๓๙
(๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๐๐/๒๕๓๒ จาเลยออกเช็ค ๓ ฉบับ ชาระ
หนี ้ให้ แก่โจทก์ เป็ นการสัง่ ให้ ธนาคารจ่ายเงินตามจานวนและ
วันที่ที่มีปรากฏในเช็คแตกต่างกัน ซึง่ จาเลยผู้ออกเช็คอาจมีเงิน
จ่ายตามเช็คหรื อมีเจตนาให้ ใช้ เงินตามเช็คแต่ละฉบับหรื อไม่
แตกต่างกัน และเมื่อเช็คที่โจทก์นาไปฟ้องจาเลยในคดีก่อนเป็ น
เช็คคนละฉบับที่มาฟ้องเป็ นคดีนี ้ แม้ จาเลยจะออกเช็คในคราว
เดียวกันเพื่อชาระหนี ้อันมีมลู หนี ้มาจากค่าซื ้อยาเช่นเดียวกันก็
ตาม โจทก์ก็ย่อมนามาฟ้องจาเลยเป็ นคดีนี ้ได้ ไม่เป็ นฟ้องซ ้า
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๐๒๘/๒๕๔๗ คดีก่อนโจทก์บรรยายฟ้องว่า เหตุลกั ทรัพย์เกิด
เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๔๔ เวลากลางวัน จาเลยถูกจับวันที่ ๑๙ พฤษภาคม
๒๕๔๔ และเหตุรับของโจรเกิดวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๔๔ เวลากลางวัน หลังจากที่
คนร้ ายลักทรัพย์ของผู้เสียหายไปแล้ ว ถึงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๔ วันเวลาใดไม่
ปรากฏชัด ส่วนคดีนี ้โจทก์บรรยายฟ้องว่า เหตุลกั ทรัพย์เกิดเมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม
๒๕๔๔ จาเลยถูกจับวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๔ เวลากลางวัน และเหตุรับของโจร
เกิดเมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๔ ถึงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๔ เวลากลางวัน
วันเวลาใดไม่ปรากฏชัด แม้ จาเลยถูกจับทังสองคดี
้
ในวันเดียวกัน แต่วนั ถูกจับมิใช่วนั
กระทาความผิด เมื่อวันเวลากระทาความผิดในคดีก่อนและคดีนี ้ทังในฐานลั
้
กทรัพย์
และรับของโจรต่างกัน ทังทรั
้ พย์ที่ยดึ ได้ ก็เป็ นทรัพย์ของผู้เสียหายคนละคนต่างราย
กัน แม้ คดีก่อนศาลชันต้
้ นจะมีคาพิพากษาถึงที่สดุ แต่เมื่อการกระทาความผิดของ
จาเลยในคดีก่อนและคดีนี ้เป็ นการกระทาความผิดต่างกรรมต่างวาระกัน ฟ้องโจทก์
คดีนี ้ย่อมไม่เป็ นฟ้องซ ้า
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๖๐๒/๒๕๕๑ แม้ คดีนี ้กับคดีก่อนทังสองคดี
้
นนโจทก์
ั้
จาเลยที่
๒ จะเป็ นคูค่ วามรายเดียวกันและคดีทงสองนั
ั้
นได้
้ มีคาพิพากษาเสร็ จเด็ดขาดแล้ ว
ก่อนฟ้องคดีนี ้ แต่คดีก่อนทังสองและคดี
้
นี ้โจทก์บรรยายฟ้องทังสามส
้
านวนว่า มี
คนร้ ายลักรถยนต์ตา่ งวันเวลาและต่างสถานที่กนั แม้ รถยนต์ แผ่นป้ายทะเบียน
รถยนต์ และแผ่นป้ายแสดงการเสียภาษีประจาปี จะยึดได้ ในคราวจับกุมจาเลยที่ ๒
คราวเดียวกันหรื อวันเดียวกันก็ตาม แต่วนั เวลาที่จาเลยที่ ๒ รับของโจรเป็ นคนละวัน
กัน และรถยนต์ที่รับของโจรเป็ นคนละคันกัน แผ่นป้ายทะเบียนรถยนต์และแผ่น
ป้ายแสดงการเสียภาษีประจาปี ก็เป็ นคนละแผ่นกันและใช้ กบั รถยนต์คนละคันกัน
การกระทาความผิดในคดีก่อนทังสองกั
้
บการกระทาความผิดในคดีนี ้จึงเป็ นการ
กระทาความผิดที่แยกต่างหากจากกันและต่างวาระกัน แม้ การกระทาความผิดจะ
เป็ นความผิดฐานเดียวกันกับความผิดในคดีนี ้ ก็ถือไม่ได้ วา่ คดีนี ้มีคาพิพากษาเสร็จ
เด็ดขาดในความผิดที่ได้ ฟ้องไปแล้ วในคดีก่อนทังสอง
้
สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของ
โจทก์จงึ ไม่ระงับตาม ปวิอ. มาตรา ๓๙ (๔) ฟ้องโจทก์ในคดีนี ้จึงไม่เป็ นฟ้องซ ้ากับ
ฟ้องโจทก์ในคดีก่อนทังสองดั
้
งกล่าว
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๖๖๔/๒๕๒๗ คดีก่อนพนักงานอัยการเป็ น
โจทก์ฟ้อง ย.ว่าจะแทงจาเลยแต่ไปถูกผู้ตาย คดีนี ้โจทก์ฟ้องว่า
ขณะที่ ย. จะแทงจาเลย จาเลยได้ จบั ตัวผู้ตายมาเหวี่ยงบังตัวไว้
และผลักไปข้ างหน้ า เป็ นเหตุให้ ผ้ ตู ายถูก ย. แทงถึงแก่ความตาย
ดังนี ้การกระทาของ ย.และจาเลยเป็ นคนละส่วนกัน และในคดีก่อน
จาเลยมิได้ ถกู ฟ้องด้ วย ฟ้องโจทก์จงึ ไม่เป็ นฟ้องซ ้า
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๔๔/๒๕๓๒ แม้ คดีนี ้กับคดีก่อนจะ
เป็ นการกระทาอันเดียวกันและข้ อหาอย่างเดียวกัน และ
ศาลได้ พิพากษาลงโทษจาเลยในคดีก่อนเสร็จเด็ดขาดไป
แล้ ว แต่เมื่อจาเลยมิใช่คนเดียวกัน จึงไม่เป็ นฟ้องซ ้า
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๑๓๒/๒๕๕๒ โจทก์ในคดีนี ้กับโจทก์คดีก่อน
ของศาลชันต้
้ น ต่างเป็ นผู้ถือหุ้นของบริ ษัท ม. และต่างฟ้องจาเลยทัง้
สองในความผิดอันเดียวกัน ซึง่ คดีก่อนศาลอุทธรณ์มีคาพิพากษา
เสร็จเด็ดขาดในความผิดซึง่ ได้ ฟ้องไปแล้ ว สิทธินาคดีอาญามาฟ้อง
ของโจทก์ในคดีนี ้ย่อมระงับไปตาม ปวิอ. มาตรา ๓๙(๔) แม้ วา่ โจทก์
คดีนี ้จะเป็ นคนละคนกับโจทก์คดีก่อนและฟ้องคดีนี ้ไว้ ก่อนก็ตาม
มิฉะนัน้ ก็จะกลายเป็ นว่าจาเลยทังสองถู
้
กดาเนินคดีในการกระทา
ความผิดอันเดียวกันซ ้าสองอีก
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๙๗๐/๒๕๒๑ จาเลยเคยถูก ข.ฟ้องว่า
เบิกความเท็จมาแล้ วศาลพิพากษายกฟ้องเพราะฟ้องเคลือบ
คลุม ไม่ชอบด้ วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ม.๑๕๘ (๕) โจทก์มาฟ้องจาเลยในคดีเดียวกันอีก คดีก่อน
ศาลยังไม่ได้ วินิจฉัยความผิดซึง่ ได้ ฟ้อง ไม่เป็ นฟ้องซ ้าตาม ม.
๓๙ (๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๙๒๓/๒๕๓๘ เหตุที่ศาลชันต้
้ นไม่ประทับฟ้องโจทก์
ในคดีก่อน เนื่องมาจากคาฟ้องไม่ได้ บรรยายว่าข้ อความเท็จที่จาเลยทัง้
สองในคดีนี ้แสดง หรื อข้ อความจริ งที่จาเลยทังสองในคดี
้
นี ้ปกปิ ดเป็ น
อย่างไร ทังไม่
้ ได้ บรรยายว่าจาเลยคนใดหลอกลวงโจทก์ให้ สงั่ จ่ายเช็ค
ภายหลังที่จาเลยทังสองได้
้
โอนที่ดินและอาคารให้ แก่จาเลยที่ ๓ ซึง่ ศาล
อุทธรณ์พิพากษายืน เห็นได้ วา่ คาสัง่ และคาพิพากษาของศาลล่างทังสอง
้
ในคดีก่อนยังมิได้ วินิจฉัยชี ้ขาดในเนื ้อหาการกระทาของจาเลยทังสองว่
้
า
ได้ กระทาผิดตามฟ้องหรื อไม่ ถือไม่ได้ วา่ มีคาพิพากษาเสร็ จเด็ดขาดใน
ความผิดซึง่ ได้ ฟ้อง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา
๓๙(๔) ฟ้องโจทก์คดีนี ้จึงไม่เป็ นฟ้องซ ้า
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๗๗๐/๒๕๔๖ การที่ศาลชันต้
้ นตรวจคา
ฟ้องของโจทก์ในคดีก่อนแล้ วมีคาวินิจฉัยว่าเป็ นฟ้องที่ขาด
องค์ประกอบความผิดนัน้ เท่ากับว่าศาลชันต้
้ นได้ วินิจฉัยชี ้ขาดใน
เนื ้อหาการกระทาของจาเลยทังสองแล้
้
วว่าไม่เป็ นความผิดและถือ
ได้ วา่ ศาลชันต้
้ นได้ มีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดที่ได้
ฟ้องแล้ ว หากโจทก์ไม่เห็นพ้ องด้ วย โจทก์ชอบที่จะยื่นอุทธรณ์
คัดค้ านคาสัง่ ศาลชันต้
้ น แต่โจทก์กลับมายื่นฟ้องจาเลยทังสอง
้
เป็ นคดีนี ้ใหม่ โดยบรรยายฟ้องถึงการกระทาของจาเลยทังสอง
้
เช่นเดียวกับที่โจทก์ได้ บรรยายฟ้องไว้ ในคดีก่อน ฟ้องโจทก์คดีนี ้จึง
เป็ นฟ้องซ ้าต้ องห้ ามตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๕๑๐/๒๕๕๕ ความผิดตามฟ้องในคดีนี ้
โจทก์เคยฟ้องจาเลยทังสองต่
้
อศาลชันต้
้ นมาแล้ ว และศาล
ชันต้
้ นพิพากษาลงโทษจาเลยทังสอง
้
แต่ตอ่ มาศาลอุทธรณ์ภาค
๖ มีคาพิพากษายกฟ้องคดีดงั กล่าวเพราะโจทก์ไม่ได้ ลงลายมือ
ชื่อในฟ้อง และคดีถงึ ที่สดุ ดังนี ้ ถือไม่ได้ วา่ ความผิดตามฟ้อง
คดีนี ้ ศาลในคดีก่อนได้ มีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึง่
ได้ ฟ้องแล้ วตามความใน ปวิอ มาตรา ๓๙ (๔) สิทธินาคดีอาญา
มาฟ้องของโจทก์ในคดีนี ้ยังไม่ระงับไปตามบทบัญญัติดงั กล่าว
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๗๕๗/๒๕๔๔ ในคดีก่อนศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ในชัน้
ตรวจคาฟ้องของโจทก์วา่ การกระทาของจาเลยทังแปดตามค
้
าฟ้องของ
โจทก์ ไม่ปรากฏว่าเป็ นการไม่ชอบหน้ าที่โดยทุจริ ต หรื อเพื่อให้ เกิดความ
เสียหายแก่โจทก์หรื อผู้อื่นที่จะเป็ นความผิดตามปอ.มาตรา ๑๕๗
อย่างไร พิพากษายกฟ้อง ซึง่ เป็ นการยกฟ้องตาม ปวิอ.มาตรา ๑๘๕ ถือ
ว่าศาลได้ วินิจฉัยชี ้ขาดในเนื ้อหาของการกระทาของจาเลยว่าไม่ได้
กระทาผิดและมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดที่ได้ ฟ้องแล้ ว การที่
โจทก์มาฟ้องจาเลยในคดีนี ้ว่าจาเลยกระทาความผิดในข้ อหาเดียวกัน
และมีมลู คดีที่กล่าวหาเป็ นอย่างเดียวกันกับคดีก่อนจึงเป็ นฟ้องซ ้า โจทก์
ไม่มีสิทธิฟ้องจาเลยอีกได้ เพราะสิทธินาคดีอาญามาฟ้องได้ ระงับไปแล้ ว
ตามปวิอ.มาตรา ๓๙(๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๓๒-๑๓๓/๒๕๓๖ โจทก์ร่วมฟ้องจาเลยที่ ๒ ฐานกระทาผิดต่อ
พระราชบัญญัติวา่ ด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็คภายหลังโจทก์ฟ้องจาเลยที่ ๒ เป็ นคดีนี ้
และศาลชันต้
้ นอนุญาตให้ โจทก์ร่วมเข้ าเป็ นโจทก์ร่วมในคดีนี ้แล้ ว ฟ้องของโจทก์ ในคดีนี ้ไม่เป็ น
ฟ้องซ้ อนกับฟ้องของโจทก์ร่วมในคดีดงั กล่าว ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๑๕ ประกอบ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๓ (๑) และแม้ การ
ออกเช็คอันเป็ นมูลหนี ้ที่โจทก์ร่วมนามาฟ้องจาเลยที่ ๒ ในคดีนี ้ จะเป็ นการกระทาโดยมีเจตนา
เพื่อฉ้ อโกงโจทก์ร่วมเช่นเดียวกัน แต่คดีดงั กล่าวโจทก์ร่วมขอถอนฟ้องและศาลฎีกามีคาสัง่
อนุญาตไปแล้ ว ถือไม่ได้ วา่ ศาลได้ มีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดที่โจทก์ฟ้องจาเลยที่ ๒
เป็ นคดีนี ้แล้ ว ฟ้องของโจทก์ในคดีนี ้จึงไม่เป็ นฟ้องซ ้ากับฟ้องของโจทก์ร่วมในคดีดงั กล่าว ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙(๔) และการที่โจทก์ร่วมถอนฟ้องคดี
ดังกล่าวซึง่ เป็ นความผิดอันยอมความได้ ไม่มีผลทาให้ สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ใน
ความผิดฐานใช้ เอกสารปลอมซึง่ ไม่ใช่ความผิดอันยอมความได้ ระงับไปตาม ประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๒) ด้ วย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๙๔/๒๕๑๗ โจทก์ฟ้องจาเลยมาครัง้ หนึ่งแล้ ว
ศาลชันต้
้ นตรวจคาฟ้องแล้ วพิพากษายกฟ้องโดยวินิจฉัยว่า โจทก์ไม่มี
อานาจฟ้องปรากฏว่าเป็ นเพราะคาฟ้องคดีนนโจทก์
ั้
มิได้ บรรยายฟ้องโดย
แจ้ งชัดถึงอานาจฟ้องของโจทก์ โจทก์จงึ ฟ้องจาเลยเป็ นคดีใหม่ด้วย
ข้ อหาเดียวกันนันต่
้ อศาลชันต้
้ นเดียวกัน โดยบรรยายอานาจฟ้องของ
โจทก์ให้ ชดั ขึ ้น ดังนี ้ สิทธินาคดีมาฟ้องของโจทก์ยงั หาได้ ระงับไปตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๔) ไม่ เพราะ
ศาลยังไม่ได้ วินิจฉัยชี ้ขาดในการกระทาความผิดของจาเลย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๐๑๒/๒๕๒๗ คดีเดิมศาลชันต้
้ นตรวจคา
ฟ้องแล้ วให้ ยกฟ้องโดยวินิจฉัยว่าโจทก์มิใช่ผ้ เู สียหาย สิทธินาคดี
มาฟ้องหาได้ ระงับไปตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา ม.๓๙ (๔) ไม่ เพราะศาลยังมิได้ วินิจฉัยชี ้ขาดการกระทา
ผิดของจาเลย โจทก์ได้ อทุ ธรณ์คาพิพากษาศาลชันต้
้ นคดีเดิมและ
ดาเนินคดีเรื่ อยมาจนถึงชันฎี
้ กา การที่โจทก์ฟ้องคดีนี ้ในระหว่างคดี
เดิมอยูใ่ นระหว่างการพิจารณา จึงต้ องห้ ามตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ม.๑๗๓ (๑) ประกอบด้ วย
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา .๑๕
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๙๘๑/๒๕๓๕ คดีที่โจทก์ร่วมฟ้องจาเลยต่อศาลจังหวัดสงขลา ขอให้
ลงโทษ จาเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๗, ๓๐๐, ๙๑ ศาลจังหวัดสงขลาไต่
สวนมูลฟ้องแล้ ววินิจฉัยว่าฟ้องของโจทก์ไม่มีมลู ฐานทาร้ ายร่างกายจนเป็ นเหตุให้ ผ้ ถู กู ทาร้ าย
ได้ รับอันตรายสาหัส คงมีมลู ความผิดฐานทาร้ ายร่างกายผู้อื่นจนเป็ นเหตุให้ เกิดอันตรายแก่กาย
และจิตใจ กับฐานกระทาโดยประมาทเป็ นเหตุให้ ผ้ อู ื่นได้ รับอันตรายสาหัส ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕ และ ๓๐๐ ตามลาดับเท่านัน้ ซึง่ เป็ นความผิดที่อยูใ่ นอานาจของ
ศาลแขวงที่รับไว้ พิจารณาได้ หากโจทก์ยงั ติดใจจะดาเนินคดีกบั จาเลยก็ให้ นาไปฟ้องยังศาลที่มี
อานาจพิจารณาพิพากษาต่อไป จึงไม่รับฟ้องของโจทก์ไว้ พิจารณาพิพากษายกฟ้อง ศาลจังหวัด
สงขลามิได้ ยกฟ้องของโจทก์ร่วมเพราะเหตุตา่ ง ๆ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๑๘๕ กล่าวคือยังมิได้ วินิจฉัยถึงการกระทาผิดของจาเลยตามข้ อกล่าวหาของ
โจทก์ร่วม ดังนันในคดี
้
ดงั กล่าวจึงยังไม่มีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึง่ ได้ ฟ้อง โจทก์
และโจทก์ร่วมในคดีนี ้ยังมีสิทธิฟ้องจาเลยได้ สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์และโจทก์ร่วม
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๐๐, ๓๙๐ ยังไม่ระงับ ไม่ต้องห้ าม ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙(๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๘๒/๒๕๓๗ โจทก์ร่วมเคยยื่นฟ้องจาเลยในความผิด
กรณีเดียวกันนี ้ต่อศาลชันต้
้ น ในวันนัดไต่สวนมูลฟ้องทนายโจทก์ในคดี
