วิชาว่าความและถามพยาน 3 นายสุชาติ ธรรมาพิทกั ษ์กุล ตัวอย่างโจทย์ร่างฟ้องความผิดซ่องโจร (สมัย 65)  ข้อเท็จจริงตามโจทก์  ข้อเท็จจริงตามสานวนสอบสวนโดยย่อมีวา่ เมื่อคืนวันศุกร์ที่ 15 มีนาคม 2556 เวลา 22 นาฬกิ าเศษ ผูต้ อ้ งหาที่ 1 ถึงที่ 15

Download Report

Transcript วิชาว่าความและถามพยาน 3 นายสุชาติ ธรรมาพิทกั ษ์กุล ตัวอย่างโจทย์ร่างฟ้องความผิดซ่องโจร (สมัย 65)  ข้อเท็จจริงตามโจทก์  ข้อเท็จจริงตามสานวนสอบสวนโดยย่อมีวา่ เมื่อคืนวันศุกร์ที่ 15 มีนาคม 2556 เวลา 22 นาฬกิ าเศษ ผูต้ อ้ งหาที่ 1 ถึงที่ 15

วิชาว่าความและถามพยาน 3
นายสุชาติ ธรรมาพิทกั ษ์กุล
ตัวอย่างโจทย์ร่างฟ้องความผิดซ่องโจร (สมัย 65)

ข้อเท็จจริงตามโจทก์

ข้อเท็จจริงตามสานวนสอบสวนโดยย่อมีวา่ เมื่อคืนวันศุกร์ที่ 15 มีนาคม 2556 เวลา
22 นาฬกิ าเศษ ผูต้ อ้ งหาที่ 1 ถึงที่ 15 และที่หลบหนี ไปอีก 5 คน ซึ่งยังไม่ได้ตวั มาฟ้ อง
ได้แต่งตัวอาพรางตนเองโดยสวมชุดสีดา มีหมวกไหมพรมปิ ดหน้า ร่วมปรึกษากันเพื่อ
จะเข้าปล้นทรัพย์ในโรงงานผลิตอาหารกระป๋องของบริษัทอิสระอุตสาหกรรม จากัด
และเพื่อที่จะไปฆ่านายเกษม เจ้าของโรงงานดังกล่าวเสีย เหตุเกิดที่แขวงบางขุนนนท์
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร แต่เจ้าพนักงานตารวจจับกุมผูต้ อ้ งหาทั้ง 15 คนได้
ในขณะที่ประชุมปรึกษาหารือกัน ในชั้นสอบสวนผูต้ อ้ งทุกคนรับสารภาพ และได้รบั
อนุ ญาตให้ปล่อยชัว่ คราว
 ให้ท่านในฐานะพนักงานอัยการร่างคาฟ้ องเพื่อฟ้ องผูต
้ อ้ งหาทุกคนในความผิ ดฐานซ่อง
โจร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 และมาตรา 210 (ร่างเฉพาะใจความใน
คาฟ้ องเท่านั้น)
ประมวลอาญา มาตรา 210
ผูใ้ ดสมคบกันตั้งแต่หา้ คนขึ้ นไป เพื่ อกระทำความผิดอย่างหนึ่ ง
อย่างใด ตามที่บญ
ั ญัติไว้ในภาค 2 นี้ และความผิดนั้นมีกาหนดโทษ
จาคุกอย่างสูงตั้งแต่หนึ่ งปี ขึ้ นไป ผูน้ ้ันกระทาความผิดฐานเป็ นซ่อง
โจร ต้องระวางโทษ...
ถ้าเป็ นการสมคบเพื่อกระทาความผิดที่มีระวางโทษถึงประหาร
ชีวิต จาคุกตลอดชีวติ หรือจาคุกอย่างสูงตั้งแต่สิบปี ขึ้ นไป ผูก้ ระทา
ต้องระวางโทษ...
ตัวอย่างคาฟ้ อง

ข้อ 1. เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556 เวลากลางคืนหลังเที่ยง จาเลยที่ 1 ถึงที่ 15 กับพวกอีก
5 คน ที่ยงั ไม่ได้ตวั มาฟ้ อง ได้ร่วมกันกระทาความผิดด้วยกัน โดยบังอาจสมคบกันตั้งแต่หา้
คนขึ้ นไป ประชุมปรึกษากันเพื่อทาการปล้นทรัพย์และฆ่าผูอ้ ื่น ซึ่งความผิดดังกล่าวเป็ น
ความผิดที่บญ
ั ญัติไว้ในภาค 2 แห่งประมวลกฎหมายอาญา และเป็ นความผิดที่กาหนดโทษ
จาคุกอย่างสูงตั้งแต่หนึ่ งปี ขึ้ นไป อันเป็ นการกระทาความผิดฐานซ่องโจร
เหตุเกิดที่แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
 ข้อ 2. ตามวันเวลาดังกล่าวในฟ้ องข้อ 1. เจ้าพนั กงานจับจาเลยที่ 1 ถึงที่ 15 ได้ ทาการ
สอบสวนแล้ว จาเลยทุกคนให้การรับสารภาพ
ระหว่างสอบสวน จาเลยที่ 1 ถึงที่ 15 ไม่ได้ถกู ควบคุมตัว โดยได้รบั การปล่อย
ชัว่ คราว ได้ส่งตัวจาเลยที่ 1 ถึงที่ 15 มาศาลพร้อมฟ้ องนี้ แล้ว
ขอให้ลงโทษจาเลยที่ 1 ถึงที่ 15 ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 210 และ 83
ตัวอย่างโจทย์ให้ร่างคาร้องในคดีอาญา (สมัยที่ 64)


