Document 7368930

Download Report

Transcript Document 7368930

เสรีภาพบนอินเทอร์เน็ต
แนวคิดทางจริยธรรมและปรัชญา
โสรัจจ์ หงศ์ ลดารมภ์
ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงร่าง
 แนวคิดเรื่ องเสรี ภาพ
 เสรี ภาพทางการเมือง เสรี ภาพในการแสดงออก เสรี ภาพบน
อินเทอร์ เน็ต
 เสรี นิยม (liberalism) ปั จเจกชนนิยม (individualism)
เสรี ภาพนิยม (libertarianism) ชุมชนนิยม
(communitarianism)
 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบคุณค่าของชุมชน กับมาตรการ
จากัดเสรี ภาพของอินเทอร์ เน็ต
เสรีภาพคืออะไร?
 ความเป็ นไปได้ ท่ จี ะทาการใดๆ ตามที่ตนเองต้ องการ
 เสรี ภาพเชิงบวก
 การที่คนๆหนึง่ สามารถทาอะไรได้ โดยปราศจากการควบคุมบังคับ
 เสรี ภาพ “ที่จะทาอะไรก็ได้ ”
 เสรี ภาพเชิงลบ
 การที่คนๆหนึง่ ไม่ถก
ู กีดกันไม่ให้ ทาอะไรจากผู้มีอานาจทางการเมือง
 เสรี ภาพ “ที่จะไม่มีใครมายุง่ เกี่ยวกับตนเอง”
 สิทธิกับเสรี ภาพ
 สิทธิเป็ นเรื่ องของการให้ หลักประกันจากผู้มีอานาจ ว่าผู้มีสิทธิได้ รับการ
คุ้มครอง ส่วนเสรี ภาพเป็ นเรื่ องของการปราศจากการควบคุมใช้ อานาจ
เสรีภาพทางการเมือง
 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
 เสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็น
 เสรี ภาพที่จะมีสว่ นร่วมทางการเมือง
 เสรี ภาพในการชุมนุม รวมตัวกันเป็ นกลุม่ ผลประโยชน์
 เสรี ภาพในการจัดตังเป็
้ นสมาคม
 เสรี ภาพในการวิพากษ์ วิจารณ์รัฐบาล
เสรีภาพบนอินเทอร์เน็ต
 ลักษณะของอินเทอร์ เน็ต
 กาเนิดจากหน่วยงานทางการทหารของสหรัฐฯ
 “วัฒนธรรม” ของคนบนอินเทอร์ เน็ตยุคแรกๆ
 “วัฒนธรรม” อินเทอร์ เน็ตในปั จจุบน
ั
 อินเทอร์ เน็ตในฐานะเป็ นสื่อแสดงความคิดเห็น
 Many-to-many
 One-to-many
 Many-to-one
 One-to-one
เสรีภาพกับอินเทอร์เน็ต
 ลักษณะของอินเทอร์ เน็ตที่ยินยอมให้ บคุ คลธรรมดา ติดต่อสื่อสารกับคน
จานวนมากได้ ทาให้ เป็ นสื่อที่ทรงพลังมาก
 ปรากฏการณ์ web forum
 พลังของอินเทอร์ เน็ตในการสร้ างสังคมที่โปร่งใส ตรวจสอบได้
 ความพยายามในการปิ ดกันการติ
้
ดต่อสื่อสารทางอินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย
 การรายงานของ Reporters sans frontieres



Worldwide press freedom index 2005
http://www.rsf.org/article.php3?id_article=15338
ประเทศไทยอยู่ท่ ี 107 จากทัง้ หมด 167 ประเทศ (เดนมาร์ กอันดับหนึง่ เกาหลี
เหนืออันดับที่ 167 เกาหลีใต้ ที่ 34 ฮ่องกงที่ 39 สิงคโปร์ ที่ 140)
ความพยายามปิ ดกัน้ อินเทอร์เน็ตในต่างประเทศ
 ประเทศสิงคโปร์
 การจราจรทางอินเทอร์ เน็ตต้ องผ่าน server หลักของรัฐบาล ซึง่ ดูวา่ มี
เว็บไซต์ใดที่รัฐบาลเห็นว่าไม่เหมาะสม ก็จะปิ ดเว็บเหล่านัน้
 เหตุผลก็เป็ นเรื่ องความมัน
่ คงกับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 ประเทศจีน
 บริ ษัทที่จะทาธุรกิจในจีน ต้ องปฏิบต
ั ิตามกฎหมายของจีน โดยเฉพาะ
เรื่ องข้ อมูลที่ไม่พงึ ประสงค์
 กรณีบริ ษัท Google ของสหรัฐฯ
ความพยายามในการปิ ดกัน้ เสรีภาพอินเทอร์เน็ตในไทย
 ในอดีตไม่นานมานี ้ ไม่คอ่ ยมีใครสนใจ เพราะอินเทอร์ เน็ตใช้ ในวง
แคบ
 แต่ปัจจุบนั เมื่ออินเทอร์ เน็ตใช้ กนั มากขึ ้น ความพยายามก็เริ่ มมีมาก
ขึ ้น
 www.thaicybercop.com
โครงการกาจัดสื่อลามก สานักนายกรัฐมนตรี
 ให้ ผ้ ใู ช้ อินเทอร์ เน็ต แจ้ งเว็บที่เห็นว่าไม่เหมาะสม