ดังกล่าวแถลงต่อศาลว่าไม่มีพยานมาสืบ ศาลชันต้
้ นวินิจฉัยว่า โจทก์ไม่มี
พยานหลักฐานมายืนยันความผิดของจาเลยคดีจงึ ไม่มีมลู และพิพากษายก
ฟ้อง ซึง่ มีผลเช่นเดียวกับการพิพากษายกฟ้องโดยศาลเห็นว่าจาเลยมิได้
กระทาความผิดตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา
๑๘๕ วรรคแรก จึงถือได้ วา่ ศาลชันต้
้ นมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดใน
ความผิดซึง่ ได้ ฟ้องแล้ ว สิทธินาคดีอาญานี ้มาฟ้องย่อมระงับไปตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙(๔) หาใช่เป็ นคดีที่
ศาลชันต้
้ นดังกล่าวพิพากษายกฟ้องโดยโจทก์ไม่มาศาลตามกาหนดนัด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๖๖ วรรคแรก ไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๑๑๖/๒๕๒๕ โจทก์เคยฟ้องจาเลย ฐาน
ทาร้ ายร่างกายผู้เสียหาย ศาลพิพากษาลงโทษจาคุกจาเลย
ต่อมาผู้เสียหายถึงแก่ความตายเพราะบาดแผลที่จาเลยทาร้ าย
โจทก์จะฟ้องจาเลยฐานฆ่าโดยไม่เจตนาซึง่ เป็ นการกระทาผิด
กรรมเดียวกันในขณะที่คดีก่อนอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของ
ศาลอุทธรณ์อีกไม่ได้ เพราะถือได้ วา่ คาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดใน
ความผิดซึง่ ได้ ฟ้องแล้ วต้ องห้ ามตาม ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๔)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๓๓๔/๒๕๓๘ หลักการของ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙(๔) ที่
บัญญัติให้ สิทธินาคดีอาญามาฟ้องระงับไปเมื่อมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึง่ ได้ ฟ้องอันเป็ นหลักการ
ห้ ามดาเนินคดีซ ้าสองแก่จาเลยนัน้ จะต้ องปรากฏว่าคดีก่อนเป็ นกรณีที่จาเลยถูกฟ้องร้ องดาเนินคดีอย่างแท้ จริ ง
หากปรากฏว่าคดีก่อนเป็ นการที่ฟ้องร้ องดาเนินคดีอย่างสมยอมกัน แม้ ว่าเป็ นการกระทากรรมเดียวกันก็ถือไม่ได้
ว่าการกระทากรรมนันจ
้ าเลยเคยถูกฟ้องและศาลได้ มีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดอันจะมีผลทาให้ สิทธินาคดีมา
ฟ้องในความผิดกรรมนันระงั
้ บไปไม่
คดีนี ้โจทก์ได้ อทุ ธรณ์ว่า คดีก่อนซึง่ เด็กหญิง.ส.เป็ นโจทก์ฟ้องจาเลยในความผิดกรรมเดียวกันกับคดีนี ้
มีพฤติการณ์ว่าโจทก์ในคดีนนจะด
ั ้ าเนินคดีโดยสมยอม โดยไม่สจุ ริ ต เพราะขณะเกิดเหตุที่จาเลยขับ
รถจักรยานยนต์ชน ด.ช.ว.ผู้เสียหายคดีนี ้ ด.ญ.ส.โจทก์คดีก่อนนันเป็
้ นคนนัง่ ซ้ อนท้ ายมากับรถจักรยานยนต์
ของจาเลย เมื่อเกิดเหตุแล้ วทนายโจทก์ในคดีนนก็
ั ้ ได้ รีบยื่นฟ้องจาเลย อีกทัง้ ด.ญ.ส.โจทก์คดีนนและจ
ั้
าเลยต่าง
ก็เป็ นลูกจ้ างของทนายจาเลยคดีนี ้ด้ วยกัน นอกจากนี ้ยังปรากฏด้ วยว่าทนายโจทก์ในคดีก่อนนันก็
้ เป็ นบุตรของ
ทนายจาเลยในคดีนี ้และอาศัยอยู่ด้วยกัน และในคดีก่อนทนายโจทก์เพียงแต่นามารดา ด.ญ..ส.ซึง่ ไม่ร้ ูเห็น
เหตุการณ์ขณะเกิดเหตุมาเบิกความต่อศาลชันต้
้ นในชันไต่
้ สวนมูลฟ้องเพียงปากเดียว เป็ นเหตุให้ ศาลยกฟ้องคดี
นันเพราะเหตุ
้
คดีไม่มีมลู ข้ ออ้ างตามอุทธรณ์ของโจทก์เช่นนี ้ หากฟั งได้ เป็ นความจริ ง ย่อมแสดงว่า คดีก่อนโจทก์
ในคดีนนได้
ั ้ ฟ้องร้ องดาเนินคดีแก่จาเลยในลักษณะสมยอมกัน เป็ นการดาเนินคดีโดยใช้ สิทธิไม่สจุ ริ ต เพื่อหวังผล
เพียงต้ องการตัดสิทธิของผู้เสียหายและพนักงานอัยการโจทก์คดีนี ้มิให้ มีสิทธิฟ้องร้ องดาเนินคดีแก่จาเลยซ ้าสอง
ได้ อีกเท่านัน้ ย่อมถือไม่ได้ ว่าคดีก่อนได้ มีการฟ้องร้ องดาเนินคดีแก่จาเลยอย่างแท้ จริ ง สิทธินาคดีอาญามาฟ้อง
ของโจทก์คดีนี ้หาระงับไปไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๐๓๗/๒๕๐๑ ผู้เสียหายฟ้อง ก.เป็ น
จาเลยฐานฆ่าคนโดยเจตนาแต่อยั การฟ้อง ก. ฐานฆ่า
คนโดยประมาท ศาลพิพากษาลงโทษแล้ วในกรรม
เดียวกัน สิทธิฟ้องร้ องของผู้เสียหายระงับไปแล้ วโดยไม่
ต้ องคานึงว่าโจทก์ฟ้องก่อนหรื อหลังอัยการ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๑๒๐/๒๕๓๙ ความผิดของจาเลยคดี
นี ้เป็ นเรื่ องปลอมเอกสารและใช้ เอกสารปลอมโดยพนักงาน
อัยการเป็ นโจทก์ จึงเป็ นคนละเรื่ องและคนละประเด็นกับคดี
ฐานละเมิดอานาจศาลซึง่ ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ลงโทษจาคุก
จาเลยและคดีถึงที่สดุ แล้ ว สิทธินาคดีมาฟ้องของโจทก์คดีนี ้
ย่อมไม่ระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๓๙ (๔) โจทก์จงึ ฟ้องขอให้ ลงโทษจาเลยคดีนี ้
ได้ ไม่เป็ นฟ้องซ ้า
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๖๑๓/๒๕๕๕ พรบ.ล้ างมลทินในวโรกาสที่
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา ๘๐
พรรษาฯ มาตรา ๕ ที่บญ
ั ญัติให้ ล้างมลทินให้ แก่บรรดาผู้ที่ถกู ลงโทษทาง
วินยั ในกรณีซงึ่ ได้ กระทาก่อนหรื อในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ และได้ รับ
โทษหรื อรับทัณฑ์ทงหมดหรื
ั้
อบางส่วนไปก่อนหรื อในวันที่ พรบ. นี ้ใช้ บงั คับ
โดยให้ ถือว่าผู้นนมิ
ั ้ ได้ เคยถูกลงโทษหรื อลงทัณฑ์ทางวินยั ในกรณีนนั ้ ๆ ก็
ตาม ก็มีผลเพียงแต่ให้ ถือว่าจาเลยไม่เคยถูกลงโทษทางวินยั เท่านัน้ มิได้
มีผลถึงกับให้ ถือว่า การกระทาความผิดอันเป็ นเหตุให้ จาเลยถูกลงโทษ
ทางวินยั ถูกลบล้ างไปด้ วย ทังกรณี
้
มิใช่มีกฏหมายออกใช้ ภายหลังการ
กระทาความผิดยกเลิกความผิด หรื อมีกฎหมายยกเว้ นโทษดังที่จาเลย
ฎีกา สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์จงึ ไม่ระงับไปตาม ปวิอ มาตรา
๓๙ (๕) และ (๗)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๕๙/๒๕๔๔ จาเลยกระทาความผิด
ฐานพาอาวุธปื นโดยไม่ได้ รับอนุญาตตามปอ. มาตรา ๓๗๑
เมื่อจาเลยกระทาผิดในปี ๒๕๓๔ แต่ถกู จับและฟ้องในปี
๒๕๔๐ ดังนี ้โจทก์ฟ้องจาเลยสาหรับความผิดฐานนี ้เกิน
กาหนดอายุความ ๑ ปี นับแต่วนั ที่จาเลยกระทาความผิด
ตามปอ. มาตรา ๙๕ (๖) สิทธินาคดีอาญามาฟ้องย่อม
ระงับไปตามปวิอ. มาตรา ๓๙ (๔) โจทก์จงึ ไม่มีอานาจฟ้อง
จาเลยในความผิดดังกล่าว
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๘๕๑/๒๕๔๔ ความผิดฐานมีอาวุธปื นและพาอาวุธ
ปื นโดยไม่ได้ รับใบอนุญาต ตามพรบ.อาวุธปื นฯ มาตรา ๗๒ วรรคหนึง่ และ
มาตรา ๗๒ ทวิ วรรคสอง ปอ. มาตรา ๓๗๑ มีกาหนดโทษจาคุกตังแต่
้ หนึง่
ปี ถึงสิบปี จาคุกไม่เกินห้ าปี และโทษปรับไม่เกิน ๑๐๐ บาท ตามลาดับ
ความผิดดังกล่าวจึงมีอายุความ สิบห้ าปี สิบปี และหนึง่ ปี ตามปอ. มาตรา
๙๕ (๒) (๓) (๕) โจทก์นาคดีมาฟ้องนับแต่วนั กระทาความผิดถึงวันฟ้องเกิน
กว่าสิบห้ าปี แล้ ว จึงเป็ นอันขาดอายุความ สิทธินาคดีอาญามาฟ้องย่อม
ระงับไปตามปวิอ. มาตรา ๓๙ (๖) ที่ศาลล่างทังสองพิ
้
พากษาลงโทษจาเลย
มาจึงเป็ นการไม่ชอบ ตามปวิอ. มาตรา ๑๘๕ แม้ ความผิดดังกล่าวจะยุติไป
ตามคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ ภาค ๖ แล้ วก็ตาม แต่ปัญหาเรื่ องอายุความ
เป็ นปั ญหาที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้ อย ศาลฎีกายกขึ ้นวินิจฉัยได้ เอง
ตามปวิอ.มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๒๒๕
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๗๕๒/๒๕๔๕ แม้ โจทก์จะฟ้องจาเลยในข้ อหาฉ้ อโกง
ประชาชน ตาม ป.อ. มาตรา ๓๔๓ และข้ อหาจัดหางานให้ คนหางานไปทางาน
ต่างประเทศโดยไม่ได้ รับอนุญาต ตาม พ.ร.บ.จัดหางานและคุ้มครองคนหางานฯ
มาตรา ๓๐, ๘๒ ซึง่ เป็ นความผิดอันยอมความไม่ได้ แต่ศาลชันต้
้ นพิพากษาว่า
จาเลยกระทาผิดฐานฉ้ อโกง ตาม ป.อ. มาตรา ๓๔๑ และยกฟ้องความผิดตาม
พ.ร.บ.จัดหางานและคุ้มครองคนหางานฯ ซึง่ โจทก์มิได้ อทุ ธรณ์ ความผิดทัง้ สองฐาน
จึงถึงที่สดุ โจทก์จะฎีกาว่าจาเลยกระทาผิดสองฐานนี ้อีกไม่ได้ และเมื่อฟั งได้ วา่
จาเลยกระทาความผิดตาม ป.อ. มาตรา ๓๔๑ ซึง่ เป็ นความผิดอันยอมความได้
ผู้เสียหายต้ องร้ องทุกข์ภายใน ๓ เดือน นับแต่วนั ที่ร้ ูเรื่ องความผิดและรู้ตวั ผู้กระทา
ความผิด ตาม ป.อ. มาตรา ๙๖ เมื่อผู้เสียหายร้ องทุกข์เพื่อดาเนินคดีแก่จาเลยเกิน
กว่า ๓ เดือน นับแต่วนั ดังกล่าว คดีโจทก์จงึ ขาดอายุความตาม มาตรา ๙๖ สิทธินา
คดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๖) โจทก์ไม่มีอานาจฟ้อง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๓๖๗ - ๓๓๖๘/๒๕๔๖ โจทก์แจ้ งต่อพนักงานสอบสวนถึง
ข้ อเท็จจริงที่โจทก์เห็นว่า จาเลยที่ ๑ ถอนเงินออกจากบัญชีเงินฝากของโจทก์โดยไม่
ถูกต้ อง เมื่อโจทก์สอบถามจาเลยที่ ๒ จาเลยที่ ๒ ก็ได้ ชี ้แจงถึงเหตุที่ทางธนาคาร
จาเลยที่ ๑ ต้ องหักเงินฝากออกจากบัญชีเงินฝากของโจทก์ชาระหนี ้ลูกหนี ้ที่โจทก์ทา
สัญญาค ้าประกันไว้ แสดงว่าโจทก์ร้ ูอยูแ่ ล้ วว่าจาเลยที่ ๑ และจาเลยที่ ๒ คือผู้ที่หกั
เอาเงินของโจทก์ออกไปจากบัญชีเงินฝากของโจทก์ โจทก์จงึ ไปพบพนักงานสอบสวน
เพื่อแจ้ งความให้ ดาเนินคดีแก่จาเลยทังสอง
้ จึงรับฟั งข้ อเท็จจริงได้ วา่ โจทก์ได้ ร้ ูเรื่ อง
ความผิดที่จาเลยทังสองกระท
้
าการฉ้ อโกงโจทก์ตงแต่
ั ้ วนั ดังกล่าว ส่วนเมื่อโจทก์แจ้ ง
ความแล้ ว พนักงานสอบสวนผู้รับแจ้ งจะเห็นว่าการกระทาของจาเลยทังสองไม่
้
เป็ น
ความผิดทางอาญา ก็เป็ นเพียงความเห็นของพนักงานสอบสวน จึงไม่อาจลบล้ าง
ข้ อเท็จจริงที่ถือว่าโจทก์ร้ ูเรื่ องความผิดและรู้ตวั ผู้กระทาความผิดฐานฉ้ อโกงดังกล่าว
ไปได้ โจทก์นาคดีมาฟ้องเมื่อพ้ นกาหนดเวลา ๓ เดือน ตาม ป.อ. มาตรา ๙๖ คดีเป็ น
อันขาดอายุความร้ องทุกข์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๘๖/๒๕๕๑ แม้ บ. ผู้เช่าซื ้อจะยังชาระราคาค่าเช่าซื ้อไม่
ครบถ้ วน กรรมสิทธิ์ในรถยนต์บรรทุกดังกล่าวยังเป็ นของ ว. ผู้ให้ เช่าซื ้อ แต่ บ. ก็มี
สิทธิครอบครองใช้ ประโยชน์จากรถยนต์บรรทุกที่เช่าซื ้อนัน้ และมีหน้ าที่ต้องส่งคืน
รถยนต์บรรทุกที่เช่าซื ้อในสภาพเรี ยบร้ อย แก่ ว.ผู้ให้ เช่าซื ้อหากมีกรณีต้องคืน เมื่อ
จาเลยทังสองยั
้
กยอกชิ ้นส่วนอุปกรณ์ของรถยนต์บรรทุกดังกล่าวไปจาก บ. บ.ย่อม
ได้ รับความเสียหายจึงเป็ นผู้เสียหายและมีอานาจร้ องทุกข์ให้ ดาเนินคดีแก่จาเลย
ทังสองได้
้
เช่นเดียวกับ ว. เจ้ าของรถยนต์บรรทุกคันดังกล่าว คดีนี ้เป็ นความผิดอัน
ยอมความได้ เมื่อ บ. รู้เรื่ องความผิดและรู้ตวั ผู้กระทาความผิดเมื่อวันที่ ๑๐
พฤศจิกายน ๒๕๔๑ แต่มีการร้ องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนให้ ดาเนินคดีแก่จาเลย
ทังสองเมื
้
่อวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๔๒ ซึง่ เกินกว่าสามเดือนนับแต่วนั ที่ร้ ูเรื่ อง
ความผิด และรู้ตงั ผู้กระทาผิดแล้ ว คดีโจทก์จงึ ขาดอายุความตาม ป.อ. มาตรา ๙๖
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๖๙๕/๒๕๔๖ โจทก์มอบอานาจให้ ร. ดาเนินการ
ทุกอย่างเพื่อยับยังและจ
้
ากัดการเลียนแบบ ละเมิดและการกระทาที่ไม่
ชอบด้ วยกฎหมายเกี่ยวกับชื่อทางการค้ า ลิขสิทธิ์ สิทธิบตั ร และอื่นๆ ที่
ใช้ เกี่ยวกับการค้ าของโจทก์ และให้ อานาจร้ องทุกข์ ฟ้องร้ องดาเนินคดีใน
นามของโจทก์ ร. รู้เรื่ องการกระทาความผิดและรู้ตวั ผู้กระทาความผิดใน
วันที่ ร. อ่านรายงานการล่อซื ้อคอมพิวเตอร์ ที่มีโปรแกรมละเมิดลิขสิทธิ์
ของโจทก์ ส่วนการตรวจสอบคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่
ซื ้อมาก็เพื่อให้ ได้ หลักฐานชัดเจนยิ่งขึ ้นอันจะเป็ นประโยชน์ในการฟ้องคดี
ไม่ใช่เพื่อให้ ร้ ูถงึ การกระทาความผิดเพราะ ร. รู้วา่ คอมพิวเตอร์ เครื่ องนัน้
มีการละเมิดลิขสิทธิ์ของโจทก์แล้ ว เมื่อโจทก์ไม่ได้ ร้องทุกข์และนาคดีนี ้ซึง่
เป็ นความผิดอันยอมความได้ มาฟ้องภายใน ๓ เดือน นับแต่วนั ที่ ร. รู้
เรื่ องดังกล่าว คดีโจทก์ขาดอายุความตาม ป.อ. มาตรา ๙๖
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๘๘/๒๕๔๖ ป.อ. ภาค ๑ ลักษณะ ๑ หมวด
๙ ได้ บญ
ั ญัติเรื่ องอายุความคดีอาญาไว้ โดยเฉพาะแล้ ว หาได้ มี
บทบัญญัติเรื่ องอายุความสะดุดหยุดลงหรื อเลิกนับอายุความร้ อง
ทุกข์ อันจะนา ป.พ.พ. มาใช้ บงั คับไม่ แม้ โจทก์จะฟ้องจาเลยทัง้
สองต่อศาลแขวงดุสติ ภายในกาหนดอายุความ แต่เมื่อคดีไม่อยูใ่ น
อานาจศาลแขวงดุสติ ซึง่ ศาลแขวงดุสติ มีคาสัง่ จาหน่ายคดีไปแล้ ว
การที่โจทก์นาคดีนี ้มาฟ้องศาลแขวงพระนครใต้ อีกเมื่อพ้ นกาหนด
อายุความ สิทธินาคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ย่อมระงับไปตาม ป.
วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๖)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๐๐๒/๒๕๕๒ แม้ ที่ดินที่เกิดเหตุจะเป็ นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดินอันเป็ นที่ดินของรัฐแต่การรถไฟแห่งประเทศไทยเป็ นผู้ถือกรรมสิทธิ์และเป็ น
ทรัพย์สนิ ที่ใช้ เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ไม่ใช่สาธารณสมบัติของ
แผ่นดินที่เป็ นที่ดินรกร้ างว่างเปล่าหรื อสาหรับพลเมืองใช้ ร่วมกันตาม ปพพ. มาตรา
๑๓๐๔ (๑) (๒) ดังนันผู
้ ้ เข้ าไปยึดถือครอบครองอาจมีความผิดฐานบุกรุ กตาม ปอ.