พนักงานอัยการ สานักงานอัยการสูงสุด เป็ นโจทก์ฟ้องจาเลยที่ 1 จาเลยที่ 2 และจาเลยที่ 3
ในความผิดฐานเป็ นกบฏ ศาลอาญาได้นัดสืบพยานโจทก์นัดแรกในวันที่ 5 เมษายน 2554
เวลา 9.00 น. ก่อนวันนัดพิจารณา โจทก์ได้ยนื่ คาร้องต่อศาลขอให้พิจารณาเป็ นการลับ
เพราะมีขอ้ เท็จจริงในทางการเมืองที่สาคัญอันจาเป็ นต้องปกปิ ดเพื่อป้องกันความลับอัน
เกี่ยวกับความปลอดภัยของประเทศมิให้ล่วงรูถ้ ึงประชาชน ศาลได้ส่งสาเนาคาร้องให้จาเลย
หากจะคัดค้านให้แถลงคัดค้านภายใน 3 วัน จาเลยทั้งสามเห็นว่า คดีนี้เป็ นคดีที่อยูใ่ น
ความสนใจของประชาชน ควรจะให้ประชาชนได้รบั ทราบ และติดตามฟั งการพิจารณาคดีได้
โดยตลอดเช่นคดีอาญาทัว่ ไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา
40 (2) ที่ให้สิทธิพนฐานในกระบวนพิ
ื้
จารณาของศาลที่ตอ้ งกระทาโดยเปิ ดเผย โจทก์จึงไม่
มีสิทธิ์ที่จะขอให้พิจารณาเป็ นการลับ
ให้ท่านในฐานะทนายความของจาเลยทั้งสามร่างคาร้องคัดค้านให้ตามความประสงค์ของ
จาเลยทั้งสาม (ให้ร่างแต่ใจความในคาร้องเท่านั้น)
ตัวอย่างคาร้อง
 ข้อ
1. คดีนี้ ศาลนัดสืบพยานโจทก์นัดแรกในวันที่ 25 เมษายน 2554 เวลา
9.00 น.
 ข้อ 2. ตามที่โจทก์ได้ยน
ื่ คาร้องขอให้ศาลพิจารณาเป็ นการลับโดยอ้างว่า มี
ข้อเท็จจริงในทางการเมืองที่สาคัญอันจาเป็ นต้องปกปิ ดเพื่อป้องกันความลับอัน
เกี่ยวกับความปลอดภัยของประเทศมิให้ล่วงรูถ้ ึงประชาชนนั้น จาเลยทั้งสามขอ
คัดค้านว่าคดีนี้เป็ นคดีที่อยูใ่ นความสนใจของประชาชน ควรจะให้ประชาชนได้รบั
ทราบและติดตามฟั งการพิจารณาคดีได้โดยตลอดเช่นเดียวกับคดีอาญาทัว่ ไปตาม
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 40 (2) ที่ให้สิทธิ
พื้ นฐานในกระบวนพิจารณาของศาลที่ตอ้ งกระทาโดยเปิ ดเผย โจทก์จึงไม่มีสิทธิ์ที่
จะขอให้พิจารณาเป็ นการลับ ด้วยเหตุผลดังกล่าว ขอศาลได้โปรดยกคาร้องของ
โจทก์เสีย และดาเนิ นกระบวนพิจารณาต่อไปโดยเปิ ดเผย ขอศาลได้โปรดอนุ ญาต
ตัวอย่างโจทย์ให้ทาคาร้องให้รอคดีแพ่งไว้ก่อน (สมัยที่ 63)

เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554 นายสมานขับรถยนต์หมายเลขทะเบียน สช 5454 ของนางสมรพี่สาวจากถนน
รัชดาภิเษกไปสี่แยกรัชโยธินได้ชนกับรถจักรยานยนต์หมายเลขทะเบียน ตธก 90 มีนายสมัยเป็ นผูข้ บั ขี่ใน
เส้นทางเดียวกันขณะลอดอุโมงค์ลาดพร้าว นายสมัยตกจากรถศีรษะกระแทกผนังอุโมงค์ถึงแก่ความตาย

ต่อมาพนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้องนายสมานต่อศาลอาญาตามคดีหมายเลขดาที่ 2900/2554 ขณะนี้ อยู่
ระหว่างสืบพยานโจทก์ ก่อนครบ 1 ปี นายสมิทบิดานายสมัยเป็ นโจทก์ฟ้องนายสมานและนางสมรเป็ นจาเลย
ที่ 1 และที่ 2 ต่อศาลแพ่งตามคดีหมายเลขดาที่ 610/2555 เรียกค่าเสียหายรวม 5 ล้านบาท จาเลยทั้งสอง
ให้การต่อสูค้ ดี ศาลแพ่งกาหนดประเด็นข้อพิพาทไว้ 3 ประเด็น คือ จาเลยที่ 1 ขับรถประมาทหรือไม่ จาเลย
ที่ 1 กระทาในทางการที่จา้ งของจาเลยที่ 2 ที่จาเลยที่ 2 จะต้องร่วมรับผิดหรือไม่ และค่าเสียหายมีเพียงใด
โดยศาลแพ่งนัดสืบพยานโจทก์นัดแรกในวันที่ 19 เมษายน 2555 เวลา 9.30 น. และประเด็นที่ 1 ที่วา่
จาเลยที่ 1 ขับรถประมาทหรือไม่เป็ นประเด็นข้อสาคัญในคดีนี้

ให้ท่านในฐานะทนายจาเลย ร่างคาร้องยืน่ ต่อศาลแพ่งเพื่อให้รอคดีแพ่งไว้ก่อนตาม ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 39 จนกว่าคดีอาญาดังกล่าวจะถึงที่สุด (ให้ร่างแต่ใจคามของตาร้อง)
คาร้อง
คดีนี้ ศาลนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ 19 เมษายน 2555 เวลา 9.30 น ดังรายละเอียดปรากฏใน
รายงานประบวนพิจารณาของศาลแล้วนั้น
จาเลยขอกราบเรียนต่อศาลว่า โจทก์ได้ฟ้องจาเลยที่ 1 และที่ 2 ให้รบั ผิดร่วมกันในทางละเมิด ซึ่งศาล
ได้กาหนดหน้าที่นาสืบให้โจทก์สืบก่อนทั้งสามประเด็น คือ
1. จาเลยที่ 1 ได้กระทาการโดยประมาทหรือไม่
2. จาเลยที่ 1 ได้กระทาในทางการที่จา้ งของจาเลยที่ 2 จาเลยที่ 2 จะต้องรับผิดร่วมด้วยหรือไม่
3.ค่าเสียหายมีเพียงใด
ปรากฏว่าพนักงานอัยการฟ้ องจาเลยที่ 1 ในคดีนี้เป็ นจาเลยในคดีอาญาหมายเลขดาที่ 2900/2554
ของศาลอาญา ในข้อหาขับรถยนต์ประมาทเป็ นเหตุให้ผอู้ ื่นถึงแก่ความตาย ซึ่งคดีอยูร่ ะหว่างสืบพยานโจทก์
จาเลยเห็นว่าหากศาลอาญาวินิจฉัยว่าจาเลยที่ 1 ประมาทหรือไม่ประมาทซึ่งเป็ นข้อหนึ่ งที่สาคัญในคดีนี้ คา
วินิจฉัยของศาลในคดีอาญาย่อมผูกพันการวินิจฉัยของศาลแพ่งในคดีนี้
ดังนั้น เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม จาเลยจึงเห็นสมควรที่ศาลแพ่งได้โปรดสัง่ ให้รอการพิจารณา
คดีนี้ไว้ก่อนตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 39 จนกว่าการพิจารณาคดีอาญาดังกล่าวจะถึง
ที่สุด ขอศาลได้โปรดอนุ ญาต
ตัวอย่างโจทก์ให้ร่างฟ้องคดีแพ่ง (สมัย 66)

นายวิลเลียม บรูค๊ ชาวอเมริกนั เป็ นโจทก์ยนื่ ฟ้ อง นายเกษมเป็ นจาเลย เรียก
ค่าเสียหายในกรณีละเมิดเป็ นเงิน 200,000,000 บาท คดีอยูร่ ะหว่าง
สืบพยานโจทก์ นายเกษมเห็นว่านายวิลเลียม บรูค๊ เป็ นชาวต่างประเทศ
มิได้มีภมู ิลาเนาหรือสานักงานในราชอาณาจักร และไม่มีทรัพย์สินที่จะถูก
บังคับคดีได้ในราชอาณาจักร เป็ นที่เชื่อได้วา่ ถ้านายบรูค๊ แพ้คดีแล้วจะ
หลีกเลี่ยงไม่ยอมชาระค่าฤชาธรรมเนี ยมและค่าใช้จา่ ยในการดาเนิ นคดี ซึ่ง
จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายเกษมได้ นายเกษมจึงมีควำมประสงค์จะ
ให้ศาลมีคาสัง่ ให้นายบรูค๊ วางเงินประกันตามแต่ศาลจะเห็นสมควร
 ให้ท่านในฐานะทนายความของนายเกษม
เกษม (ให้รา่ งแต่ใจความในคาร้อง)
ร่างคาร้องตามความประสงค์ของนาย
ตัวอย่างคาร้อง