มาตรา ๓๖๒, ๓๖๕ แต่ความผิดฐานบุกรุกเกิดขึ ้นและสาเร็จแล้ วในทันที่ที่จาเลย
เข้ าไปยึดถือครอบครองที่ดินที่เกิดเหตุ ส่วนการที่จาเลยยึดถือครอบครองต่อมา
เป็ นเพียงผลของการบุกรุกเท่านัน้ ไม่ใช่เป็ นความผิดต่อเนื่องตราบเท่าที่จาเลย
ยังคงยึดถือครอบครองที่เกิดเหตุแต่อย่างใด ซึง่ ความผิดตามมาตรา ๓๖๕ มีอายุ
ความ ๑๐ ปี และตามมาตรา ๓๖๒ มีอายุความ ๕ ปี ตาม ปอ.มาตรา ๙๕ (๓)
และ (๔) เมื่อฟั งได้ วา่ จาเลยเข้ าไปยึดถือครอบครองที่ดินที่เกิดเหตุมาตังแต่
้ ก่อน
วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๑๕ โจทก์นาคดีมาฟ้องเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๖ เกินกว่า
๑๐ ปี นับแต่วนั กระทาความผิด จึงเป็ นอันขาดอายุความ สิทธินาคดีอาญามาฟ้อง
ของโจทก์ยอ่ มระงับไปตาม ปวิอ. มาตรา ๓๙ (๖)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๖/๒๕๕๗ ฟ้องโจทก์ระบุวา่
เด็กชาย ธ มีสว่ นกระทาโดยประมาทด้ วยโดยขับ
รถจักรยานยนต์ด้วยความเร็วสูง เด็กชาย ธ จึงไม่ใช่
ผู้เสียหายโดยนิตินยั และไม่มีอานาจยื่นคาร้ องขอให้ บงั คับ
จาเลยชดใช้ คา่ สินไหมทดแทนตาม ปวิอ มาตรา ๔๔/๑
ปั ญหาดังกล่าวเป็ ฯข้ อกฏหมายที่เกี่ยวกับความสงบ
เรี ยบร้ อย แม้ ไม่มีคคู่ วามฝ่ ายใดฎีกา ศาลฎีกามีอานาจ
ยกขึ ้นวินิจฉัยได้ เองตาม ปวิอ มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง
ประกอบมาตรา ๒๒๕
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๘๙/๒๕๕๗ โจทก์ร่วมที่ ๒ มีเรื่ องต่อยกับ
จาเลยก่อน ต่อมาในวันเดียวกัน โจทก์ร่วมทังสองติ
้
ดตามไปท้ าท่าย
จาเลยที่บ้านของจาเลยให้ ออกมาต่อสู้กนั จากนันจึ
้ งเกิดเหตุการณ์
ต่อสู้กนั โดยจาเลยใช้ มีดพร้ าฟั นโจทก์ร่วมทังสองได้
้
รับบาดเจ็บ
พฤติการณ์แห่งคดีจงึ ฟั งได้ วา่ โจทก์ร่วมทังสองสมั
้
ครใจทะเลาะวิวาท
กับจาเลย โจทก์ร่วมทังสองไม่
้
ใช่ผ้ เู สียหายโดยนิตินยั ไม่มีสิทธิขอเข้ า
ร่วมเป็ นโจทก์และไม่มีสิทธิยื่นคาร้ องขอให้ บงั คับจาเลยชดใช้ คา่
สินไหมทดแทนตาม ปวิอ มาตรา ๔๔/๑ วรรคหนึง่ ได้ ปั ญหา
ดั.งกล่าวเป็ นปั ญหาข้ อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้ อย ศาล
ฎีกามีอานาจหยิบยกขึ ้นแก้ ไขให้ ถกู ต้ องได้ ตาม ปวิอ มาตรา ๑๙๕
วรรคสอง ประกอบ มาตรา ๒๒๕
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๖๖๔/๒๕๕๕ คดีนี ้พนักงานอัยการมีคาขอให้ จาเลยคืนเงิน ๔๒,๕๐๐
บาท แก่ผ้ เู สียหายตาม ปวิอ มาตรา ๔๓ แล้ ว ต่อมาโจทก์ร่วมยื่นคาร้ องขอให้ จาเลยชดใช้
ค่าสินไหมทดแทนโดยคืนเงิน ๔๒,๕๐๐ บาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ ๗.๕ ต่อปี ของ
เงินต้ นจานวนดังกล่าว นับถัดจากวันฟ้องเป็ นต้ นไปจนกว่าจะชาระเสร็จแก่โจทก์ร่วมตาม
ปวิอ มาตรา ๔๔/๑ อีก ซึง่ มาตรา ๔๔/๑ วรรคสาม บัญญัติวา่ ... ในกรณีที่พนักงานอัยการ
ได้ ดาเนินการตามความในมาตรา ๔๓ แล้ ว ผู้เสียหายจะยื่นคาร้ องตามวรรคหนึง่ เพื่อเรี ยก
ทรัพย์สินหรื อราคาทรัพย์อีกไม่ได้ ดังนี ้ โจทก์ร่วมจึงยื่นคาร้ องขอให้ บงั คับจาเลยชดใช้ คา่
สินไหมทดแทนโดยคืนเงิน ๔๒,๕๐๐ บาท อีกไม่ได้ การที่ศาลชันต้
้ นสัง่ รับคาร้ องของโจทก์
ร่วมในส่วนนี ้จึงไม่ชอบ อย่างไรก็ตามดอกเบี ้ยของเงิน ๔๒,๕๐๐ บาท ไม่ใช่ทรัพย์สินหรื อ
ราคาที่ผ้ เู สียหายสูญเสียไปเนื่องจากการกระทาความผิด แต่เป็ นค่าเสียหายในทางทรัพย์สิน
อันเนื่องมาจากการกระทาความผิดของจาเลย เพราะฉะนันพนั
้ กงานอัยการจะมีคาขอเรี ยกค่า
ดอกเบี ้ยแทนโจทก์ร่วมไม่ได้ โจทก์ร่วมจึงยื่นคาร้ องขอให้ บงั คับจาเลยชดใช้ คา่ สินไหมทดแทน
โดยชาระดอกเบี ้ยของต้ นเงิน ๔๒,๕๐๐ บท ตาม ปวิอ มาตรา ๔๔/๑ วรรคหนึง่ ได้
คดีแพ่ งเกี่ยวเนื่องกับคดีอำญำ
ผู้เสียหำย
ขอในคดี
ของอัยกำร
อัยกำรขอ
ขอต่อศาล
คดีอาญา
นาคดีไป
ฟ้องเป็ น
คดีแพ่ง
ผู้เสียหำย
ฟ้องอำญำ
และมีคำขอ
ส่ วนแพ่ ง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๐๕/๒๕๔๒ การพิจารณาว่าคดีแพ่งเรื่ องใดเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาหรื อไม่
ต้ องพิจารณาข้ อเท็จจริงในคดีแพ่งนันว่
้ า เป็ นการกระทาที่เป็ นองค์ประกอบที่เป็ นความผิดใน
คดีอาญาหรื อไม่ การที่โจทก์ฟ้องจาเลยในทางแพ่งขอให้ เพิกถอนการจดทะเบียนซื ้อขายอัน
เนื่องมาจากจาเลยใช้ หนังสือมอบอานาจปลอม ก็โดยอาศัยเหตุจากที่โจทก์เคยแจ้ งความร้ อง
ทุกข์ให้ อยั การมณฑลทหารบกฟ้องจาเลยคดีก่อนในทางอาญาเรื่ องจาเลยใช้ หนังสือมอบอานาจ
ปลอมดังกล่าว ซึง่ ศาลมณฑลทหารบกพิพากษาลงโทษจาเลยและคดีถงึ ที่สดุ แล้ ว นับได้ วา่ ทังคดี
้
แพ่งและคดีอาญาต่างมีประเด็นสาคัญโดยตรงเป็ นอย่างเดียวกัน ฟ้องโจทก์คดีนี ้จึงเป็ นคดีแพ่ง
เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ดังนัน้ ในการพิจารณาคดีสว่ นแพ่งที่วา่ จาเลยใช้ หนังสือมอบอานาจ
ปลอมหรื อไม่ ศาลจาต้ องถือข้ อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีสว่ นอาญาว่าจาเลยใช้
เอกสารปลอม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๖ เมื่อคดีอาญาถึงที่สดุ
แล้ วโดยศาลพิพากษาลงโทษจาเลยก่อนที่โจทก์ได้ ยื่นฟ้องคดีแพ่ง สิทธิของโจทก์ ที่จะฟ้องคดีแพ่ง
ย่อมมีอายุความ ๑๐ ปี ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๓๒(มาตรา ๑๖๘
เดิม)และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๕๑ วรรคสาม คดีอาญาก่อนถึงที่สดุ
วันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๓๘ โจทก์ฟ้องคดีนี ้เมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๓๘ ยังไม่เกิน ๑๐ ปี คดีโจทก์
ยังไม่ขาดอายุความ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๑๔๔ - ๑๑๔๖/๒๕๕๓ จาเลยฟ้องโจทก์เป็ นคดีอาญาว่า
ปลอมสัญญาจะซื ้อจะขายที่ดินทังสามฉบั
้
บในคดีนี ้ซึง่ โจทก์ฟ้องขอให้ บงั คับให้
จาเลยโอนที่ดินตามสัญญาจะซื ้อจะขายทังสามฉบั
้
บดังกล่าว คดีนี ้จึงเป็ นคดีที่มีมลู
คดีเกี่ยวเนื่องมาจากการกระทาผิดอาญาดังกล่าว และโจทก์จาเลยในคดีแพ่งกับ
คดีอาญาเป็ นคูค่ วามเดียวกัน จึงเป็ นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาตามปวิอ
มาตรา ๔๖ เมื่อข้ อเท็จจริงซึง่ เป็ นประเด็นโดยตรงในคดีอาญาทังสองเรื
้
่ องดัง
กล่าวถึงที่สดุ แล้ วตามคาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๒๓๗ - ๕๒๓๘/๒๕๓๙ การ
พิพากษาคดีสว่ นแพ่งจาต้ องถือข้ อเท็จจริงตามที่ปรากฎในคาพิพากษาส่วนอาญา
ตาม ปวิอ มาตรา ๔๖ ซึง่ ในคดีสว่ นอาญาดังกล่าวศาลฎีกาวินิจฉัยว่า
พยานหลักฐานโจทก์ยงั ไม่พอฟั งว่าสัญญาจะซื ้อจะขายที่ดินทังสี
้ ่ฉบับ (ซึง่ รวมถึง
สัญญาจะซื ้อจะขายที่ดินเอกสารหมาย จ. ๑๑ จ. ๒๒ และ จ. ๒๕ ด้ วย) เป็ น
เอกสารปลอม เมื่อรับฟั งประกอบพยานหลักฐานที่โจทก์นาสืบ ข้ อเท็จจริ งจึงฟั งได้
ว่าจาเลยทาสัญญาจะซื ้อจะขายที่ดินกับโจทก์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๗๘/๒๕๕๔ โจทก์บรรยายฟ้องเรี ยกค่าเสียหายจากจาเลยโดยกล่าวอ้ าง
ว่า จาเลยกระทาละเมิดด้ วยการสร้ างกาแพงรัว้ คอนกรี ตรุกล ้าที่ดินของโจทก์เป็ นความผิดทาง
อาญาฐานบุกรุก โดยในฟ้องโจทก์บรรยายไว้ ด้วยว่า ได้ มีการแจ้ งความร้ องทุกข์ตอ่ พนักงาน
สอบสวนให้ ดาเนินคดีอาญาแก่จาเลยแล้ ว ซึง่ จาเลยก็ได้ ให้ การแก้ คดีโดยยอมรับว่า เมื่อเดือน
มิถนุ ายน ๒๕๔๓ โจทก์ร้องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลศาลาแดงกล่าวหา
ว่าจาเลยกระทาความผิดฐานบุกรุก แต่ตอ่ มาวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๕ พนักงานอัยการมีคาสัง่
เด็ดขาดไม่ฟ้องจาเลย ดังนี ้ ฟ้องโจทก์มีข้อความที่จะพึงเห็นได้ วา่ จาเลยกระทาการอันมิชอบ
ทาให้ โจทก์ได้ รับความเสียหาย อันเป็ นความผิดทางอาญาต่อโจทก์ฐานบุกรุกด้ วย จึงถือได้ วา่
เป็ นคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา แม้ ข้อเท็จจริงจะได้ ความว่าพนักงานอัยการมีคาสัง่ เด็ดขาด
ไม่ฟ้องจาเลยในความผิดฐานบุกรุก ไม่วา่ จะมีเหตุผลเพราะจาเลยไม่มีเจตนาและ
รู้เท่าไม่ถงึ การณ์ก็ตาม ก็ไม่มีผลกระทบกระเทือนต่อการฟ้องคดีแพ่งของโจทก์ เนื่องจากคดีนี ้
โจทก์ฟ้องขอให้ บงั คับจาเลยรื อ้ ถอนกาแพงคอนกรี ตส่วนที่รุกล ้าเข้ าไปในที่ดินของโจทก์ เป็ นการ
ที่โจทก์ซงึ่ เป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์ที่ดินใช้ อานาจแห่งกรรมสิทธิ์ตาม ปพพ มาตรา ๑๓๓๖ บังคับ
ให้ จาเลยรื อ้ ถอนกาแพงคอนกรี ตส่วนที่รุกล ้าเข้ าไปในที่ดินของโจทก์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๒๐/๒๕๔๐ ในคดีสว่ นอาญา จาเลยถูก
กล่าวหาว่ากระทาความผิดต่อ พระราชบัญญัติวา่ ด้ วยความผิด
อันเกิดจากการใช้ เช็คฯ ส่วนคดีนี ้โจทก์ฟ้องให้ จาเลยรับผิดใช้ เงิน
ตามเช็คอันเป็ นสิทธิเรี ยกร้ องที่ไม่ต้องอาศัยมูลความผิดทาง
อาญา ตาม พระราชบัญญัติ ว่าด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้
เช็คฯ จึงไม่ใช่คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา จะนาบทบัญญัติ
แห่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๖ มา
ใช้ บงั คับไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๘๕/๒๕๔๕ โจทก์ซงึ่ เป็ นลูกจ้ างฟ้อง
จาเลยผู้เป็ นนายจ้ างเรี ยกค่าชดเชย สินจ้ างแทนการบอก
ล่วงหน้ า โบนัส เงินบาเหน็จ และค่าเสียหายจากการเลิกจ้ าง
ไม่เป็ นธรรม อันเป็ นการฟ้องบังคับตามสิทธิเรี ยกร้ องในมูลหนี ้
ที่เกิดจากการผิดสัญญาจ้ างแรงงาน แม้ โจทก์จะถูกดาเนิน
คดีอาญาฐานยักยอกทรัพย์ตามที่จาเลยกล่าวหาก็ไม่ทาให้ คดี
นี ้กลายเป็ นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ดังนัน้ ในการ
พิพากษาคดีศาลแรงงานกลางจึงไม่จาต้ องถือข้ อเท็จจริ ง
ตามที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีสว่ นอาญา
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๐๐๙/๒๕๕๒ ในคดีอาญาโจทก์ฟ้องจาเลย
ร่วมและ ป. ในข้ อหาปลอมและใช้ เอกสารปลอม ส่วนคดีแพ่งโจทก์
ฟ้องเรี ยกเงินตามสัญญาฝากทรัพย์ แล้ วจาเลยยื่นคาร้ องขอให้ ศาล
เรี ยกจาเลยร่วมเข้ ามาในคดีตาม ปวิพ. ทังนี
้ ้สิทธิของโจทก์ที่จะฟ้อง
คดีแพ่งไม่ต้องอาศัยมูลความผิดทางอาญาฐานปลอมและใช้
เอกสารปลอมแต่อย่างใด จึงไม่ใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
เพราะคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญานัน้ หมายความถึงการที่จาเลย
ไปกระทาความผิดในทางอาญาและก่อให้ เกิดความเสียหายในทาง
แพ่งเกี่ยวพันโดยตรงขึ ้นมา เมื่อมิใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
แล้ ว จึงไม่จาต้ องฟั งข้ อเท็จจริ งในส่วนอาญามาผูกพันทางแพ่ง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๘๗๕/๒๕๕๓ การจะนาข้ อเท็จจริ งจากคา
พิพากษาส่วนอาญามารับฟั งในคดีแพ่งตาม ปวิอ มาตรา ๔๖
ข้ อเท็จจริ งนันจะต้
้ องเป็ นประเด็นโดยตรงในคดีอาญาและศาลได้
วินิจฉัยไว้ โดยชัดแจ้ งและผู้ที่จะถูกข้ อเท็จจริ งในคดีอาญามาผูกพัน
ต้ องเป็ นคูค่ วามในคดีอาญาด้ วย เมื่อข้ อเท็จจริ งที่ว่าจาเลยมีสว่ น
ร่วมกระทาความผิดกับ ม. หรื อไม่ ไม่ใช่ประเด็นโดยตรงใน
คดีอาญาและศาลชันต้
้ นก็ไม่ได้ วินิจฉัยไว้ ทังจ
้ าเลยไม่ได้ ถกู
พนักงานอัยการฟ้องเป็ นจาเลยร่วมกับ ม. จาเลยจึงไม่ได้ เป็ น
คูค่ วามในคดีอาญา คดีนี ้จึงไม่ใช่คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
ที่ศาลจาต้ องถือข้ อเท้ จจริ งตามที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีสว่ น
อาญา
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๔๓๘๓/๒๕๕๓ คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาหมายความ
ถึงคดีแพ่งที่มีมลู มาจากการกระทาความผิดทางอาญา หรื อความรับผิดในทางแพ่ง
เกิดขึ ้นจากผลของการกระทาความผิดอาญาโดยตรง ซึง่ คดีอาญาที่จาเลยอ้ าง แม้
พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้องว่า จาเลยกระทาความผิดฐานยักยอกเสาไม้ เสาเข็ม
และไม้ ฟืนอันเป็ นทรัพย์รายเดียวกับทรัพย์ในคดีแพ่งคดีนี ้ และมีคาขอให้ จาเลยใช้
ราคาทรัพย์แก่ผ้ เู สียหายแทนผู้เสียหายหรื อโจทก์คดีนี ้ก็ตาม แต่คดีแพ่งคดีนี ้โจทก์
ฟ้องเรี ยกค่าปรับหรื อค่าเสียหายจากจาเลยที่ผิดสัญญา อันเป็ นสิทธิเรี ยกร้ องที่ไม่
ต้ องอาศัยมูลจากการกระทาความผิดทางอาญาฐานยักยอกแต่อย่างใด คดีนี ้จึงมิใช่
คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา และไม่จาต้ องถือตามข้ อเท็จจริ งที่ปรากฏในคา
พิพากษาส่วนอาญา โจทก์จงึ มีอานาจฟ้องว่าจาเลยผิดสัญญาอันมีข้อโต้ แย้ งเกิดขึ ้น
เกี่ยวกับสิทธิหรื อหน้ าที่ของโจทก์จาเลยผู้เป็ นคูส่ ญ
ั ญาตามกฎหมายแพ่งตาม ปวิพ
มาตรา ๕๕
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๗๔๕/๒๕๓๗ โจทก์ฟ้องจาเลยที่
๑ ว่า กระทาความผิดฐานโกงเจ้ าหนี ้และศาลพิพากษา
ลงโทษจาเลยที่ ๑ คดีถึงที่สดุ แล้ ว ส่วนคดีแพ่งโจทก์ฟ้อง
ขอให้ เพิกถอนการฉ้ อฉลอันเป็ นสิทธิเรี ยกร้ องที่ไม่ต้อง
อาศัยมูลความผิดทางอาญาในความผิดฐานโกงเจ้ าหนี ้
จึงไม่ใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาจะนาบทบัญญัติ
แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา
๔๖ มาใช้ บงั คับไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๖๐๒/๒๕๕๐ คดีร้อง
ขอให้ ทรัพย์สินตกเป็ นของแผ่นดินตาม พรบ.
ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินฯ มิใช่คดี
แพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาตามความหมาย
ของปวิอ. มาตรา ๔๖
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๘๘๑/๒๕๑๙ ราษฎรฟ้อง
คดีอาญาและคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องรวมกัน ศาลไต่สวน
มูลฟ้องแล้ ว สัง่ งดพยานโจทก์ พิพากษายกฟ้อง
คดีอาญาและไม่รับฟ้องคดีแพ่ง ศาลอุทธรณ์พิพากษายก
คาพิพากษาศาลชันต้
้ น ให้ สืบพยานโจทก์ตอ่ ไปและมี
คาสัง่ ใหม่ จาเลยยังไม่อยู่ในฐานะเป็ นจาเลยฎีกาไม่ได้
คดีสว่ นแพ่งโจทก์ก็ฟ้องรวมกับคดีอาญาได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๕๑๒/๒๕๓๗ ศาลอุทธรณ์พิพากษา
ให้ จาเลยคืนเงินแก่โจทก์ร่วม แต่โจทก์ร่วมได้ ถอนคาร้ อง
ทุกข์ในความผิดฐานฉ้ อโกงซึง่ เป็ นความผิดอันยอมความ
ได้ ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา สิทธินาคดีอาญา
มาฟ้องของโจทก์ย่อมระงับไปตาม ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙(๒)โจทก์จงึ ไม่มีสิทธิ
ขอให้ บงั คับจาเลยคืนเงินแก่โจทก์ร่วม
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๒๗๑/๒๕๓๑ ในคดีที่พนักงาน
อัยการเป็ นโจทก์ฟ้องขอให้ ลงโทษจาเลยฐานรับของโจร
และมีคาขอให้ จาเลยคืนทรัพย์สินหรื อใช้ ราคาแทน
ผู้เสียหายด้ วย แม้ ผ้ เู สียหายจะเข้ าเป็ นโจทก์ร่วมกับ
พนักงานอัยการก็ตาม เมื่อจาเลยถึงแก่ความตายสิทธินา
คดีอาญามาฟ้องของโจทก์และโจทก์ร่วมย่อมระงับไป
และคาขอให้ คืนทรัพย์สินหรื อใช้ ราคาย่อมตกไปด้ วย จึง
ต้ องจาหน่ายคดีเสียจากสารบบความ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๐๖๑/๒๕๔๕ หลังจากที่ศาลอุทธรณ์ภาค ๙
มีคาพิพากษา ผู้เสียหายได้ รับชาระหนี ้ตามคาพิพากษาในคดีแพ่ง
จากจาเลยแล้ ว จึงไม่ติดใจดาเนินคดีอาญาแก่จาเลยที่ ๑ ต่อไปอีก
ถือว่าผู้เสียหายและจาเลยที่ ๑ ยอมความกันในความผิดฐาน
ร่วมกันฉ้ อโกงซึง่ เป็ นความผิดต่อส่วนตัวก่อนคดีถงึ ที่สดุ สิทธินา
คดีอาญามาฟ้องในความผิดฐานดังกล่าวจึงระงับไปตาม ป.วิ.อ.
มาตรา ๓๙ (๒) และย่อมทาให้ คาขอในส่วนแพ่งของโจทก์ที่ให้
จาเลยที่ ๑ คืนเงินแก่ผ้ เู สียหายตกไปด้ วย ปั ญหานี ้เป็ นข้ อ
กฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้ อย ศาลฎีกามีอานาจยกขึ ้น
วินิจฉัยได้ เองตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง ประกอบด้ วย
มาตรา ๒๒๕
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๕๓๖/๒๕๕๔ เมื่อสิทธินา
คดีอาญามาฟ้องของโจทก์ระงับไปตาม ปวิอ
มาตรา ๓๙(๖) (กรณีคดีขาดอายุความ) โจทก์
ย่อมไม่มีสทิ ธิเรี ยกให้ จาเลยคืนหรื อชดใช้ เงินในคดี
นี ้ได้ ตาม ปวิอ มาตรา ๔๓ สิทธิของโจทก์ร่วมที่
อาศัยสิทธิของโจทก์ยอ่ มตกไปด้ วย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๓๔๑๒/๒๕๕๓ ความผิดฐานฉ้ อโกงตาม ปอ
มาตรา ๓๔๑ เป็ นความผิดอันยอมความได้ เมื่อโจทก์ร่วมซึง่ เป็ น
ผู้เสียหายถอนคาร้ องทุกข์ก่อนคดีถึงที่สดุ สิทธิการนาคดีอาญามาฟ้อง
ย่อมระงับไปตาม ปวิอ มาตรา ๓๙ (๒) และการที่โจทก์ร่วมถอนคาร้ อง
ทุกข์ ย่อมเป็ นผลให้ คาขอในส่วนแพ่งในความผิดฐานฉ้ อโกงที่โจทก์ร่วม
ได้ ขอให้ จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ คืนหรื อใช้ เงินแก่โจทก์ร่วมตกไปด้ วย
ประกอบกับ ปวิอ มาตรา ๔๓ และพรบ.จัดหางานและคุ้มครอง
คนหางานมิได้ บญ
ั ญัติให้ อานาจพนักงานอัยการโจทก์มีสิทธิยื่นคาขอให้
จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ คืนหรื อใช้ เงินในความผิดฐานร่วมกันหลอกลวง
ผู้อื่นว่าสามารถหางานในต่างประเทศได้ จึงต้ องยกคาขอในส่วนแพ่งของ
โจทก์สาหรับจาเลยที่ ๒ และที่ ๓ เสียด้ วย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๗๑๓/๒๕๓๙ ศาลชันต้
้ นไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญาซึง่ มีคดี
แพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญารวมมาด้ วยแล้ วมีคาสัง่ ให้ รับประทับฟ้อง แสดงว่า
เป็ นการสัง่ ให้ รับฟ้องคดีสว่ นอาญาและคดีสว่ นแพ่งด้ วย หากจาเลยจะต่อสู้คดี
ส่วนแพ่งต้ องให้ การต่อสู้พร้ อมกับคาให้ การต่อสู้คดีสว่ นอาญาโดยคาให้ การใน
คดีสว่ นแพ่งนันต้
้ องชอบด้ วย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง เมื่อจาเลยทังสอง
้
ให้ การต่อสู้คดีสว่ นอาญาและคดีสว่ นแพ่งรวมกันมาว่า จาเลยทังสองให้
้
การ
ปฏิเสธฟ้องโจทก์ทงสิ
ั ้ ้นเท่านัน้ ถือว่าคาให้ การในส่วนแพ่งจาเลยทังสองคงเพี
้
ยง
ให้ การปฏิเสธลอยๆ จึงไม่มีประเด็นข้ อพิพาทว่าโจทก์ไม่ใช่เจ้ าของรถยนต์
พิพาท และจาเลยทังสองซื
้
้อรถยนต์พิพาทมาโดยสุจริตในท้ องตลาดตามที่
จาเลยทังสองยกขึ
้
้นอุทธรณ์แต่อย่างใด คดีสว่ นแพ่งของจาเลยทังสองจึ
้
ง
ต้ องห้ ามอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ.มาตรา ๒๒๕ วรรคแรก
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๙๐๖/๒๕๓๖ โจทก์ฟ้องขอให้ ลงโทษจาเลยฐานบุกรุกและ
ขอให้ ขบั ไล่จาเลยกับให้ จาเลยชดใช้ คา่ เสียหายให้ แก่โจทก์ เป็ นการฟ้องคดีอาญา
และคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ศาลชันต้
้ นไต่สวนมูลฟ้องแล้ วมีคาสัง่ ให้
ประทับฟ้องหมายเรี ยกจาเลยมาให้ การในวันนัดสืบพยานโจทก์ ให้ โจทก์นาส่ง
หมายเรี ยกภายใน ๗ วัน จาเลยจึงมีสทิ ธิยื่นคาให้ การในวันนัดสืบพยานโจทก์ได้ โดย
ไม่ต้องยื่นคาให้ การแก้ คดีภายใน ๑๕ วัน นับแต่ได้ สง่ หมายเรี ยกและสาเนาฟ้อง
ให้ แก่จาเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา ๑๗๗ วรรคหนึง่
ดังนี ้เมื่อศาลชันต้
้ นออกหมายเรี ยกและกาหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ ๑๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๓๓ และเมื่อถึงวันนัดสืบพยานโจทก์นนั ้ ศาลชันต้
้ นได้ อา่ นและ
อธิบายฟ้องให้ จาเลยฟั ง จาเลยให้ การปฏิเสธ ศาลชันต้
้ นบันทึกคาให้ การของจาเลย
ไว้ จึงถือได้ วา่ จาเลยได้ ยื่นคาให้ การในคดีสว่ นแพ่งในวันนันด้
้ วยแล้ ว โจทก์ไม่มีสิทธิ
ยื่นคาร้ องขอให้ ศาลมีคาสัง่ แสดงว่าจาเลยขาดนัดยื่นคาให้ การ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๙๒/๒๕๐๖ ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญามาตรา ๔๓ มิได้ บญ
ั ญัติให้ อานาจ
พนักงานอัยการเรี ยกทรัพย์สินหรื อราคาคืนแทน
ผู้เสียหายในคดีอาญาฐานโกงเจ้ าหนี ้เพราะความผิด
ฐานโกงเจ้ าหนี ้เป็ นความผิดคนละฐานกับความผิดฐาน
ฉ้ อโกง พนักงานอัยการจึงเรี ยกทรัพย์สินหรื อราคาแทน
ผู้เสียหายไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๓๐๓/๒๕๓๑ ในคดีฉ้อโกงตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๔๔ พนักงานอัยการไม่
มีอานาจเรี ยกค่าแรงหรื อค่าจ้ างแทนผู้เสียหายตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๓
เพราะมิใช่ทรัพย์สินที่ผ้ เู สียหายเสียไปเนื่องจากการ
กระทาผิดของจาเลย ผู้เสียหายชอบที่จะฟ้องบังคับจาเลย
ในทางแพ่ง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๓๔๗/๒๕๔๕ แม้ บทบัญญัติมาตรา ๙๑ ตรี
แห่งพ.ร.บ. จัดหางานและคุ้มครองคนหางานฯ ซึง่ ระบุให้ ผ้ ทู ี่
หลอกลวงผู้อื่นว่าสามารถหางานหรื อสามารถส่งไปฝึ กงาน
ต่างประเทศได้ และโดยการหลอกลวงนันได้
้ ไปซึง่ เงินหรื อ
ทรัพย์สนิ หรื อประโยชน์อื่นใดจากผู้ถกู หลอกลวงนัน้ จะมีถ้อยคา
ว่า “หลอกลวงผู้อื่น” ก็ตาม ก็ไม่ใช่ความผิดฐานฉ้ อโกงตาม ป.
วิ.อ. มาตรา ๔๓ และพ.ร.บ.จัดหางานและคุ้มครองคนหางานก็
มิได้ ให้ พนักงานอัยการโจทก์มีสทิ ธิเรี ยกให้ จาเลยคืนหรื อใช้ เงินคืน
แก่ผ้ เู สียหาย โจทก์จงึ ไม่อาจขอให้ ศาลบังคับให้ จาเลยคืนหรื อ
ชดใช้ เงินแก่ผ้ เู สียหายได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๓๑/๒๕๑๑ ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๔๓ ซึง่ ให้ พนักงานอัยการ
เรี ยกทรัพย์สินหรื อราคาคืนในคดียกั ยอกนัน้ ย่อม
หมายความรวมถึงคดีเจ้ าพนักงานยักยอกตามประมวล
กฎหมายอาญามาตรา ๑๔๗ ด้ วย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๗๘/๒๕๒๐ ความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา ม.๑๔๙ ฐานรับสินบนซึง่ ไม่
เป็ นความผิดตาม ม.๓๓๗ ฐานกรรโชก อัยการไม่มี
อานาจขอให้ จาเลยใช้ ราคาทรัพย์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๗๓๔/๒๕๓๙ ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๔๓ บัญญัติให้ อานาจ
พนักงานอัยการที่จะเรี ยกทรัพย์สินหรื อราคาแทนผู้เสียหาย
เท่านัน้ ค่าเสียหายอันเป็ นค่าขาดประโยชน์จากสัญญาเช่า
ซื ้อที่โจทก์ฟ้องเรี ยกร้ องมาในคดีนี ้ไม่ใช่ทรัพย์สินหรื อราคา
ที่ผ้ เู สียหายสูญเสียไปเนื่องจากการกระทาผิด พนักงาน
อัยการจึงฟ้องเรี ยกค่าเสียหายดังกล่าวในคดีเดิมแทน
ผู้เสียหายไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๖๐๐/๒๕๕๓ ปวิอ. มาตรา ๔๓ ให้ อานาจพนักงาน
อัยการที่จะเรี ยกทรัพย์สินหรื อราคาแทนผู้เสียหายเฉพาะทรัพย์สินหรื อ
ราคาที่ผ้ เู สียหายสูญเสียไปเนื่องจากการกระทาความผิด จาเลยทังสอง
้
ร่วมกันลักโฉนดที่ดินของผู้เสียหายไป ดังนัน้ ทรัพย์สินของผู้เสียหายที่
สูญเสียไปคือโฉนดที่ดินเท่านัน้ แม้ จาเลยทังสองจะจดทะเบี
้
ยนโอน
กรรมสิทธิ์ที่ดินให้ แก่บคุ คลภายนอกโดยได้ รับเงินก็ตาม แต่ก็เป็ นเงินที่
จาเลยทังสองได้
้
มาจากการปลอมหนังสือมอบอานาจของผู้เสียหายแล้ วนา
โฉนดที่ดินที่ลกั มาไปขาย มิใช่ทรัพย์สินของผู้เสียหายที่สญ
ู เสียไปเนื่องจาก
การกระทาผิดฐานลักทรัพย์ จาเลยทังสองจึ
้
งไม่ต้องรับผิดใช้ ราคาแทน
โฉนดที่ดินเป็ นเงินตามที่ได้ รับจากการขายที่ดินแก่ผ้ เู สียหายเพราะมิใช่เป็ น
การคืนทรัพย์ตามคาขอของโจทก์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๒๘๖/๒๕๑๙ โจทก์ฟ้องขอให้ จาเลยคืน
หรื อใช้ ราคาเครื่ องพิมพ์ดีดเป็ นเงิน ๑,๕๐๐ บาท แก่ผ้ เู สียหาย
แต่ผ้ เู สียหายได้ ไถ่เครื่ องพิมพ์ดีดคืนมาแล้ วจากโรงรับจานาเป็ น
เงิน ๓๕๐ บาท เงินค่าไถ่ที่ผ้ เู สียหายเสียไปนี ้ มิใช่ทรัพย์สนิ หรื อ
ราคาทรัพย์สนิ ที่ผ้ เู สียหายสูญเสียไปเนื่องจากการกระทาผิดรับ
ของโจรของจาเลย ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๔๓ จึงไม่พิพากษาให้ จาเลยใช้ เงินค่าไถ่แก่
ผู้เสียหาย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๘๔/๒๕๑๙ เงินที่จาเลยได้ มาจาก
การนาทองรูปพรรณของผู้เสียหายซึง่ ปล้ นมาได้ ไปขายมิใช่
ทรัพย์สินของผู้เสียหายที่ถกู ปล้ นไป ศาลจะสัง่ คืนให้
ผู้เสียหายไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๗๒/๒๕๒๐(ประชุมใหญ่ )และที่
๒๐๙๖/๒๕๓๐ วินิจฉัยในแนวเดียวกันว่า สลากกินแบ่งที่
ถูกรางวัลมีราคาเท่ากับเงินรางวัลที่จะได้ รับ เป็ นราคา
ทรัพย์ที่จาเลยรับไปโดยแท้ จริง จาเลยรับรางวัลไปแล้ ว
อัยการขอให้ จาเลยคืนเงินแก่ผ้ เู สียหายได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๐/๒๕๐๘ (ประชุมใหญ่ ) ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๔๓ นัน้ เมื่อกรณีเป็ น
การฉ้ อโกงเอาหนังสือสัญญากู้ไป ทรัพย์สนิ ที่ผ้ เู สียหายเสียไปก็
คือหนังสือกู้ พนักงานอัยการคงเรี ยกคืนได้ แต่ตวั หนังสือสัญญา
เท่านัน้ จะขอมาด้ วยว่าถ้ าหากจาเลยส่งสัญญาไม่ได้ ให้ ใช้ เงินอัน
เป็ นหนี ้ตามสัญญาแทนนันหาได้
้
ไม่ เพราะไม่อาจกล่าวได้ วา่
ผู้เสียหายได้ สญ
ู เสียทรัพย์สนิ ที่มีราคาตามหนี ้ในสัญญากู้ แม้
หนังสือสัญญากู้สญ
ู หายไป ก็ยงั ฟ้องร้ องเรี ยกหนี ้กันได้ มิใช่วา่ หนี ้
นันจะพลอยสู
้
ญไปด้ วย หนี ้ตามสัญญากู้มีอย่างไร ผู้เสียหายชอบ
ที่จะฟ้องร้ องเป็ นคดีแพ่งอีกต่างหาก
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๙๗๖-๑๙๗๗/๒๕๐๕ (ประชุมใหญ่ ) ในคดีอาญา
อัยการไม่มีอานาจฟ้องขอให้ เรี ยกดอกเบี ้ยในจานวนเงินที่จาเลยยักยอกไป
เพราะดอกเบี ้ยไม่ใช่ทรัพย์สินหรื อราคาที่ผ้ เู สียหายสูญเสียไป เนื่องจากการ
กระทาผิดตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๔๓ แต่เนื่องจากผู้เสียหายได้ เป็ นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ โดย
ถือเอาคาฟ้องของพนักงานอัยการเป็ นของตนเช่นนี ้ถือได้ วา่ ผู้เสียหายได้
เรี ยกดอกเบี ้ยแล้ วแต่เมื่อยังไม่ได้ เสียค่าธรรมเนียมเนื่องจากการฟ้องเรี ยก
ดอกเบี ้ยมารวมทัง้ ๓ ศาลเช่นนี ้ ศาลฎีกามีอานาจสัง่ ให้ เรี ยกได้ เมื่อเสีย
ค่าธรรมเนียมแล้ ว จึงจะพิจารณาวินิจฉัยต่อไปเกี่ยวกับกรณีนี ้ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๘๘๑/๒๕๓๙ แม้ คดีสว่ น
อาญาศาลเห็นว่าจาเลยไม่ได้ กระทาความผิดฐาน
ยักยอก ศาลก็ยอ่ มมีอานาจพิพากษาให้ จาเลยคืน
หรื อชดใช้ เงินดังกล่าวให้ แก่โจทก์ร่วมตามที่พนักงาน
อัยการขอได้ หาจาต้ องให้ โจทก์ร่วมไปฟ้องเรี ยกเงิน
จากจาเลยเป็ นคดีแพ่งอีกไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๖๕๗/๒๕๒๐ จาเลยที่ ๒ เอาปื น
ของ ค.ไปเพื่อต่อสู้ขดั ขวางมิให้ ค.จับจาเลย มิได้ เจตนา
ลัก จาเลยที่ ๒ ส่งปื นให้ จาเลยที่ ๑ ค.เข้ าแย่งปื น
จาเลยที่ ๑ ไม่ยอมให้ เพื่อมิให้ เกิดเหตุร้าย ต่อมาจาเลยที่
๑ ปฏิเสธว่าไม่ได้ เอาปื นไว้ และไม่คืนให้ ไม่พอฟั งว่าจาเลย
ที่ ๑ เจตนาทุจริตลักปื นไม่เป็ นลักทรัพย์ ศาลให้ คืนหรื อใช้
ราคาปื น
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๗๐๓/๒๕๕๗ ความผิดฐานยักยอกนัน้
ศาลชันต้
้ นพิพากษายกฟ้อง โจทก์ไม่อทุ ธรณ์จงึ ยุติไปตามคา
พิพากษาศาลชันต้
้ น เมื่อการกระทาของจาเลยไม่เป็ นความผิด
อาญาฐานยักยอก ที่ศาลอุทธรณ์ภาค ๗ มีคาพิพากษายืนตาม
ศาลชันต้
้ นให้ จาเลยคืนทรัพย์หรื อใช้ ราคาที่ยงั ไม่ได้ คืน
๓๐๐,๐๐๐ บาท แก่ผ้ เู สียหายนันเป็
้ นเรื่ องที่จะว่ากล่าวกันทาง
แพ่งจึงกลายเป็ นคดีแพ่งล้ วน ๆ หาใช่คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่อง
คดีอาญาไม่ ดังนี ้พนักงานอัยการจึงไม่มีสทิ ธิที่จะเรี ยกเงินเช่นนี ้
แทนผู้เสียหายได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๑๑๒/๒๕๒๓ อัยการฟ้อง
จาเลยฐานฉ้ อโกง ศาลพิจารณาฟั งว่าเป็ นเรื่ อง
ผู้เสียหายและจาเลยสมัครใจเล่นแชร์ กนั ซึ่งเป็ นเรื่ อง
ความรับผิดทางแพ่งล้ วนๆมิใช่จาเลยได้ ทรัพย์ไปโดย