ข้อ 1. คดีนี้โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายเป็ นเงินจานวน 200,000,000 บาทจากจาเลย คดี
อยูร่ ะหว่างสืบพยานโจทก์
ข้อ 2. จาเลยขอกราบเรียนต่อศาลว่า โจทก์เป็ นชาวต่างประเทศมิได้มีภมู ิลาเนาหรือสานัก
ทาการงานอยูใ่ นราชอาณาจักร และไม่มีทรัพย์สินที่อาจถูกบังคับคดีได้อยู่ในราชอาณาจักร
ทั้งเป็ นที่เชื่อได้วา่ เมื่อโจทก์แพ้คดีแล้ว โจทก์จะหลีกเลี่ยงไม่ชาระค่าฤชาธรรมเนี ยมและ
ค่าใช้จา่ ย ซึ่งจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่จาเลยได้เมื่อคดีถึงที่สุด ฉะนั้น เพื่อประโยชน์แห่ง
ความยุติธรรม ขอศาลได้โปรดมีคาสัง่ ให้โจทก์วางเงินประกันความเสียหายตามแต่ศาลจะ
เห็นสมควร เพื่อเป็ นการประกันการที่โจทก์จะชาระค่าฤชาธรรมเนี ยมและค่าใช้จา่ ย ในการ
ดาเนิ นคดีให้แก่จาเลยต่อไปหากจาเลยเป็ นฝ่ ายชนะคดี ขอศาลได้โปรดอนุ ญาต
การยืน่ ฟ้ องและแก้ไขฟ้ อง
การยืน่ ฟ้ อง





ยืน่ ต้นฉบับ พร้อมสาเนาเท่าจานวนจาเลย
ทนายความยืน่ เองหรือมอบฉันทะให้เสมียนทนายความยืน่
ศาลกาหนดนัดวันไต่สวนมูลฟ้ อง และสัง่ (ในคาฟ้ อง)ให้โจทก์นาส่งหมาย
และสาเนาคาฟ้ องแก่จาเลย
ฉะนั้น ถ้าส่งไม่ได้โจทก์ตอ้ งแถลงให้ส่งใหม่ (ซึ่งมักขอให้ปิดหมายด้วย หาก
ส่งครั้งนี้ ไม่ได้)
ควรทาบัญชีพยานชั้นไต่สวนมูลฟ้ อง ยืน่ ไปพร้อมฟ้ อง
คาสัง่ ศาลให้โจทก์ส่งหมายและสาเนาคาฟ้ อง

คดีราษฎรเป็ นโจทก์ เมื่อยืน่ คาฟ้ องแล้ว ศาลมักสัง่ ดังนี้
“สาเนาให้จาเลย นัดไต่สวนมูลฟ้ อง ให้โจทก์นาส่งหมายนัดภายในกาหนด.......วัน
หากส่งไม่ได้ให้แถลงต่อศาลภายใน....วัน นับแต่วนั ส่งไม่ได้ มิฉะนั้น ถือว่าทิ้ ง
ฟ้ อง”
ตัวอย่างการแถลงให้ส่งหมายใหม่ของโจทก์
 ข้อ
๑. คดีนี้โจทก์ได้นาส่งหมายและสาเนาคาฟ้ องแก่จาเลย ณ ภูมิลาเนาของ
จาเลยตามคาฟ้ อง ซึ่งเป็ นภูมิลาเนาที่ปรากฎในทะเบียนของจาเลยแล้ว แต่ส่ง
ไม่ได้ เนื่ องจากไม่พบตัวจาเลยและไม่มีผใู้ ดยอมรับไว้แทน โจทก์ขอกราบเรียนว่า
จาเลยมีภมู ิลาเนาตามคาฟ้ องจริง ดังปรากฎตามสาเนาทะเบียนราษฎรที่ออกให้
โดยนายทะเบียนอาเภอ........ที่แนบมานี้ โจทก์จึงขอศาลได้โปรดมีคาสัง่ ให้ส่ง
หมายและสาเนาคาฟ้ องแก่จาเลย ณ ภูมิลาเนาจาเลยตามที่ปรากฎในคาฟ้ องอีก
ครั้งหนึ่ ง หากครั้งนี้ ส่งไม่ได้ ไม่วา่ เพราะเหตุใด ก็ขอศาลได้โปรดมีคาสัง่ ให้ปิด
หมายและสาเนาคาฟ้ อง ณ ภูมิลาเนาของจาเลยดังกล่าวด้วย เพื่อประโยชน์แห่ง
ความยุติธรรม ขอศาลได้โปรอนุ ญาต
การขอแก้ไขเพิ่มเติมคาฟ้ อง

๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
ดาเนิ นการตามเงื่อนไขใน ปวิอ. มาตรา ๑๖๓ และ ๑๖๔ คือ
ต้องทำเป็ นคำร้อง
ยืน่ ต่อศาลชั้นต้นก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาแม้จะนัดฟั งคาพิพากษาแล้ว ก็
ยืน่ ได้ (ฎีกา ๕๓๙/๒๔๙๕)
มีเหตุอนั ควร ที่จาเลยไม่หลงต่อสู ้
ฟ้ องที่ขอแก้ไขเพิ่มเติม ต้องเกี่ยวกับฟ้ องเดิม
ฟ้ องเดิม ต้องเป็ นฟ้ องที่ชอบด้วยกฎหมายอยูแ่ ล้ว
มีเหตุอนั ควร ที่จาเลยไม่หลงต่อสู ้




ต้องบรรยายเงื่อนไขนี้ ในคาร้องด้วย
เหตุอนั ควร อาจเกิดจาก พิมพ์ผิดไป พิมพ์ตกหล่นเพราะหลงลืม ไม่สอบทาน
หรือมีเหตุอนั ควรจริง เช่น เพิ่งเกิดขึ้ นภายหลังฟ้ อง กรณีฟ้องเริ่มคดีวา่ ทา
ร้ายร่างกายบาดเจ็บแก่กาย แล้วพบว่าได้รบั อันตรายสาหัส หรือตายไปเป็ น
ต้น
อาจแก้ชื่อเจ้าทรัพย์ สถานที่เกิดเหตุ วันเวลาเกิดเหตุ รูปพรรณบุคคล
รายละเอียดบุคคลหรือสิ่งของ หรือข้อเท็จจริงอื่น
ถ้าจาเลยไม่หลงต่อสู ้ หรือเสียเปรียบแก่โจทก์ ศาลมักอนุ ญาตให้แก้ไข
เพิ่มเติม
ฟ้ องที่จะขอแก้ไขต้องเกี่ยวกับฟ้ องเดิม

ก.
ข.
ค.
ดังนั้น การแก้ไข ต้อง
ไม่เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบความผิดในฟ้องเดิม หรือ
ไม่เป็ นการเพิม่ จาเลยใหม่เข้ามาในคดี หรือ
ไม่เป็ นการเพิม่ ฐานความผิดขึ้ นใหม่
ฟ้ องที่จะขอแก้ไขต้องเป็ นฟ้ องที่ชอบด้วยกฎหมายอยู่ก่อนแล้ว

ถ้าฟ้ องเดิมไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพราะขาดองค์ประกอบความผิด จะขอ
แก้ไขเพิ่มเติมไม่ได้ เช่น
 คดีเช็ค
ไม่บรรยายว่าธนาคารปฏิเสธการสัง่ จ่าย จะขอเพิ่มเติมส่วนนี้ เข้ามาไม่ได้
 คดีลก
ั ทรัพย์ ไม่บรรยายว่าเป็ นทรัพย์ของบุคคลอื่น
 คดีลิขสิทธิ์ ฟ้ องบรรยายเพียงว่ารับโอนมาจากเจ้าของลิขสิทธิ์ แต่ไม่บรรยายว่า
สร้างสรรค์งานนั้นหรือโฆษณางานนั้นเมื่อไร เพื่อให้เห็นว่ายังเป็ นงานที่ได้รบั การ
คุม้ ครองตามกฎหมายอยูห่ รือหมดอายุคุม้ ครองแล้ว เป็ นฟ้ องไม่ชอบมาแต่แรก
จะขอแก้ไขเพิ่มเติมว่า ยังอยูใ่ นอายุคุม้ ครองลิขสิทธิ์ตามกฎหมายไมได้
(ฎ.1688-9/2557)
ลักษณะที่ขอแก้ไข

ทัว่ ไป แบ่งเป็ น ๓ ลักษณะ
๑ ขอแก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อย
๒ ขอแก้ไขมาก เช่น พิมพ์ผิดหลายแห่ง หรือแก้หลายตอน
๓ ขอเพิ่มเติมคาฟ้ อง เช่นข้อเท็จจริงบางส่วนหายไป หรือพิมพ์ตกไป หรือมี
ข้อเท็จจริงเกิดขึ้ นภายหลัง หรือขอเพิ่มโทษ เป็ นต้น โดยฟ้ องเดิมไม่ได้
บกพร่อง
๔ อาจเป็ นการขอให้เพิ่มโทษจาเลย ตาม ม. 159 วรรคสอง เนื่ องจากไม่ได้
ขอมาแต่แรก อาจเป็ นเพราะเพิง่ ได้รบั ข้อมูล
หลักของคาร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้ อง