ไม่ชอบด้ วยกฎหมาย แต่ไม่มีเจตนาทุจริต พนักงาน
อัยการจึงไม่มีสทิ ธิที่จะเรี ยกเงินตามสัญญาเล่นแชร์
แทนผู้เสียหายได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๗๙๓/๒๕๓๐ จาเลยเป็ นเจ้ าพนักงานในตาแหน่งปลัดอาเภอ
มีหน้ าที่เกี่ยวกับการเงินตามโครงการ กสช. ได้ สงั่ ให้ คณะกรรมการสภาตาบลแก้ ไข
หลักฐานการเบิกจ่ายเงินให้ เกินความเป็ นจริง แล้ วจาเลยเอาเงินนันไปเป็
้
นประโยชน์
ส่วนตัวโดยทุจริต ดังนี ้ แสดงว่าจาเลยมีเจตนามาแต่แรกที่จะกระทาการทุจริต
โดยใช้ ตาแหน่งหน้ าที่ของตน มิใช่วา่ จาเลยกระทาโดยชอบด้ วยอานาจในตาแหน่ง
แล้ วกระทาการทุจริตในภายหลัง จึงเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑๔๘ เท่านัน้ หาเป็ นความผิดตามมาตรา ๑๔๙ อีกด้ วยไม่ แม้ โจทก์จะ
ขอให้ ลงโทษจาเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๔๗ (ฐานเจ้ าพนักงาน
ยักยอก) และขอให้ จาเลยคืนหรื อใช้ เงินแก่ผ้ เู สียหายมาด้ วยก็ตาม แต่เมื่อศาล
พิพากษาว่าจาเลยมีความผิดตาม มาตรา ๑๔๘ เท่านัน้ โจทก์จงึ ไม่มีอานาจ
ขอให้ จาเลยคืนหรื อใช้ ราคาทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๔๓
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๕๕/๒๕๓๑ ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า
จาเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๖๕,
๒๖๖(๑), ๒๖๘, ๓๔๑ แต่การกระทาของจาเลยเป็ นกรรม
เดียวลงโทษตาม มาตรา ๒๖๘, ๒๖๖(๑)ซึง่ เป็ นบทหนัก
ที่สดุ ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า โจทก์กล่าวในฟ้องว่าจาเลยได้ เงิน
ของผู้เสียหายไปโดยการหลอกลวง และฟั งได้ วา่ การกระทา
ของจาเลยเป็ นความผิดฐานฉ้ อโกงด้ วยเช่นนี ้ ศาลก็ต้อง
พิพากษาให้ จาเลยคืนหรื อใช้ เงินตามที่โจทก์ขอมาตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๓
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๒/๒๕๕๓ โจทก์บรรยายฟ้องว่า จาเลยได้ ใช้ บตั ร
อิเล็กทรอนิกส์ของธนาคาร ซ. ซึง่ ได้ ออกให้ แก่ ส. ผู้เสียหาย ซึง่ เป็ นทรัพย์สว่ น
หนึง่ ที่จาเลยลักไปเพื่อใช้ ประโยชน์ในการเบิกถอนเงินสด ถอนเงินสดจานวน
๑๐๐,๐๐๐ บาท ไปจากวงเงินบัตรเครดิตของผู้เสียหายโดยมิชอบก่อให้ เกิดความ
เสียหายแก่ผ้ เู สียหายและธนาคาร ซ. ดังนันค
้ าฟ้องของโจทก์ได้ บรรยายถึงการ
นาเอาบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคาร ซ. ซึง่ ธนาคารออกให้ แก่ผ้ เู สียหาย ที่จาเลย
ลักไปจากผู้เสียหาย ไปทาการถอนเงินสดจานวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ย่อมแปลคา
ฟ้องของโจทก์ได้ วา่ โจทก์มงุ่ ประสงค์ที่จะให้ ลงโทษจาเลยฐานลักเงินของ
ผู้เสียหายอยูด่ ้ วย เพียงแต่วิธีการลักเงินดังกล่าวก็โดยการใช้ บตั รอิเล็กทรอนิกส์
เบิกถอนเงินสดผ่านเครื่ องฝากถอนอัตโนมัติ จึงเป็ นความผิดเกี่ยวกับบัตร
อิเล็กทรอนิกส์และความผิดฐานลักทรัพย์ ซึง่ ตาม ปวิอ มาตรา ๔๓ บัญญัติให้
พนักงานอัยการมีอานาจขอให้ เรี ยกทรัพย์สินหรื อใช้ ราคาแทนผู้เสียหาย โจทก์จงึ มี
อานาจขอให้ จาเลยคืนหรื อใช้ ราคาทรัพย์แทนผู้เสียหายได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๗๖/๒๕๑๕ พนักงานอัยการฟ้องขอให้ ลงโทษ
จาเลยตาม ป. อาญา มาตรา ๒๘๘, ๒๘๙ ซึง่ เป็ นความผิดต่อชีวิต แต่ใน
คาฟ้องได้ บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทาของจาเลยมาด้ วยว่า
จาเลยยิงผู้เสียหายโดยเจตนาฆ่าเพื่อความสะดวกในการลักทรัพย์ และยัง
มีคาขอท้ ายฟ้องขอให้ บงั คับจาเลยคืนเงินแก่ผ้ เู สียหายด้ วย ดังนี ้ย่อม
แปลคาฟ้องของโจทก์ได้ วา่ มุง่ ประสงค์ที่จะให้ ลงโทษจาเลยฐานชิงทรัพย์
อยูด่ ้ วย และเมื่อศาลฟั งว่าจาเลยพยายามฆ่าผู้เสียหาย เพื่อความ
สะดวกในการลักทรัพย์หรื อพาเอาทรัพย์ไป การกระทาผิดฐานชิงทรัพย์จงึ
เป็ นเหตุฉกรรจ์ของความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อื่นตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๒๘๙ (๗),๘๐ แล้ ว ศาลไม่จาต้ องปรับบทว่าจาเลย
กระทาผิดฐานชิงทรัพย์ด้วย แต่ศาลย่อมมีอานาจสัง่ ให้ จาเลยคืนหรื อใช้
ราคาทรัพย์ให้ แก่ผ้ เู สียหายได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๕๕/๒๕๓๐ (ประชุมใหญ่ ) โจทก์ฟ้อง
ขอให้ ลงโทษจาเลยฐานลักทรัพย์หรื อรับของโจทก์และขอให้ คืน
หรื อใช้ ราคาทรัพย์ที่ยงั ไม่ได้ คืนแก่ผ้ เู สียหาย เมื่อศาลชันต้
้ น
พิพากษาลงโทษฐานรับของโจร ความรับผิดทางแพ่งของจาเลย
คงมีอยูเ่ ฉพาะในส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับความผิดทางอาญาฐานรับ
ของโจรเท่านัน้ แม้ ศาลชันต้
้ นมีคาสัง่ ให้ คืนหรื อใช้ ราคาทรัพย์ตาม
คาขอท้ ายฟ้องของโจทก์ ก็ต้องแปลว่าเป็ นคาสัง่ ให้ คืนหรื อใช้
ราคาทรัพย์ในส่วนที่จาเลยรับของโจร เมื่อผู้เสียหายได้ รับของ
กลางที่จาเลยรับของโจรไว้ คืนไปแล้ ว ย่อมไม่อาจขอให้ ยดึ
ทรัพย์ของจาเลยขายทอดตลาดอีกได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๒๗๗๙/๒๕๕๓ ที่ศาลอุทธรณ์ภาค ๙
พิพากษายืนตามศาลชันต้
้ นให้ จาเลยที่ ๑ คืนหรื อใช้ ราคาทรัพย์
ที่ยงั ไม่ได้ คืนโดยคานวณจากราคารถยนต์ ๓๗๐,๐๐๐ บาท หัก
ราคาของกลางที่ได้ คืนจานวน ๑๙๒,๗๑๐ บาท คิดเป็ นราคา
ทรัพย์สนิ ที่ยงั ไม่ได้ คืน ๑๗๗,๒๙๐ บาท นัน้ เมื่อข้ อเท็จจริ งฟั ง
ได้ วา่ จาเลยที่ ๑ กระทาความผิดฐานรับของโจร ความรับผิดทาง
แพ่งของจาเลยที่ ๑ จะต้ องมีอยูเ่ ฉพาะในส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับการ
กระทาผิดทางอาญาฐานรับของโจรเท่านัน้ เมื่อปรากฏว่าโจทก์
ร่วมได้ รับของกลางที่จาเลยที่ ๑ ได้ รับของโจรไว้ คืนไปแล้ ว
โจทก์จงึ ไม่มีอานาจขอให้ คืนหรื อใช้ ราคาในส่วนนี ้เพราะ ปวิอ
มาตรา ๔๓ ไม่ได้ ให้ อานาจไว้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๓๓๐/๒๕๓๓ คดีก่อนพนักงานอัยการเป็ น
โจทก์ฟ้องจาเลยในความผิดฐาน ยักยอกและมีคาขอในส่วนแพ่ง
ให้ จาเลยคืนหรื อใช้ เงินแก่ผ้ เู สียหาย และ โจทก์ซงึ่ เป็ นผู้เสียหายใน
คดีนนได้
ั ้ เข้ าเป็ นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการด้ วย จึงมี
ความหมายโดย นิตินยั ว่าโจทก์ได้ ฟ้องจาเลยในคดีอาญาและมี
คาขอให้ บงั คับจาเลยคืนหรื อใช้ เงินที่ยกั ยอกด้ วย แล้ ว ฉะนัน้ เมื่อ
ศาลชันต้
้ นยกฟ้องคดีดงั กล่าวและคดียงั อยู่ ในระหว่างพิจารณา
ของศาลอุทธรณ์ การที่โจทก์มาฟ้องจาเลยเพื่อเรี ยกเงินจานวน
เดียว กันนี ้คืนจากจาเลยอีก จึงต้ องห้ ามมิให้ ฟ้องตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง(๑) ประกอบด้ วยพ.ร.บ. จัดตังศาล
้
แรงงานฯ มาตรา ๓๑.
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๗๗/๒๕๕๐ กรณีที่พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้องจาเลยที่ ๑ ในความผิด
ฐานยักยอกทรัพย์และขอให้ คืนหรื อใช้ ราคาทรัพย์ที่ยกั ยอกไป แม้ จะถือว่าเป็ นการขอแทน
ผู้เสียหายตามที่บญ
ั ญัติไว้ ใน ปวิอ. มาตรา ๔๓ ก็ตาม แต่ก็เป็ นกรณีที่ความเสียหายนัน้
เนื่องมาจากการกระทาผิดอาญาเท่านัน้ ส่วนคดีนี ้โจทก์ฟ้องว่า จาเลยที่ ๑ เป็ นลูกจ้ างทาให้ เกิด
ความเสียหายแก่โจทก์ซงึ่ เป็ นนายจ้ าง ซึง่ การกระทาของจาเลยที่ ๑ ที่ทาให้ เกิดความเสียหายนัน้
อาจเป็ นบ่อเกิดแห่งหนี ้ที่จะใช้ สิทธิเรี ยกร้ องได้ สองทางคือในมูลละเมิดและในมูลแห่งสัญญาจ้ าง
แรงงานที่มีตอ่ กันอยู่ ในคดีอาญาดังกล่าวกับคดีนี ้ถึงแม้ คาขอบังคับจะเป็ นอย่างเดียวกันคือ
ขอให้ จาเลยที่ ๑ ใช้ คา่ เสียหาย แต่ข้ออ้ างที่อาศัยเป็ นหลักแห่งข้ อหานันมิ
้ ได้ เป็ นอย่างเดียวกัน ใน
คดีอาญานันข้
้ ออ้ างที่อาศัยเป็ นหลักแห่งข้ อหาที่พนักงานอัยการขอบังคับในส่วนแพ่งนันมาจาก
้
ข้ ออ้ างเนื่องจากการกระทาผิดทางอาญาอันเป็ นข้ อเรี ยกร้ องในมูลหนี ้ละเมิด แต่คดีนี ้มีทีมาจาก
มูลสัญญาจ้ างแรงงาน และในคาฟ้องของโจทก์กรณีของการผิดสัญญาจ้ างแรงงานนันเป็
้ น
อานาจของคูส่ ญ
ั ญาโดยเฉพาะ พนักงานอัยการที่เป็ นโจทก์ในคดีอาญาไม่อาจอาศัยสิทธิในเรื่ อง
สัญญาจ้ างแรงงานมาเป็ นข้ ออ้ างในคาขอในส่วนแพ่งได้ จึงมิใช่เป็ นกรณีที่เป็ นการฟ้องคดีใน
เรื่ องเดียวกันอันจะเป็ นฟ้องซ้ อนตามความหมายของ ปวิพ. มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) ประกอบ
พรบ. จัดตังศาลแรงงานฯ
้
มาตรา ๓๑
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๑๐๓-๑๑๐๔/๒๔๙๖ วินิจฉัยว่า พนักงาน
อัยการได้ ยื่นฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาไว้ ตอ่ ศาลแล้ ว
ต่อมาผู้เสียหายร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั พนักงานอัยการอีก
ดังนี ้ โจทก์ร่วมไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมสาหรับทุนทรัพย์ที่ขอให้
จาเลยคืนอีก เพราะพนักงานอัยการได้ ร้องขอให้ คืนอยู่ก่อนแล้ ว
เป็ นคาขออันเดียวกันและในเรื่ องเดียวกัน ซึง่ ศาลยอมรับ
พิจารณาให้ อยูแ่ ล้ ว จึงหาควรเรี ยกค่าธรรมเนียมแก่โจทก์อีกไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๗๐/๒๔๙๙ คดีอาญาที่พนักงาน
อัยการเป็ นโจทก์มีคาขอให้ จาเลยคืนหรื อใช้ ราคาทรัพย์มา
กับฟ้องด้ วยนัน้ เมื่อผู้เสียหายเข้ ามาเป็ นโจทก์ร่วมด้ วยและ
ผู้เสียหายอุทธรณ์ขอให้ บงั คับตามคาขอท้ ายฟ้องแต่ฝ่าย
เดียวโดยอัยการมิได้ ร่วมอุทธรณ์ด้วยแล้ ว คาฟ้องอุทธรณ์ที่
ให้ จาเลยคืนหรื อใช้ ราคาทรัพย์สินแก่ผ้ เู สียหาย ต้ องเสีย
ค่าธรรมเนียมอย่างคดีแพ่ง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๘๐/๒๔๙๐ ในคดีเรื่ องลักทรัพย์ซงึ่
อัตราโทษอยู่ในอานาจศาลแขวงนันแม้
้ โจทก์จะขอให้ ใช้
ราคาทรัพย์มากมายเพียงไร ศาลแขวงก็มีอานาจพิจารณา
พิพากษาได้ ศาลแขวงลงโทษฐานลักทรัพย์แต่ไม่รับ
พิจารณาในเรื่ องที่ขอให้ ใช้ ทรัพย์ เมื่อศาลสูงเห็นว่าการไม่
รับพิจารณานันไม่
้ ถกู ต้ อง ก็ย้อนสานวนให้ ศาลแขวง
พิจารณาพิพากษาในเรื่ องใช้ ทรัพย์ใหม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๔๑๙/๒๕๒๘ คดีที่พนักงานอัยการเป็ นโจทก์
ฟ้องจาเลยต่อศาลแขวงในความผิดฐานยักยอก และมีคาขอในส่วน
แพ่งให้ จาเลยคืนหรื อใช้ ราคาทรัพย์เกินกว่า ๑๐,๐๐๐ บาท แก่
ผู้เสียหายได้ เมื่อผู้เสียหายเข้ าเป็ นโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมไม่อาจ
ถือเอาคาขอในส่วนแพ่งของพนักงานอัยการเป็ นคาขอของตนได้
เพราะหากผู้เสียหายเป็ นโจทก์ฟ้องคดีเองแล้ วย่อมไม่มีสิทธิยื่นคา
ขอในส่วนแพ่งอันมีทนุ ทรัพย์เกินกว่า ๑๐,๐๐๐ บาท ต่อศาลแขวง
ได้ เนื่องจากเกินอานาจศาลแขวงที่จะพิจารณาพิพากษา และเมื่อ
โจทก์ร่วมอุทธรณ์ฝ่ายเดียว ย่อมไม่มีสทิ ธิอทุ ธรณ์คาพิพากษาที่จะ
ให้ จาเลยคืนหรื อใช้ ราคาทรัพย์ และศาลอุทธรณ์ไม่มีอานาจ
พิจารณาพิพากษาคาขอในส่วนนี ้ด้ วย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๑๗๗๖/๒๕๕๓ จาเลยหลอกลวงผู้เสียหายทาให้
ผู้เสียหายหลงเชื่อและซื ้อที่ดินจากจาเลย โจทก์ฟ้องขอให้ ลงโทษจาเลยใน
ความผิดฐานฉ้ อโกงตาม ปอ มาตรา ๓๔๑ ซึง่ ตาม ปวิอ มาตรา ๔๓
กาหนดว่า เมื่อพนักงานอัยการฟ้องคดีอาญาก็ให้ เรี ยกทรัพย์สินหรื อใช้
ราคาแทนผู้เสียหายด้ วย ดังนี ้เมื่อจาเลยหลอกลวงเอาเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท
ของผู้เสียหายไปอันเป็ นความผิดฐานฉ้ อโกงและโจทก์มีคาขอให้ จาเลยคืน
เงิน ๘๐,๐๐๐ บาท ตามที่ ปวิอ มาตรา ๔๓ ให้ อานาจไว้ จาเลยจึง
ต้ องคืนเงินจานวนดังกล่าวให้ แก่ผ้ เู สียหาย ส่วนที่ดินที่จาเลยจดทะเบียน
โอนให้ แก่ผ้ เู สียหายแล้ วนัน้ หากผู้เสียหายไม่โอนที่ดินคืนแก่จาเลย จาเลย
ก็ชอบที่จะดาเนินคดีทางแพ่งตามสิทธิของจาเลยต่อไป
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๗๑๒/๒๕๓๒ ในคดีอาญาแม้ โจทก์
จะมิได้ มีคาขอเกี่ยวกับของกลางมาด้ วยก็ตาม ศาลจะสัง่
คืนของกลางแก่เจ้ าของก็ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๔๙ และ ๑๘๖(๙)
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๙๙/๒๕๔๖ ในการพิพากษาคดี
ส่วนแพ่ง ศาลจาต้ องถือข้ อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคา
พิพากษาคดีสว่ นอาญา ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๔๖ กรณีไม่มี
ทางที่จะขยายไปถึงความเห็นของพนักงานสอบสวนให้
เป็ นการผูกมัดศาลที่พิพากษาคดีสว่ นแพ่งในภายหลัง
ความเห็นของพนักงานสอบสวนไม่ใช่คาพิพากษาคดีสว่ น
อาญา ฉะนันในการพิ
้
พากษาคดีสว่ นแพ่งจึงไม่จาต้ องถือ
ตาม
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๘๓๙/๒๕๔๐ การจะนาข้ อเท็จจริงจากคาพิพากษาส่วนอาญา
มารับฟั งในคดีสว่ นแพ่งตาม ป.วิ.อ มาตรา ๔๖ นัน้ จะต้ องประกอบด้ วยหลักเกณฑ์
๓ ประการ คือ คาพิพากษาคดีอาญาต้ องถึงที่สดุ ข้ อเท็จจริงนันต้
้ องเป็ นประเด็น
โดยตรงในคดีอาญาและคาพิพากษาคดีอาญาต้ องวินิจฉัยไว้ โดยชัดแจ้ ง และผู้ที่จะ
ถูกข้ อเท็จจริงในคดีอาญามาผูกพันต้ องเป็ นคูค่ วามในคดีอาญา เมื่อคาพิพากษา
คดีอาญาในคดีก่อนศาลอุทธรณ์ภาค ๓ ซึง่ เป็ นศาลชันที
้ ่สดุ มิได้ วินิจฉัยว่าที่ดิน
พิพาทคดีนี ้เป็ นของโจทก์ทงสองหรื
ั้
อของจาเลยทังสอง
้ เพียงแต่วินิจฉัยว่าจาเลยทัง้
สองขาดเจตนาบุกรุกและทาให้ เสียทรัพย์เท่านัน้ ดังนัน้ ปั ญหาที่วา่ ที่ดินพิพาทตาม
ฟ้องเป็ นของโจทก์ทงสองหรื
ั้
อของจาเลยทังสองซึ
้
ง่ เป็ นประเด็นโดยตรงในคดีนี ้
คดีอาญายังไม่ได้ วินิจฉัยจึงนาข้ อเท็จจริงในคดีอาญาดังกล่าวมารับฟั งเป็ นยุติในคดี
นี ้ซึง่ เป็ นคดีแพ่งไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๑๖/๒๕๔๖ คดีก่อนโจทก์ฟ้องจาเลยทังสองเป็
้
นคดีอาญาใน
ข้ อหาร่วมกันบุกรุกเข้ าไปปลูกบ้ านในที่ดินพิพาท และทาให้ เสียทรัพย์โดยตัดฟั นต้ น
สนของโจทก์ที่ปลูกอยูใ่ นที่ดินดังกล่าว ซึง่ ศาลอุทธรณ์ภาค ๗ วินิจฉัยว่า โจทก์เป็ นผู้
ครอบครองที่ดินพิพาทและพิพากษาลงโทษจาเลยทังสอง
้ คดีถึงที่สดุ แล้ ว ส่วนคดีนี ้
เป็ นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาดังกล่าวซึง่ มีประเด็นข้ อพิพาทโดยตรงเป็ น
ประเด็นเดียวกันว่า โจทก์เป็ นผู้มีสทิ ธิครอบครองที่ดินพิพาทหรื อไม่ ในการพิพากษา
คดีนี ้จาต้ องถือข้ อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคาพิพากษาส่วนอาญา ตาม ป.วิ.อ.
มาตรา ๔๖ ไม่อาจฟั งข้ อเท็จจริงเป็ นอย่างอื่นได้ ปั ญหาดังกล่าวเป็ นปั ญหาเกี่ยวด้ วย
ความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชน แม้ ไม่มีคคู่ วามฝ่ ายใดฎีกา ศาลฎีกามีอานาจ
ยกขึ ้นวินิจฉัยได้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๙ วรรคสอง ดังนันเมื
้ ่อฟั งว่าโจทก์เป็ นผู้
ครอบครองที่พิพาท ต้ นสนที่ปลูกอยูใ่ นที่ดินพิพาทย่อมเป็ นส่วนควบของที่ดิน โจทก์
ย่อมเป็ นเจ้ าของต้ นสนด้ วย เมื่อจาเลยทังสองร่
้
วมกันตัดฟั นต้ นสนโจทก์เสียหาย จึง
ต้ องร่วมกันใช้ คา่ เสียหายให้ โจทก์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๔๑๐/๒๕๓๙ คดีสว่ นแพ่งมีประเด็นว่า
ที่ดินพิพาทเป็ นของโจทก์หรื อไม่และจาเลยบุกรุกที่ดินพิพาททา
ให้ โจทก์เสียหายหรื อไม่ แต่ในคดีสว่ นอาญาศาลอุทธรณ์มีคา
พิพากษาถึงที่สดุ ว่า ที่ดินพิพาทจะเป็ นของจาเลยหรื อไม่ก็ตาม
การกระทาของจาเลยยังถือไม่ได้ วา่ มีเจตนาบุกรุก ยังไม่ได้
วินิจฉัยว่าที่ดินพิพาทเป็ นของใคร ฉะนันข้
้ อเท็จจริ งในคา
พิพากษาคดีสว่ นอาญาจึงไม่มีผลผูกพันคดีสว่ นแพ่ง
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๙๕/๒๕๔๐ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๔๖ ที่บญ
ั ญัติวา่ ในการพิพากษาคดีสว่ นแพ่งศาลจะต้ องถือ
ข้ อเท็จจริ งตามที่ปรากฏในคาพิพากษาส่วนอาญานัน้ หมายถึง ข้ อเท็จจริ ง
ที่เป็ นประเด็นโดยตรงซึง่ เป็ นประเด็นสาคัญและศาลต้ องฟั งยุติ มีคา
พิพากษาถึงที่สดุ แล้ ว ไม่ใช่ประเด็นปลีกย่อย เมื่อคดีนี ้เป็ นคดีแพ่งที่
เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาที่ศาลฎีกาฟั งข้ อเท็จจริ งว่า จาเลยที่ ๒ ได้ บกุ รุกเข้ า
ไปปลูกสร้ างเรื อนในที่พิพาท คดีแพ่งคดีนี ้ศาลจึงต้ องถือข้ อเท็จจริ งตามได้
เพียงว่าจาเลยที่ ๒ ได้ บกุ รุกที่ดินพิพาทจริ ง ส่วนที่พิพาทที่จาเลยที่ ๒ บุกรุก
เนื ้อที่เท่าไรเป็ นไปตามคาพิพากษาคดีอาญาหรื อตามที่โจทก์กล่าวอ้ างใน
คาฟ้องคดีนี ้เป็ นข้ อปลีกย่อยรายละเอียดที่จะต้ องนาสืบกันอีกในชัน้
พิจารณา ซึง่ โจทก์ โจทก์ร่วม และจาเลยที่ ๒ จะต้ องสืบพยานในประเด็นนี ้
กันต่อไป
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗๘๙/๒๔๙๘ ข้ อเท็จจริ งในคาพิพากษา
คดีสว่ นอาญาซึง่ คดีแพ่งจาต้ องถือตามนัน้ ต้ องเป็ นข้ อเท็จจริ ง
เฉพาะที่เป็ นประเด็นโดยตรงในคดีอาญาเท่านัน้ ตามฟ้อง
คดีอาญามีประเด็นโดยตรงเพียงว่า จาเลยเป็ นโจรลักข้ าว
หรื อไม่เท่านัน้ ไม่มีประเด็นถึงว่าที่พิพาทเป็ นกรรมสิทธิ์ของใคร
ที่ศาลในคดีอาญาวินิจฉัยเลยไปว่านาและข้ าวเป็ นของจาเลย
จึงไม่ใช่ประเด็นโดยตรงในคดี จึงถือเอาข้ อเท็จจริ งที่วา่ นัน้
ผูกพันคดีแพ่งไม่ได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๘๒/๒๕๓๔ คดีนี ้โจทก์ฟ้องขอให้ จาเลยทัง้
สองร่วมกันชดใช้ คา่ เสียหายแทน ศ.บุตรจาเลย ที่ขบั ขี่
รถจักรยานยนต์โดยประมาทชนรถยนต์โจทก์ ซึง่ มี ก.ภรรยาโจทก์
เป็ นผู้ขบั ได้ รับความเสียหาย คดีสว่ นอาญาคดีก่อนซึง่ ถึงที่สดุ ไป
แล้ วนันเป็
้ นเรื่ องที่พนักงานอัยการและจาเลยที่ ๑ ฟ้อง ก.ในข้ อหา
ว่าขับรถประมาทเป็ นเหตุให้ ผ้ อู ื่นถึงแก่ความตาย มีประเด็นเพียงว่า
ก.ขับรถประมาทเป็ นเหตุให้ ผ้ อู ื่นถึงแก่ความตายหรื อไม่ จึงมิใช่
ประเด็นโดยตรงในคดีนี ้ซึง่ มีประเด็นว่า ศ.ขับขี่รถจักรยานยนต์โดย
ประมาทเป็ นเหตุให้ ชนรถของโจทก์ได้ รับความเสียหายหรื อไม่ คา
พิพากษาในคดีก่อนส่วนอาญาจึงไม่ผกู พันโจทก์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๗๘๕/๒๕๕๔ การนาเอาข้ อเท็จจริงจากคาพิพากษาส่วนอาญามารับฟั ง
ในคดีสว่ นแพ่งตาม ปวิอ มาตรา ๔๖ นอกจากคาพิพากษาส่วนอาญาจะต้ องถึงที่สดุ แล้ ว
ข้ อเท็จจริงนันจะต้
้ องเป็ นประเด็นโดยตรงในคดีอาญาและได้ วินิจฉัยไว้ โดยชัดแจ้ ง และผู้ที่ถกู
ข้ อเท็จจริงในคดีอาญามาผูกพันจะต้ องเป็ นคูค่ วามเดียวกันกับคดีอาญา ปรากฏว่าในคดีอาญา
ดังกล่าวมีพนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้องแทนผู้เสียหายอื่นรวม ๗ คน ไม่ได้ รวมถึงโจทก์ที่ ๑ ใน
คดีนี ้ด้ วย เพราะโจทก์ที่ ๑ เลือกที่จะฟ้องคดีสว่ นอาญาเอง จึงถือไม่ได้ วา่ โจทก์ที่ ๑ เป็ น
คูค่ วามในส่วนคดีอาญาที่พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้องคดีดงั กล่าว และในคดีอาญาที่โจทก์ที่
๑ ฟ้องเองดังกล่าว ศาลชันต้
้ นพิพากษายกฟ้องเพราะฟ้องโจทก์ไม่ระบุวนั เวลากระทาความผิด
ตาม ปวิอ มาตรา ๑๕๘ (๕) เท่ากับศาลยังไม่ได้ วินิจฉัยในประเด็นว่าจาเลยทังสองกระท
้
า
ความผิดฐานฉ้ อโกงประชาชนหรื อไม่ ข้ อเท็จจริงในคาพิพากษาส่วนอาญาคดีดงั กล่าวจึงไม่
ผูกพันข้ อเท็จจริงในคดีแพ่งคดีนี ้ นอกจากนี ้ประเด็นพิพาทในคดีอาญาดังกล่าวมีประเด็นเพียง
ว่า จาเลยที่ ๑ ร่วมกระทาความผิดฐานฉ้ อโกงประชาชนและจะต้ องร่วมชดใช้ เงินให้ แก่
ผู้เสียหายหรื อไม่ ไม่เกี่ยวกับเรื่ องที่วา่ จาเลยที่ ๑ ทาหนังสือรับสภาพหนี ้หรื อสัญญากู้ยืมเพราะ
ถูกข่มขู่หรื อไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๑๗๒ - ๓๑๗๓/๒๕๕๔ แม้ การพิจารณา
พิพากษาคดีสว่ นแพ่งศาลจาต้ องถือตามที่ปรากฏในคาพิพากษา
คดีสว่ นอาญา ตาม ปวิอ มาตรา ๔๖ ก็ตาม แต่คดีนี ้มีประเด็น
ในชันฎี
้ กาเพียงว่า ว. ผู้ขบั รถคันที่โจทก์รับประกันภัยไว้ มีสว่ น
ประมาทด้ วยหรื อไม่เท่านัน้ จึงไม่จาเป็ นต้ องรอฟั งผลคดีอาญาที่
จาเลยที่ ๑ ถูกฟ้องว่ากระทาความผิดฐานกระทาโดยประมาทเป็ น
เหตุให้ ผ้ อู ื่นถึงแก่ความตาย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๒๕๖/๒๕๓๘ โจทก์ฟ้องว่าจาเลยทังเจ็
้ ดบุกรุกที่
พิพาทของโจทก์ ขอให้ ลงโทษตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
๓๖๒,๓๖๕ (๒) และบังคับให้ ขบั ไล่จาเลยทังเจ็
้ ดและให้ ร่วมกันชดใช้
ค่าเสียหายในส่วนคดีแพ่ง ถือเป็ นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา เมื่อศาล
ชันต้
้ นพิพากษายกฟ้องโดยวินิจฉัยว่าพยานหลักฐานโจทก์ไม่พอฟั งว่า
จาเลยทังเจ็
้ ดบุกรุกที่ดินโจทก์ ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนโดยวินิจฉัยว่าคดี
ฟั งไม่ได้ แน่ชดั ว่าที่พิพาทเป็ นของโจทก์ คดีอาญาจึงต้ องห้ ามฎีกาตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๒๒๐ ส่วนคดีแพ่ง
ศาลฎีกาจาต้ องถือข้ อเท็จจริ ง ตามที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีสว่ น
อาญาตามมาตรา ๔๖ ซึง่ เท่ากับศาลอุทธรณ์ฟังว่าที่พิพาทไม่ใช่ของ
โจทก์ จึงฟั งไม่ได้ วา่ ที่พิพาทเป็ นของโจทก์ โจทก์จงึ ไม่มีสิทธิฟ้องขับไล่
และเรี ยกค่าเสียหายจากจาเลยทังเจ็
้ ด
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๒๐๙/๒๕๕๓ โจทก์ฟ้องว่าจาเลยทังสองกั
้
บพวกร่วมกันบุกรุกและ
ร่วมกันขุดต้ นยูคาลิปตัสที่โจทก์ปลูกไว้ ออกจากที่ดินของโจทก์ทงแปลงและเรี
ั้
ยกค่าเสียหาย
จานวน ๘๑,๐๐๐ บาท ซึง่ ความรับผิดทางแพ่งเกิดจากการกระทาผิดอาญาอันมีมลู คดี
เดียวกัน จึงเป็ นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา เมื่อคาพิพากษาส่วนอาญายุติแล้ วว่า
พยานหลักฐานตามทางนาสืบของโจทก์ยงั ไม่เพียงพอให้ รับฟั งลงโทษจาเลยที่ ๑ ถือได้ วา่ ศาล
ได้ วินิจฉัยในประเด็นแห่งคดีแล้ วว่าจาเลยที่ ๑ ไม่ได้ กระทาความผิดฐานบุกรุกและทาให้ เสีย
ทรัพย์ ดังนี ้ จะฟั งข้ อเท็จจริงใหม่เป็ นอย่างอื่นหาได้ ไม่ ที่ศาลชันต้
้ นวินิฉยั ว่า จาเลยที่ ๑ เป็ น
ผู้วา่ จ้ าง ฮ. นารถแบ็คโฮไปขุดถอนต้ นยูคาลิปตัสในที่ดินของจาเลยที่ ๑ ซึง่ อยูต่ ิดกับที่ดินของ
โจทก์ แล้ ว ฮ. ให้ คนงานนารถแบ็คโฮไปทางานตามที่ตนรับจ้ างโดยจาเลยที่ ๑ ไม่ได้ นาชี ้แนว
เขตที่ดินของตน ถือได้ วา่ จาเลยที่ ๑ เป็ นผู้ผิดในส่วนการงานที่สงั่ ให้ ทาหรื อในคาสัง่ ที่ตนให้ ไว้
หรื อในการเลือกหาผู้รับจ้ างตาม ปพพ มาตรา ๔๒๘ จึงไม่ชอบ แม้ ปวิอ มาตรา ๔๗ จะ
บัญญัติวา่ คาพิพากษาส่วนแพ่งต้ องเป็ นเป็ นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันว่าด้ วยความรับ
ผิดของบุคคลในทางแพ่งโดยไม่ต้องคานึงว่าจาเลยต้ องคาพิพากษาว่าได้ กระทาผิดหรื อไม่ ก็
ไม่ได้ หมายความว่าจะไปกลับข้ อเท็จจริงที่จาต้ องรับฟั งตามที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีสว่ น
อาญา ตาม ปวิอ มาตรา ๔๖ จึงต้ องฟั งว่า จาเลยที่ ๑ มิได้ ทาละเมิดอันจะต้ องชดใช้ คา่
สินไหมทดแทนแก่โจทก์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๒๐๙/๒๕๓๓ คดีนี ้โจทก์ฟ้องว่า จาเลยทาสัญญาเช่าซื ้อแหวน
เพชรกับสร้ อยคอทองคาจากโจทก์แล้ วผิดสัญญาไม่ชาระค่าเช่าซื ้อ และได้ จาหน่าย
ทรัพย์ดงั กล่าวให้ บคุ คลอื่น จึงขอให้ จาเลยใช้ ราคาทรัพย์ที่เช่าซื ้อ แต่โจทก์เคยฟ้อง
จาเลยเป็ นคดีอาญาข้ อหายักยอกทรัพย์ดงั กล่าว ศาลชันต้
้ นพิพากษายกฟ้องคดีถึง
ที่สดุ โดยได้ วินิจฉัยพยานหลักฐานของโจทก์ตลอดจนข้ อเท็จจริงและพฤติการณ์แห่ง
คดีแล้ วว่า ฟั งไม่ได้ วา่ จาเลยทาสัญญาเช่าซื ้อแหวนเพชรกับสร้ อยคอทองคาจาก
โจทก์ แม้ ศาลชันต้
้ นจะใช้ คาว่าพยานโจทก์ยงั มีเหตุสงสัยว่าจาเลยอาจจะไม่ได้ ทา
สัญญาเช่าซื ้อตามฟ้อง ก็หาใช่เหตุสงสัยดังถ้ อยคาที่ปรากฏไม่ ถือได้ วา่ ศาลได้
วินิจฉัยข้ อเท็จจริงในประเด็นที่วา่ จาเลยได้ ทาสัญญาเช่าซื ้อตามฟ้องหรื อไม่ไว้ แล้ ว
ทังเป็
้ นประเด็นเดียวกับประเด็นในคดีนี ้ที่ได้ กาหนดไว้ ในชันชี