บรรยายว่าขณะนี้ คดีอยูข่ ้นั ตอนใด
ฟ้ องโจทก์มีขอ้ ผิดพลาดอย่างไร หรือยังมิได้กล่าวถึงเรื่องใด
โจทก์ตอ้ งการแก้ไข หรือเพิ่มเติม อย่างไร
ตัวอย่างคาร้องขอแก้ไขเล็กน้อย
ข้อ ๑. คดีนี้ ศาลนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่...
ข้อ ๒ โดยที่โจทก์ได้พิมพ์คาฟ้ องผิดพลาดไปเล็กน้อย กล่าวคือ ได้พิมพ์
นามสกุลของผูเ้ สียหายในคดีนี้ผิดไป โจทก์จึงขอแก้ไขคาฟ้ องในข้อ ๑ บรรทัด
ที่ ๑ ซึ่งมีขอ้ ความว่า ”เมื่อวันที่....เวลากลางวัน นางสมศรี มีลำก ผูเ้ สียหาย
...” นั้น เป็ น “เมื่อวันที่....เวลากลางวัน นางสมศรี มีลำภ ผูเ้ สียหาย...” แทน
นอกจากที่ขอแก้ไขนี้ แล้ว โจทก์ขอถือตามคาฟ้ องเดิมทุกประการ ขอ
ศาลได้โปรดอนุ ญาต
ตัวอย่างคาร้องขอแก้ไขมาก
ข้อ ๑ คดีนี้ ศาลนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่...
ข้อ ๒ เนื่ องจากคาฟ้ องของโจทก์ขอ้ ๑ พิมพ์ผิดพลาดอยูห่ ลายแห่ง โจทก์จึง
ขอแก้ไขคาฟ้ องข้อ ๑ โดยขอยกเลิกข้อความเดิมในคาฟ้ องข้อ ๑ ของโจทก์
ทั้งหมด และขอใช้ขอ้ ความต่อไปนี้ เป็ นข้อความในคาฟ้ องข้อ ๑ แทน
“ (ข้อความที่ตอ้ งการแก้ไขหรือเพิม่ เติม) “
นอกจากที่ขอแก้ไขข้างต้นแล้ว โจทก์ขอถือตามคาฟ้ องเดิมทุกประการ
ขอศาลได้โปรดอนุ ญาต
ตัวอย่างคาร้องขอเพิ่มเติมฟ้ อง เพื่อขอเพิ่มโทษจาเลย
ข้อ ๑. คดีนี้ ศาลนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่...
ข้อ ๒. เนื่ องจากปรากฎข้อเท็จจริงว่าก่อนจาเลยจะถูกฟ้ องคดีนี้ จาเลยได้ถูกศาลพิพากษา
ลงโทษจาคุกและพ้นโทษมาแล้ว และจาเลยได้กระทาผิดในคดีนี้อีก โจทก์จึงขอเพิ่มเติมคา
ฟ้ องของโจทก์ โดยขอเพิ่มเติมข้อความดังต่อไปนี้ เป็ นวรรคสองของคาฟ้ องข้อ ๒ ของโจทก์
คือ
“อนึ่ งจาเลยในคดีนี้ได้เคยต้องโทษตามคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุกมาแล้วในคดี
ข้อหาชิงทรัพย์มีกาหนด ๑ ปี ตามคาพิพากษาของศาลอาญา คดีดาที่...คดีแดงที่...แต่จาเลย
กลับไม่เข็ดหลาบและได้กระทาผิดในคดีนี้ขึ้ นอีกภายในเวลาที่กฎหมายกาหนด โจทก์จึงขอ
ศาลได้โปรดพิพากษาเพิ่มโทษจาเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๓ ด้วย”
ข้อ ๓. เพื่อให้สอดคล้องกับการขอเพิ่มเติมคาฟ้ องในข้อ ๒ ข้างต้น โจทก์จึงขอเพิ่มข้อความ
“ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๓” ในคาขอท้ายฟ้ องของโจทก์ดว้ ย
นอกจากที่ขอ้ แก้ไขเพิ่มเติมคาฟ้ องดังกราบเรียนข้างต้นแล้ว โจทก์ขอถือตามคาฟ้ อง
เดิมทุกประการ ขอศาลได้โปรดอนุ ญาต
ตัวอย่างคาร้องขอคืนของกลาง
ข้อ ๑. คดีนี้ถึงที่สุดแล้ว โดยศาลพิพากษาลงโทษจาเลยฐานขับรถยนต์โดย
ประมาทเป็ นเหตุให้ผอู้ ื่นถึงแก่ความตาย ให้จาคุกและริบรถยนต์ซี่งเป็ น
ทรัพย์ที่ใช้ในการกระทาผิดด้วย
ข้อ ๒ เนื่ องจากรถยนต์ที่ศาลได้พพิ ากษาให้ริบนั้น เป็ นของผูร้ อ้ ง ดังปรากฏ
ตามสาเนาใบทะเบียนรถยนต์ที่แนบมาท้ายคาร้องนี้ (เอกสารหมาย ๑)
จาเลยครอบครองรถยนต์คนั ดังกล่าวโดยการทาสัญญาเช่ารถยนต์คนั
ดังกล่าวกับผูร้ อ้ ง ตามสาเนาสัญญาเช่า เอกสารหมาย ๒ ท้ายคาร้องนี้ ผูร้ อ้ ง
เป็ นผูป้ ระกอบกิจการให้เช่ารถยนต์และมิได้รเู ้ ห็นเป็ นใจในการกระทาผิดของ
จาเลยแต่อย่างใด จึงขอศาลได้โปรดมีคาสัง่ ให้คืนรถยนต์ของกลางที่ศาลสัง่
ริบให้แก่ผรู้ อ้ งด้วย
คาให้การจาเลย
คาให้การจาเลย