้ ส้ องสถาน และคดีนี ้ซึง่
คูค่ วามนาสืบทานองเดียวกับที่สืบในคดีอาญาดังกล่าว ก็ฟังไม่ได้ วา่ จาเลยได้ ทา
สัญญาเช่าซื ้อทรัพย์ตามฟ้อง จาเลยจึงไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๑๔๗๓/๒๕๕๕ คดีอาญาที่จาเลยถูกฟ้องข้ อหายักยอก ศาลวินิจฉัยว่า
พยานหลักฐานของโจทก์ยงั ฟั งไม่ได้ วา่ จาเลยรับเงินส่วนที่ขาดจากพนักงานขายมาแล้ วไม่สง่ ให้
ผู้เสียหายแต่เป็ นกรณีที่พนักงานขายยังไม่สง่ เงินส่วนที่ขาดส่งให้ แก่จาเลย จาเลยจึงไม่ได้
ยักยอก พิพากษายกฟ้อง คดีถงึ ที่สดุ แล้ ว แม้ คดีดงั กล่าวศาลชันต้
้ นจะยกฟ้องโดยยกประโยชน์
แห่งความสงสัยให้ แก่จาเลย แต่ผลในทางคดีต้องฟั งว่า จาเลยไม่ได้ ยกั ยอกเงินดังกล่าว เมื่อ
โจทก์ฟ้องจาเลยที่ ๑ คดีนี ้ซึง่ เป็ นจาเลยในคดีอาญาดังกล่าวให้ รับผิดทางแพ่งโดยอ้ างเหตุ
เช่นเดียวกับการฟ้องคดีอาญาว่า จาเลยที่ ๑ เป็ นตัวแทนจาหน่ายของโจทก์ จาเลยที่ ๑ รับ
เงินจากพนักงานขายแล้ วส่งมอบให้ แก่โจทก์ไม่ครบถ้ วน โดยคาฟ้องของโจทก์ในคดีแพ่งขอให้
บังคับจาเลยทังสองรั
้
บผิดในจานวนเงินที่จาเลยที่ ๑ รับมาจากพนักงานขายแล้ งไม่สง่ มอบให้ แก่
โจทก์จานวน ๑๕๐,๕๕๙ บาท เป็ นเงินจานวนเดียวกันกับคาขอท้ ายฟ้องคดีอาญา ถือเป็ นคดี
แพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา เมื่อคดีสว่ นอาญาศาลชันต้
้ นฟั งข้ อเท็จจริงว่าจาเลยยังไม่ได้ รับเงิน
จานวนดังกล่าวจากพนักงานขายของโจทก์ การพิพากษาคดีสว่ นแพ่งจึงต้ องถือข้ อเท็จจริงในคดี
ส่วนอาญาดังกล่าวตาม ปวอ มาตรา ๔๖ โดยฟั งข้ อเท็จจริงว่า จาเลยที่ ๑ ยังไม่ได้ รับเงินค่า
สินค้ าส่วนที่ขาดส่งจากพนักงานขายของโจทก์ จาเลยที่ ๑ จึงไม่ต้องรับผิดชาระเงินจานวน
ดังกล่าวแก่โจทก์ และจาเลยที่ ๒ ผู้ค ้าประกันก็ไม่ต้องรับผิดด้ วยเช่นกัน
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๖๑๒๓/๒๕๕๕ โจทก์บรรยายฟ้องว่า จาเลยกระทา
ความผิดฐานลักทรัพย์ บุกรุก ทาให้ เสียทรัพย์ และมีคาขอให้ คืนหรื อใช้ ราคา
ทรัพย์ซงึ่ เป็ นคาขอในส่วนแพ่งพ่วงมาด้ วย แม้ ศาลล่างทังสองพิ
้
พากษายกฟ้อง
ซึง่ เท่ากับยกฟ้องโจทก์ทกุ ข้ อหาและทุกคาขอในฟ้องโจทก์แล้ วก็ตาม ก็ต้อง
พิจารณาคดีในส่วนแพ่งด้ วยว่า จาเลยที่ ๑ และที่ ๓ จะต้ องรับผิดคืนหรื อใช้
ราคาทรัพย์หรื อไมตาม ปวิอ มาตรา ๑๘๖ (๙) เมื่อคดีนี ้ศาลล่างทังสองเห็
้
นว่า
พยานหลักฐานโจทก์มีความสงสัยตามสมควรว่าจาเลยที่ ๑ และที่ ๓ กระทา
ความผิดตามฟ้องหรื อไม่ เท่ากับพยานโจทก์ไม่มีน ้าหนักเพียงพอให้ รับฟั งว่า
จาเลยที่ ๑ และที่ ๓ กระทาความผิดตามฟ้อง ถือว่าได้ วินิจฉัยข้ อเท็จจริงอัน
เป็ นประเด็นแห่งคดีแล้ ว ในคดีแพ่งต้ องถือว่าจาเลยที่ ๑ และที่ ๓ ไม่ได้ กระทา
ละเมิดต่อโจทก์ร่วม จาเลยที่ ๑ และที่ ๓ จึงไม่ต้องรับผิดชดใช้ คา่ เสียหายโดย
การคืนหรื อใช้ ราคาทรัพย์แก่โจทก์ร่วม
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๒๘/๒๕๐๗ จาเลยขับรถบรรทุกเฉี่ยวรถจิ๊ปเสียหาย
ด้ วยความประมาทเป็ นเหตุให้ บตุ รโจทก์ซงึ่ นัง่ มาในรถจี๊ปถึงแก่ความตาย
อัยการได้ ฟ้องจาเลยเป็ นคดีอาญาหาว่า ขับรถโดยประมาท เป็ นเหตุให้
คนตาย ศาลพิพากษายกฟ้องโดยเห็นว่าเหตุที่รถเกิดชนกันนันอาจเกิ
้
ดขึ ้น
เพราะความผิดความประมาทของจาเลย หรื อของคนขับรถจี๊ปก็เป็ นได้ ทงั ้
๒ ทางเท่า ๆ กัน ดังนี ้ เมื่อโจทก์มาฟ้องจาเลยเป็ นคดีแพ่ง ให้ จาเลยใช้
ค่าสินไหมทดแทนในการที่ทาให้ บตุ รโจทก์ตาย ศาลจะนาเอาผลของคา
พิพากษาคดีอาญาที่ให้ ยกฟ้องอัยการนันมาวิ
้ นิจฉัยคดีแพ่งอย่างใดไม่ได้
เพราะมิได้ ฟังข้ อเท็จจริ งเป็ นยุติอย่างไร โจทก์อาจนาสืบในคดีแพ่งได้ อีกว่า
จาเลยเป็ นฝ่ ายประมาททาให้ บตุ รโจทก์ตาย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๑๗๘/๒๕๓๘ เมื่อคดีอาญาที่โจทก์ที่ ๑ กับ
พวกฟ้องกล่าวหาว่าจาเลยที่ ๑กระทาโดยประมาทเป็ นเหตุให้
ผู้อื่นถึงแก่ความตายและได้ รับอันตรายสาหัสถึงที่สดุ โดยศาล
พิพากษายกฟ้องด้ วยเหตุผลว่าพยานหลักฐานโจทก์ยงั มีข้อน่า
สงสัยว่าจาเลยที่ ๑ จะเป็ นผู้ขบั รถคันเกิดเหตุหรื อไม่ ให้ ยก
ประโยชน์แห่งความสงสัยให้ แก่จาเลยที่ ๑ ศาลในคดีแพ่งที่โจทก์
ที่ ๑ กับพวกฟ้องเรี ยกค่าสินไหมทดแทนจากจาเลยทังสองจึ
้
ง
จาต้ องวินิจฉัยให้ ได้ ความชัดว่าจาเลยที่ ๑ เป็ นผู้ขบั รถคันเกิด
เหตุและเป็ นผู้ก่อเหตุละเมิดหรื อไม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๗/๒๔๙๑(ประชุมใหญ่ ) ศาลพิพากษาชี ้ขาด
ข้ อเท็จจริ งในคดีที่พนักงานอัยการฟ้องจาเลยฐานบุกรุกและฐานทาให้ เสีย
ทรัพย์วา่ ผู้เสียหายไม่ร้ ูวา่ เขตโฉนดของตนอยูแ่ ค่ไหน จาเลยบุกรุกเข้ าไป
หรื อเปล่าก็ไม้ ร้ ู ที่หาว่าจาเลยบุกรุกเพราะสังเกตไว้ เข้ าใจเอาเท่านัน้ ฟั ง
ไม่ได้ แน่นอนว่าจาเลยบุกรุกที่ดินของผู้เสียหาย ดังนี ้ ถือว่าศาลไม่ได้ ชี ้ขาด
ว่าจาเลยไม่ได้ รุกที่ของผู้เสียหาย เป็ นแต่วา่ ผู้เสียหายไม่ร้ ูเขตที่ดินจึงลงโทษ
จาเลยไม่ได้ เท่านัน้ ฉะนันผู
้ ้ เสียหายได้ ฟ้องทางแพ่งเรี ยกค่าเสียหายได้
จัดทาแผนที่และนาสืบให้ ฟังได้ วา่ จาเลยรุกที่ดินของเขาแล้ ว ศาลก็ฟัง
ข้ อเท็จจริ งในคดีแพ่งได้ วา่ จาเลยบุกรุที่ดินของโจทก์ได้ ไม่ต้องห้ ามตาม
มาตรา ๔๖
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๓๙๑/๒๕๕๑ ในการพิพากษาคดีสว่ นแพ่ง
ศาลจาต้ องถือข้ อเท็จจริ งตามที่ปรากฏในคาพิพากษาส่วนอาญา
ตาม ปวิอ. มาตรา ๔๖ ปรากฏว่า ข้ อเท็จจริ งที่ฟังยุติในคดีสว่ น
อาญามีแต่เพียงว่า ทังโจทก์
้
และจาเลยต่างกระทาโดยประมาท แต่
ผู้ใดประมาทมากกว่ากันไม่ปรากฏ ดังนันในการด
้
าเนินคดีแพ่งทัง้
โจทก์และจาเลยย่อมสามารถนาสืบให้ เห็นได้ วา่ ใครประมาท
มากกว่ากัน และควรจะได้ รับชดใช้ คา่ เสียหายจากอีกฝ่ ายหนึง่
หรื อไม่ เพียงใด
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๙๔๘/๒๕๒๐ ศาลในคดีอาญาซึง่
โจทก์ฟ้องว่าจาเลยฟ้องเท็จ แจ้ งความเท็จ พิพากษายก
ฟ้องในชันไต่
้ สวนมูลฟ้อง ข้ อเท็จจริงในคดีอาญาผูกพันคดี
แพ่งที่โจทก์มาฟ้องว่าจาเลยทาละเมิด
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๕๑/๒๕๔๘ ในคดีอาญาที่โจทก์ยื่นฟ้อง
จาเลยทังสองในข้
้
อหาว่าร่วมกันปลอมเอกสารสิทธิและใช้ เอกสาร
สิทธิปลอม ศาลชันต้
้ นไต่สวนมูลฟ้องแล้ วเห็นว่าคดีมีมลู เฉพาะ
จาเลยที่ ๑ ส่วนจาเลยที่ ๒ คดีไม่มีมลู จึงประทับฟ้องจาเลยที่ ๑
และยกฟ้องจาเลยที่ ๒ คาสัง่ ของศาลชันต้
้ นที่ให้ ประทับฟ้องจาเลย
ที่ ๑ มีผลให้ คดีเข้ าสูก่ ารพิจารณาของศาลเท่านัน้ ยังไม่ได้ ชี ้ว่า
หนังสือมอบอานาจปลอมหรื อไม่ และคดีสาหรับจาเลยที่ ๑ ยังไม่
ถึงที่สดุ ทังไม่
้ อาจนามาผูกพันจาเลยที่ ๒ ซึง่ ศาลพิพากษายกฟ้อง
เนื่องจากฟั งไม่ได้ วา่ จาเลยที่ ๒ ได้ ร่วมกระทาผิด จึงไม่ใช่
ข้ อเท็จจริ งในคดีแพ่งที่จะฟั งว่าหนังสือมอบอานาจเป็ นเอกสาร
ปลอม
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๑๐๔-๑๑๐๕/๒๕๐๑ จาเลยในคดีอาญาถูก
ฟ้องเรี ยกค่าเสียหายเพราะละเมิดอันเป็ นความผิดอาญา ศาล
ชันต้
้ นและศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจาเลยกระทาผิด จาเลยฎีกา
และตายระหว่างฎีกา คดีอาญาจึงระงับไปจะฟั งข้ อเท็จจริ งที่ศาล
ล่างพิพากษาไว้ มาผูกมัดในคดีแพ่งไม่ได้ ต้ องสืบพยานในคดีแพ่ง
ใหม่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๐๐๐/๒๕๐๕ คดีรถชนกัน การที่พนักงานสอบสวน
ได้ เปรี ยบเทียบและทาเอกสารไว้ เป็ นหลักฐานว่า เรื่ องที่เกิดขึ ้นโดยจาเลย
ที่ ๑ ได้ ยินยอมรับผิดและยอมชดใช้ คา่ เสียหายให้ โจทก์โดยจะไปทาความ
ตกลงกันที่อซู่ อ่ มรถ ถือได้ วา่ เป็ นการประนีประนอมยอมความกันตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา ๘๕๐ ซึง่ ผูกมัดจาเลยที่ ๑ ไม่ให้
โต้ แย้ งว่าตนมิได้ ขบั โดยประมาทได้ แต่จาเลยที่ ๒ ซึง่ เป็ นจ้ าของรถและ
นายจ้ างของจาเลยที่ ๑ ไม่ถกู ผูกมัดด้ วย ศาลจะต้ องพิเคราะห์ข้อเท็จจริ ง
ต่อไปว่า ฝ่ ายใดเป็ นฝ่ ายประมาท ในการพิพากษาคดีสว่ นแพ่ง ศาล
จาต้ องถือข้ อเท็จจริ งตามที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีสว่ นอาญาตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๖ นัน้ ถ้ าไม่มีคา
พิพากษาคดีสว่ นอาญาคงมีแต่คารับผิดในชันสอบสวนเท่
้
านัน้ ก็ไม่
เข้ าเกณฑ์มาตรานี ้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๗๖/๒๕๓๘ การที่จาเลยที่ ๑ ยอมรับต่อ
พนักงานสอบสวนในคดีอาญาว่าตนขับรถยนต์โดยประมาทชน
รถยนต์คนั ที่ ว. ขับ และยอมให้ พนักงานสอบสวนเปรี ยบเทียบ
ปรับมีผลเพียงทาให้ คดีอาญาเลิกกันตาม ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๓๗ แต่การเปรี ยบเทียบปรับ
ดังกล่าวไม่ใช่คาพิพากษาคดีสว่ นอาญา ไม่ต้องด้ วยมาตรา ๔๖
ที่คดีในส่วนแพ่งจะต้ องถือข้ อเท็จจริ งตาม การที่ศาลถือเอา
ข้ อเท็จจริ งในคดีอาญาดังกล่าวมาชี ้ขาดตัดสินคดีแพ่งจึงไม่ชอบ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๖/๒๕๐๑ ศาลพิพากษายกฟ้อง
คดีอาญาที่โจทก์ถกู ฟ้องว่าขับรถโดยประมาท โจทก์จาเลย
มาฟ้องกันเป็ นคดีแพ่ง ข้ อเท็จจริงในคดีอาญานันไม่
้ มดั
จาเลยซึง่ มิได้ เป็ นคูค่ วามในคดีนนด้
ั ้ วย ศาลพิพากษาในคดี
แพ่งให้ โจทก์ใช้ คา่ ทดแทนให้ จาเลยฐานละเมิดได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๙๑๐/๒๕๔๐ คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ป.