โดยทัว่ ไป แบ่งเป็ น ๒ แบบ


คาให้การที่ศาลบันทึกให้ ตาม ปวอ มาตรา ๑๗๒
คาให้การที่จาเลยหรือทนายความจาเลยจัดทาขึ้ นและยืน่ ต่อศาล
อาจแบ่งเป็ น ๓ ประเภท คือ
๑ คาให้การปฏิเสธ
๒ คาให้การภาคเสธ
๓ คาให้การรับสารภาพ
กระบวนการพิจารณาในชั้นยืน่ คาให้การจาเลย



เป็ นไปตาม ปวิอ. 172 วรรคแรก คือ ศาล (มักไม่ใช่เจ้าของสานวน) จะ
ถามคาให้การจาเลย
โดยทัว่ ไป จาเลยที่ไม่ได้ยนื่ คาให้การไว้ก่อน มักยังไม่มีทนายความ
กรณีศาลถามคาให้การแล้ว
 จาเลยอาจรับสารภาพเลย
และคดีไม่ตอ้ งสืบพยานโจทก์ประกอบ ศาลพิพากษา
ได้เลย (ปวิอ. มาตรา 176) ถ้าความผิดที่มีโทษจาคุก และศาลไม่รอการลงโทษ
จาเลยเข้าเรือนจาในวันนั้น
 กรณีมีทนายความ ควรเตรียมเรื่องการประกันตัวไปด้วย และโดยทัว่ ไป จาเลย
มักปฏิเสธไว้ก่อน
ตัวอย่างคาให้การปฏิเสธ
“จาเลยขอปฎิเสธฟ้ องของโจทก์ทุกข้อหา จาเลยมิได้เป็ นผูก้ ระทาผิดตาม
ฟ้ อง จึงขอศาลได้โปรดพิพากษายกฟ้ องโจทก์ และปล่อยจาเลยพ้นข้อหาไป
ด้วย”
ตัวอย่างคาให้การภาคเสธ
“จาเลยรับว่าได้ใช้เก้าอี้ ไม้ฟาดไปที่ผเู้ สียหายจริง แต่จาเลยได้กระทาไปเพื่อ
ป้องกันตัวพอสมควรแก่เหตุ เนื่ องจากผูเ้ สียหายได้ประทุษร้ายจาเลยด้วย
การใช้มีดไล่แทงจาเลย จาเลยวิง่ หนี แล้ว แต่ผเู้ สียหายยังวิ่งไล่แทงจาเลย
ระหว่างวิง่ หนี ผ่านเก้าอี้ ที่วางอยู่ จาเลยจึงหยิบเก้าอี้ ฟาดสวนไปทางที่
ผูเ้ สียหายวิง่ ไล่มาไปหนึ่ งครั้ง ถูกที่บริเวณศีรษะของผูเ้ สียหาย
ทัง้ นี้ จำเลยกระทำไปเพื่อป้องกันตัวจำเลยจำกกำรถูกทำร้ำย โดยจำเลยมิได้
มีเจตนำทำร้ำยหรือฆ่ำผูเ้ สียหำยแต่อย่ำงใด จึงขอศาลได้โปรดพิพากษายก
ฟ้ องโจทก์และปล่อยจาเลยพ้นข้อหาไปด้วย”
หลักการต่อสูข้ องจาเลย

โดยทัว่ ไป อาจเป็ นดังนี้
 อ้างฐานที่อยู่
 ยอมรับว่าอยูใ่ นที่เกิดเหตุ
แต่ไม่ได้กระทาความผิด
 ยอมรับข้อเท็จจริงบางส่วน แต่ต่อสูข้ อ
้ กฎหมายว่าไม่เป็ นความผิด หรือไม่ตอ้ งรับ
โทษ
 นาสืบหักล้างพยานหลักฐานของโจทก์
 ไม้ได้กระทาเลย
 ไม่ทุจริต
เพราะกระบวนการถูกต้อง และไม่ได้แสวงหาประโยชน์เพื่อตนหรือคนอื่น
 มีอานาจกระทาได้
ตัวอย่างคารับสารภาพ
การรับสารภาพตามปกติ
“จำเลยขอรับสำรภำพตำมฟ้ อง”
การรับสารภาพพร้อมขอลดหรือรอการลงโทษ
“จำเลยขอรับสำรภำพตำมฟ้ องโจทก์ทกุ ประกำร
เหตุท่ ีจำเลยกระทำผิดตำมฟ้ อง ก็เนื่ องจำกจำเลย...ขอศำลได้กรุณำพิจำรณำ
รอกำรลงโทษแก่จำเลยด้วย (ควรตำมด้วยเหตุผลอื่น เช่นควำมรับผิดชอบ
ต่อครอบครัว กำรศึกษำ ฯลฯ)
ปั ญหาการรับสารภาพความผิด 2 ฐาน




กรณีฟ้องความผิดมา 2 ฐาน หากจาเลยรับสารภาพตามฟ้ องโจทก์ทุก
ประการ อาจเป็ นปั ญหา
เช่น ฟ้ องลักทรัพย์หรือรับของโจร (ฎ. 5912/2549)
ฟ้ องจาเลย 1 ลักทรัพย์ จาเลย 2 และ 3 รับของโจทก์ จาเลย 2 และ 3 รับ
สารภาพว่าลักทรัพย์ ต้องยกฟ้ อง (ฎ. 5666/2545)
รับสารภาพต่างจากฟ้ อง ต่างกับ กรณี นาสืบได้ความต่างจากฟ้ อง ตาม ม.
192 ซึ่งอาจลงโทษได้
การดาเนิ นกระบวนพิจารณา: การตรวจพยานหลักฐาน


การตรวจสอบพยานหลักฐานในชั้นศาล (วิอาญา มาตรา ๑๗๓/๑, ๑๗๓/๒) ซึ่งเป็ น
กระบวนพิจารณาที่แก้ไขเมื่อปี 2547
มีหลักเกณท์ ดังนี้
๑.
ใช้เฉพาะกับคดีที่จาเลยไม่ให้การหรือให้การปฏิเสธ
๒.
ต้องแจ้งให้ค่คู วามทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๑๔ วัน
๓.
หากจะยืน่ ระบุพยานเพิ่มเติม ทาได้ ๒ ระยะ
ก.
ยืน่ ต่อศาลก่อนการตรวจพยานหลักฐานเสร็จ เป็ นสิทธิที่จะยืน่ ได้
ข.
ยืน่ เมื่อพ้นระยะเวลาตรวจพยานหลักฐานแล้ว ต้องทาเป็ นคาร้องแสดงเหตุผลว่าไม่
สามารถทราบถึงพยานหลักฐานนั้น หรือกรณีจาเป็ นเพื่อประโยชน์แห่งความ
ยุติธรรม หรือเพื่อให้โอกาสแก่จาเลยในการต่อสูค้ ดีอย่างเต็มที่
กระบวนพิจารณาในวันตรวจพยานหลักฐาน
มาตรา ๑๗๓/๒ กาหนดไว้ ๔ เรื่องที่จะกระทาในวันตรวจพยานหลักฐาน
๑.
ให้คคู่ วามฝ่ ายหนึ่ งส่งพยานเอกสารและพยานวัตถุที่อยูใ่ นความครอบครอง
ของตน พร้อมสาเนาให้แก่อีกฝ่ ายหนึ่ งตรวจสอบ เว้นแต่ศาลจะสัง่ เป็ นอย่าง
อื่น
๒.
คูค่ วามแต่ละฝ่ ายมีหน้าที่แถลงแนวทางการเสนอพยานหลักฐานต่อศาล ซึ่ง
ก็คือแนวทางการสืบพยาน
๓.
ให้ศาลสอบถามคูค่ วามถึงความเกี่ยวข้องกับประเด็นและความจาเป็ นที่ตอ้ ง
สืบพยานหลักฐานที่อา้ งอิง ตลอดจนการยอมรับพยานหลักฐานของอีกฝ่ าย
๔.
ให้ศาลกาหนดวันสืบพยาน และแจ้งให้คคู่ วามทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๗
วัน
จบบรรยาย