วิ.อ มาตรา ๔๖ กาหนดให้ ศาลในคดีสว่ นแพ่งจาต้ องถือข้ อเท็จจริ งตามที่
ปรากฏในคาพิพากษาคดีสว่ นอาญา ปั ญหานี ้เป็ นปั ญหาเกี่ยวด้ วยความ
สงบเรี ยบร้ อยของประชาชน แม้ จาเลยทังสามจะไม่
้
ได้ ให้ การในเรื่ องนี ้ไว้ ก็
มีสิทธิยกขึ ้นอ้ างในชันฎี
้ กาได้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๙ วรรคสอง โจทก์
ทังสองเป็
้
นบิดามารดาของ อ. ผู้ตายในคดีอาญา จึงต้ องถือว่าพนักงาน
อัยการได้ ดาเนินคดีอาญาแทนโจทก์ทงสองข้
ั้
อเท็จจริ งในคดีอาญาย่อมมี
ผลผูกพันโจทก์ทงสองด้
ั้
วย เมื่อคดีอาญาดังกล่าวศาลอุทธรณ์ภาค ๒
พิพากษายืนให้ ยกฟ้องโจทก์โดยเห็นว่าพยานหลักฐานที่โจทก์ในคดีอาญา
นาสืบมายังไม่อาจรับฟั งได้ วา่ เหตุเกิดจากความประมาทของจาเลยที่ ๑
ดังนัน้ คดีนี ้เป็ นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาจาต้ องถือข้ อเท็จจริ งตามที่
ยุติในคดีอาญาว่า จาเลยที่ ๑ ไม่ได้ ขบั รถยนต์โดยประมาท
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๕๘๙/๒๕๓๔ (ประชุมใหญ่ )สานวน
คดีอาญาพนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้องขอให้ ลงโทษจาเลย ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๐๐ ซึง่ ก.เป็ นผู้เสียหาย และ
ตาม พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๔๓,
๑๕๗ ซึง่ รัฐเป็ นผู้เสียหาย สาหรับโจทก์ในคดีนี ้ไม่ใช่คคู่ วามหรื อ
ผู้เสียหายในคดีอาญานัน้ ในการพิพากษาคดีนี ้ศาลจึงไม่จาต้ อง
ถือข้ อเท็จจริ งตามที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีสว่ นอาญาใน
สานวนคดีอาญาดังกล่าวแต่เป็ นกรณีที่ต้องฟั งข้ อเท็จจริ งกันใหม่
จากพยานหลักฐานที่คคู่ วามนาสืบกันในกันในสานวนคดีนี ้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๖๐๑-๑๖๐๓/๒๕๒๙ อ. และ จ. เป็ น
โจทก์ฟ้อง ว. ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ว. และ อ. ต่างขับรถยนต์โดย
ประมาทเป็ นเหตุให้ รถของทังสองฝ่
้
ายชนกัน อ.มีสว่ นกระทาผิด
อาญา ไม่เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินยั ไม่มีอานาจฟ้อง ให้ ยกฟ้อง
เฉพาะคดีที่ อ.เป็ นโจทก์และลงโทษ ว. ตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๓๙๐ ข้ อเท็จจริ งที่วา่ ว. และ อ. ต่างขับรถ
ประมาทจึงต้ องผูกพัน ว. อ. และ จ. ซึง่ เป็ นคูค่ วามในคดีอาญา
การที่ศาลวินิจฉัยในคดีแพ่งเรื่ องละเมิดว่า ว. ประมาทฝ่ ายเดียว
จึงเป็ นการไม่ชอบตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๔๖
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๗๓๔-๙๗๓๕/๒๕๓๙ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๔๖ ที่จะต้ องถือเอาข้ อเท็จจริงที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีสว่ นอาญามาพิจารณาคดีสว่ น
แพ่งนัน้ คดีแพ่งและคดีอาญาดังกล่าวจะต้ องเป็ นคูค่ วามเดียวกัน สาหรับสานวนคดีแรกโจทก์ที่
๒ ฟ้องในฐานะเป็ นเจ้ าของรถบรรทุกและเป็ นผู้เสียหายจากการเสื่อมเสียของรถและขาด
ประโยชน์รายได้ อันเป็ นสิทธิเรี ยกร้ องของโจทก์ที่ ๒ เองโดยเฉพาะ หาได้ รับช่วงสืบสิทธิมาจาก
การที่พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้อง ส. จาเลยที่ ๑ แต่ประการใดไม่ ทังโจทก์
้
ที่ ๑ ในฐานะผู้รับ
ประกันภัยจากโจทก์ที่ ๒ ก็เป็ นผู้รับช่วงสิทธิจากโจทก์ที่ ๒ ผู้เอาประกันภัย ฉะนันโจทก์
้
ทงสองจึ
ั้
ง
เป็ นบุคคลภายนอกในคดีอาญาที่ศาลได้ พิพากษาไปแล้ วดังกล่าว รวมทังจ
้ าเลยที่ ๒ และที่ ๓ ก็
มิได้ เคยเป็ นคูค่ วามในคดีอาญาดังกล่าวด้ วย เมื่อปรากฏว่าโจทก์ทงสอง
ั ้ จาเลยที่ ๒ และที่ ๓
เป็ นบุคคลภายนอกในคดีอาญาดังกล่าวจึงจะนาหลักตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๔๖ที่วา่ ให้ ถือข้ อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีอาญามาใช้ ในการ
พิจารณาคดีสว่ นแพ่งบังคับใช้ ในคดีนี ้หาได้ ไม่ สาหรับสานวนคดีหลัง โจทก์จาเลยมิได้ เป็ นคูว่ าม
ในคดีอาญาดังกล่าว ทังประเด็
้
นในคดีแพ่งคดีนี ้มีวา่ น. จาเลยที่ ๓ เป็ นผู้ขบั รถโดยประมาท
หรื อไม่ เป็ นคนละประเด็นกันกับคดีอาญาดังกล่าวซึง่ มีประเด็นว่า ส.จาเลยที่ ๑ คดีนี ้เป็ นผู้ขบั รถ
โดยประมาทหรื อไม่จงึ ไม่มีเหตุที่จะต้ องนาข้ อเท็จจริงในคดีอาญาดังกล่าวมาใช้ ในการพิจารณา
คดีแพ่งเรื่ องนี ้ด้ วยเช่นกัน
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๙๕๗/๒๕๓๔ ศาลอาญาพิพากษาจาคุก
จาเลยที่ ๑ ในข้ อหาขับรถโดยประมาทเป็ นเหตุให้ บตุ รโจทก์ถึงแก่
ความตาย โจทก์ฟ้องจาเลยที่ ๒ เป็ นคดีแพ่งให้ ร่วมรับผิดกับ
จาเลยที่ ๑ ในฐานะนายจ้ าง ข้ อเท็จจริ งในคดีอาญาดังกล่าว
ไม่มีผลผูกพันจาเลยที่ ๒ โจทก์มีหน้ าที่นาสืบให้ ได้ ความตาม
ฟ้องในส่วนของจาเลยที่ ๒ ว่าจาเลยที่ ๑ เป็ นลูกจ้ างขับรถใน
ทางการที่จ้างของจาเลยที่ ๒ และขับรถโดยประมาทเป็ นเหตุให้
บุตรโจทก์ถึงแก่ความตาย เมื่อโจทก์ไม่มีพยานมาสืบให้ ได้ ความ
สมฟ้องจาเลยที่ ๒ จึงไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๕๔๘/๒๕๓๙ พยานหลักฐานโจทก์ยงั ฟั งไม่ได้ วา่ ที่ดินพิพาท
เป็ นของโจทก์ และตามพยานหลักฐานที่โจทก์และจาเลยที่ ๑ นาสืบมา ยังโต้ เถียง
สิทธิครอบครองที่ดินพิพาทกันอยู่ การที่จาเลยที่ ๑ เข้ าไปไถปรับที่ดินก็ด้วยเชื่อ
โดยสุจริตว่ามีสทิ ธิที่จะเข้ าไปทาได้ จาเลยที่ ๑ จึงไม่มีความผิดฐานบุกรุก เมื่อ
จาเลยที่ ๑ ไม่มีเจตนาบุกรุกที่ดินพิพาท จาเลยที่ ๑ จึงไม่มีความผิดฐานทาให้ เสีย
ทรัพย์ซงึ่ คันนาและต้ นหว้ าที่อยูใ่ นที่ดนิ พิพาทด้ วย เมื่อในคดีอาญาฟั งไม่ได้ วา่
จาเลยที่ ๑ ทาให้ ทรัพย์ของโจทก์เสียหาย ในการพิพากษาคดีสว่ นแพ่งศาลจาต้ อง
ถือข้ อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีสว่ นอาญาตาม ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๔๖ แม้ คดีสว่ นแพ่งคดีนี ้มีทนุ ทรัพย์ที่พิพาทในชันฎี
้ กา
ไม่เกินสองแสนบาท ต้ องห้ ามฎีกาในปั ญหาข้ อเท็จจริงตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๘
วรรคหนึง่ ประกอบ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๐ ก็ตาม
แต่เมื่อการพิพากษาคดีสว่ นแพ่งจาต้ องถือข้ อเท็จจริงที่ปรากฏในคาพิพากษาคดี
ส่วนอาญาดังกล่าวซึง่ เป็ นข้ อกฎหมาย จึงต้ องฟั งว่าจาเลยที่ ๑ มิได้ ทาละเมิดอัน
จะต้ องใช้ คา่ เสียหายแก่โจทก์
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๔๕๒/๒๕๕๖ การพิพากษาคดีสว่ นแพ่งที่ศาลจาต้ องถือข้ อเท็จจริง
ตามที่ปรากฏในคาพิพากษาส่วนอาญา ตาม ปวิอ มาตรา ๔๖ นัน้ เป็ นกรณีที่ศาลในคดี
ส่วนแพ่งจะต้ องวินิจฉัยชี ้ขาดข้ อเท็จจริงในประเด็นที่คคู่ วามยังคงโต้ แย้ งกันอยูแ่ ละเป็ น
ข้ อเท็จจริงในประเด็นเดียวกันกับที่ศาลในคดีสว่ นอาญาจะต้ องวินิจฉัย กฎหมายจึงกาหนดให้
ศาลในคดีสว่ นแพ่งจาต้ องถือข้ อเท็จจริงตาที่ปรากฏในคพพิพากษาคดีสว่ นอาญา ทังนี
้ ้เพื่อให้
การรับฟั งข้ อเท็จจริงอย่างเดียวกันเป็ นไปในทางเดียวกัน
เมื่อศาลชันต้
้ นในคดีสว่ นแพ่งวินิจฉัยว่า จาเลยประมาทเลินเล่อโดยรับฟั งข้ อเท็จจริง
ตามคาพิพากษาของศาลชันต้
้ นในคดีสว่ นอาญา จาเลยไม่ได้ อทุ ธรรณ์ในประเด็นว่า จาเลย
ประมาทเลินเล่อหรื อไม่ โดยจาเลยอุทธรณ์โต้ แย้ งเฉพาะดุลพินิจของศาลชันต้
้ นในการกาหนด
ค่าเสียหาย และศาลอุทธรณ์ภาค ๖ ในคดีสว่ นแพ่งก็ได้ วินิจฉัยเฉพาะประเด็นเกี่ยวกับการ
กาหนดค่าเสียหายตามที่จาเลยอุทธรณ์ แม้ ตอ่ มาจะปรากฎภายหลังว่า ศาลอุทธรณ์ภาค ๖
ในคดีสว่ นอาญาได้ วินิจฉัยว่าพยานหลักฐานของโจทก์ไม่มีน ้าหนักเพียีงพอให้ รับฟั งได้ วา่
จาเลยประมาทเลินเล่อและพิพากษายกฟ้องโจทก์สาหรับจาเลย แต่ในคดีสว่ นแพ่งจาเลยก็ไม่มี
สิทธิยกข้ อเท็จจริงว่า จาเลยไม่ได้ กระทาโดยประมาทเลินเล่อขึ ้นอ้ างในชันฎี
้ กาได้ เพราะมิใช่
ข้ อเท็จจริงที่ได้ ยกขึ ้นว่ากันมาแล้ วโดยชอบในศาลอุทธรณ์ภาค ๖ และมิใช่ปัญหาอันเกี่ยวด้ วย
ความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชน
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๔๔๖/๒๕๒๖ คาพิพากษาฎีกาในคดีแพ่ง
ผูกพันโจทก์จาเลยคดีอาญาซึง่ เป็ นคูค่ วามเดียวกันกับคูค่ วามในคดี
ดังกล่าวเฉพาะในทางแพ่งเท่านัน้ ไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายใด
ให้ ศาลที่พิจารณาคดีอาญาจาต้ องถือข้ อเท็จจริ งตามที่ปรากฏในคา
พิพากษาคดีสว่ นแพ่ง คาพิพากษาฎีกาดังกล่าวเป็ นเพียง
พยานหลักฐานที่ศาลจะนามาชัง่ น ้าหนักประกอบกับ
พยานหลักฐานของโจทก์ในคดีอาญาว่าข้ อเท็จจริ งมีน ้าหนักพอรับ
ฟั งว่าจาเลยได้ กระทาผิดจริ งหรื อไม่เท่านัน้ ศาลจะรับฟั ง
ข้ อเท็จจริ งในคดีแพ่งเพียงอย่างเดียวมาวินิจฉัยชี ้ขาดคดีอาญา โดย
มิได้ สืบพยานโจทก์จาเลยให้ สิ ้นกระแสความเสียก่อน ย่อมเป็ นการ
ไม่ชอบ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๔๕๓/๒๕๒๕ การพิพากษาคดีอาญา หาได้ มี
บทบัญญัติของกฎหมายให้ ศาลจาต้ องถือตามข้ อเท็จจริ งที่ปรากฏ
ในคาพิพากษาคดีสว่ นอาญาในคดีอื่น ดังเช่นที่บญ
ั ญัติไว้ สาหรับคดี
แพ่งตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๖
ไม่ แม้ โจทก์จาเลยจะเป็ นคูค่ วามเดียวกันพยานชุดเดียวกัน เพราะ
ศาลจะต้ องใช้ ดลุ พินิจวินิจฉัยชัง่ น ้าหนักพยานหลักฐานทังปวง
้ จะ
ไม่พิพากษาลงโทษจนกว่าจะแน่ใจว่ามีการกระทาผิดจริ ง และ
จาเลยเป็ นผู้กระทาความผิดนัน้ การที่ศาลวินิจฉัยข้ อเท็จจริ งคดีนี ้
แตกต่างกับข้ อเท็จจริ งที่ศาลฎีการับฟั งในคดีที่จาเลยฟ้องโจทก์
จึงเป็ นคาวินิจฉัยที่ชอบ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๖๙๕/๒๕๔๔ การพิพากษาคดีอาญาหาได้
มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้ ศาลจาต้ องถือตามข้ อเท็จจริ งที่
ปรากฏในคาพิพากษาคดีอาญาคดีอื่น แม้ ศาลฎีกาจะพิพากษา
ลงโทษ จ. ซึง่ ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดร่วมกับจาเลยและคดีถึง
ที่สดุ แล้ วก็ตาม โจทก์จะอ้ างข้ อเท็จจริ งในคดีที่ จ. เป็ นจาเลยมา
ให้ ศาลรับฟั งลงโทษจาเลยคดีนี ้หาได้ ไม่ เพราะในคดีอาญาศาล
จะต้ องดาเนินการพิจารณาและสืบพยานโดยเปิ ดเผยต่อหน้ า
จาเลย โจทก์จาต้ องนาสืบให้ ได้ ความชัดแจ้ งปราศจากสงสัยว่า
จาเลยได้ กระทาผิดจริ งจึงจะพิพากษาลงโทษได้
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๓๙๙/๒๕๓๓ การนับอายุความที่ยาวกว่า
ดังที่ ปพพ.มาตรา ๔๔๘ วรรคสอง กาหนดไว้ โดยอาศัยสิทธิเรื่ อง
อายุความที่บญ
ั ญัติไว้ ใน ปวิอ. มาตรา ๕๑ วรรคสาม นัน้ มีได้
เฉพาะกรณีที่โจทก์เรี ยกร้ องค่าเสียหายในมูลละเมิดจากผู้กระทา
ผิดทางอาญาซึง่ ศาลพิพากษาลงโทษจนคดีถงึ ที่สดุ ไปแล้ วก่อนที่ได้
ยื่นฟ้องคดีแพ่งเท่านัน้ มิได้ หมายความถึงการเรี ยกร้ องจากผู้อื่นซึง่
มิได้ เป็ นผู้กระทาผิดหรื อร่วมกระทาผิดทางอาญาด้ วย
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๔๙๗/๒๕๕๔ โจทก์บรรยายฟ้องว่า จาเลยที่ ๑ ใช้ อาวุธปื นพกยิงผู้ตาย
๑ นัด กระสุนปื นถูกที่หวั ใจของผู้ตายเป็ นเหตุให้ ผ้ ตู ายถึงแก่ความตายทันที อันเป็ นการกระทา
ความผิดตาม ป.อ. การกระทาละเมิดของจาเลยที่ ๑ ส่งผลให้ โจทก์ขาดไร้ อปุ การะที่เคยได้ รับ
จากผู้ตาย ฟ้องของโจทก์คดีนี ้เป็ นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา แม้ จะได้ ความว่าโจทก์เคยร้ อง
ทุกข์ให้ พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรตาบลแหลมฉบังดาเนินคดีแก่จาเลยที่ ๑ ในความผิด
ฐานฆ่าผู้ตายโดยเจตนา แต่อยั การจังหวัดชลบุรีมีคาสัง่ เด็ดขาดไม่ฟ้องจาเลยที่ ๑ ก็ตาม ก็ไม่มี
กฎหมายใดบัญญัติให้ คาสัง่ ดังกล่าวมีผลถึงอายุความที่โจทก์ใช้ สิทธิฟ้องจาเลยที่ ๑ ด้ วย เมื่อ
มูลคดีนี ้ไม่มีผ้ ใู ดฟ้องจาเลยเป็ นคดีอาญา จึงต้ องบังคับตาม ปวิอ มาตรา ๕๑ วรรคหนึง่
และปพพ มาตรา ๔๔๘ วรรคสอง มาใช้ บงั คับ โดยนาอายุความอาญาซึง่ ยาวกว่ากาหนดอายุ
ความตามมาตรา ๔๔๘ วรรคหนึง่ มาใช้ บงั คับแก่คดี เมื่อข้ อเท็จจริงได้ ความว่าจาเลยที่ ๑ ฆ่า
ผู้ตายโดยเจตนา โจทก์ที่ ๑ ย่อมฟ้องจาเลยที่ ๑ ได้ ภายใน ๒๐ ปี นับแต่วนั ที่จาเลยที่ ๑
กระทาละเมิด หาใช่ภายในอายุความ ๑ ปี ตาม ปพพ. ไม่
มาตรา ๔๔๘ วรรสอง แต่ถ้าเรี ยกร้ องค่าเสียหายในมูลอันเป็ นความผิดมีโทษตามกฎหมาย
ลักษณะอาญา และมีกาหนดอายุความางอาญายาวกว่าที่กล่าวมานันไซร้
้
ท่านให้ เอาอายุ
ความที่ยาวกว่านันมาบั
้
งคับ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๐๔๓/๒๕๕๕ ตามฟ้องโจทก์ข้อ ๔ ได้ บรรยายว่า โจทก์
ทราบการกระทาความผิดของจาเลยเมื่อวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๔๓ จึงได้ ไปร้ อง
ทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองจันทบุรี ตามคาฟ้องของ
โจทก์ดงั กล่าวแสดงให้ เห็นว่า โจทก์ถือว่าการกระทาของจาเลยกับพวกเป็ นความผิด
ทางอาญาด้ วย ฟ้องโจทก์ในคดีนี ้จึงเป็ นการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับการ
คดีอาญา สิทธิเรี ยกร้ องของผู้เสียหายที่จะฟ้องทางแพ่งเนื่องจากการกระทา
ความผิดทางอาญาจึงต้ องเป็ นไปตามบทบัญญัติแห่ง ปวิอ มาตรา ๕๑ วรรคหนึง่
(เดิม) ซึง่ กาหนดไว้ วา่ ถ้ าไม่มีผ้ ใู ดฟ้องคดีอาญา สิทธิของผู้เสียหายที่จะฟ้องทาง
แพ่งเนื่องจากความผิดนันย่
้ อมระงับไปตามกาหนดเวลาดังที่กฎหมายลักษณะอาญา
บัญญัติไว้ ในเรื่ องอายุความฟ้องคดีอาญา ดังนัน้ เมื่อปรากฏว่าโจทก์ได้ ร้องทุกข์ให้
ดาเนินคดีแก่จาเลยกับพวกในข้ อหาฉ้ อโกง เมื่อนับตังแต่
้ วนั ที่ ๒๐ มกราคม
๒๕๔๓ ซึง่ เป็ นวันที่จาเลยอ้ างว่าโจทก์ร้ ูถึงการละเมิดและรู้ตวั ผู้จะพึงต้ องชดใช้ คา่
สินไหมทดแทนยังไม่เกินกาหนด คดีโจทก์ที่ฟ้องให้ จาเลยรับผิดอันเนื่องมาจากการ
กระทาละเมิดในการขอสินเชื่อโครงการหมูบ่ ้ าน พ. จึงยังไม่ขาดอายุความ
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๗๘/๒๕๕๔ โจทก์บรรยายฟ้องเรี ยกค่าเสียหายจากจาเลยโดยกล่าวอ้ าง
ว่า จาเลยกระทาละเมิดด้ วยการสร้ างกาแพงรัว้ คอนกรี ตรุกล ้าที่ดินของโจทก์เป็ นความผิดทาง
อาญาฐานบุกรุก โดยในฟ้องโจทก์บรรยายไว้ ด้วยว่า ได้ มีการแจ้ งความร้ องทุกข์ตอ่ พนักงาน
สอบสวนให้ ดาเนินคดีอาญาแก่จาเลยแล้ ว ซึง่ จาเลยก็ได้ ให้ การแก้ คดีโดยยอมรับว่า เมื่อเดือน
มิถนุ ายน ๒๕๔๓ โจทก์ร้องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลศาลาแดงกล่าวหา
ว่าจาเลยกระทาความผิดฐานบุกรุก แต่ตอ่ มาวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๕ พนักงานอัยการมีคาสัง่
เด็ดขาดไม่ฟ้องจาเลย ดังนี ้ ฟ้องโจทก์มีข้อความที่จะพึงเห็นได้ วา่ จาเลยกระทาการอันมิชอบ
ทาให้ โจทก์ได้ รับความเสียหาย อันเป็ นความผิดทางอาญาต่อโจทก์ฐานบุกรุกด้ วย จึงถือได้ วา่
เป็ นคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา แม้ ข้อเท็จจริงจะได้ ความว่าพนักงานอัยการมีคาสัง่ เด็ดขาด
ไม่ฟ้องจาเลยในความผิดฐานบุกรุก ไม่วา่ จะมีเหตุผลเพราะจาเลยไม่มีเจตนาและ
รู้เท่าไม่ถงึ การณ์ก็ตาม ก็ไม่มีผลกระทบกระเทือนต่อการฟ้องคดีแพ่งของโจทก์ เนื่องจากคดีนี ้
โจทก์ฟ้องขอให้ บงั คับจาเลยรื อ้ ถอนกาแพงคอนกรี ตส่วนที่รุกล ้าเข้ าไปในที่ดินของโจทก์ เป็ นการ
ที่โจทก์ซงึ่ เป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์ที่ดินใช้ อานาจแก่งกรรมสิทธิ์ตาม ปพพ มาตรา ๑๓๓๖ บังคับ
ให้ จาเลยรื อ้ ถอนกาแพงคอนกรี ตส่วนที่รุกล ้าเข้ าไปในที่ดินของโจทก์ จึงไม่อยูใ่ นบังคับเรื่ องอายุ
ความเรื่ องละเมิดตาม มาตรา ๔๔๘ วรรคหนึง่
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๐๕/๒๕๔๒เมื่อคดีอาญาถึงที่สดุ แล้ วโดยศาล
พิพากษาลงโทษจาเลยก่อนที่โจทก์ได้ ยื่นฟ้องคดีแพ่ง สิทธิของโจทก์
ที่จะฟ้องคดีแพ่งย่อมมีอายุความ ๑๐ ปี ตาม ประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๓๒(มาตรา ๑๖๘ เดิม)และประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา
๕๑วรรคสาม คดีอาญาก่อนถึงที่สดุ วันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๓๘
โจทก์ฟ้องคดีนี ้เมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๓๘ ยังไม่เกิน ๑๐ ปี คดี
โจทก์ยงั ไม่ขาดอายุความ