 ict.cyberclean.org
 บริ หารโดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
 ไม่มีการชี ้แจง หรื ออธิบายว่าเหตุใดจึงมีการปิ ดกัน้
ความพยายามในการปิ ดกัน้
 นอกจากนี ้ก็มีการดูแลเว็บบอร์ ด ซึง่ โดยทัว่ ไปจะเป็ นงาน
รับผิดชอบของเว็บมาสเตอร์
 นอกจากเว็บไซต์ก็มีช่องทางอื่นๆ เช่น usenet
(soc.culture.thai) แต่ปัญหาคือภาษาเป็ นภาษาอังกฤษ
และผู้ให้ บริ การส่วนมากไม่รับ usenet
 การติดต่อทาง email list (ดูจะปิ ดกันได้
้ ยากที่สดุ และมี
ประสิทธิภาพที่สดุ )
เว็บไซต์ที่ถกู ปิ ดกัน้
 เหตุผลทางความมัน่ คง
 www.manusaya.com
 www.pulo.org
 เหตุผลทาง “ศีลธรรมอันดี”
 www.playboy.com
 www.penthouse.com
 www.hustler.com
เหตุผล
 การเผยแพร่เว็บเช่น
www.pulo.org เป็ นการ
ส่งเสริมความรุนแรง และ”
ปลุกปั่ นยุยง” คนในชาติให้
แตกความสามัคคี
 อย่างไรก็ตาม การปิ ดกันการ
้
แสดงความคิดเห็นของผู้ที่ไม่
เห็นด้ วยกับตนเอง ทาให้
ประชาชนขาดโอกาสที่จะชัง่
น ้าหนัก และตัดสินใจได้ วา่
ความจริงเป็ นอย่างไร
เหตุผล
 เว็บโป๊ ไม่ควรจะเผยแพร่ออกไป
เพราะขัดต่อหลักศีลธรรม และทา
ให้ เกิดอาชญากรรมทางเพศ
 อย่างไรก็ตาม การตัดสินว่าเว็บใด
เข้ าข่าย “ลามกอนาจาร” หรื อเป็ น
“ศิลปะ” เป็ นเรื่ องยาก และไม่มี
กฎเกณฑ์ตายตัว นอกจากนี ้ยังไม่
มีการพิสจู น์ที่แน่ชดั ว่า เว็บโป๊ เป็ น
สาเหตุโดยตรงของอาชญากรรม
ทางเพศ ประเทศในยุโรปมีเว็บโป๊
มากมาย แต่อตั ราอาชญากรรม
ทางเพศน้ อยกว่า
ขอบเขตของเสรีภาพ
 แม้ วา่ อินเทอร์ เน็ตจะให้ เสรี ภาพมาก แต่ไม่ได้ หมายความว่า
ไม่ควรมีการกากับดูแลเลย หลักการของเสรี ภาพในการ
แสดงความคิดเห็นคือ สังคมประชาธิปไตย พลเมือง
จาเป็ นต้ องรู้ข้อมูลและเหตุผลรอบด้ าน เพื่อประโยชน์ในการ
ตัดสินใจ
 ดังนัน้ เราจึงต้ องให้ มีการแสดงความคิดเห็นของทังฝ่
้ ายที่
เห็นด้ วยกับเรา และไม่เห็นด้ วยกับเรา เราไม่อาจใช้ ตวั เรา
เป็ นมาตรฐานวัดว่า เว็บใดควรถูกปิ ด เว็บใดไม่ควร
ขอบเขตของเสรีภาพ
 อย่างไรก็ตาม การแสดงความคิดเห็นจะกระทามิได้ หาก
เนื ้อหาความคิดเห็นนัน้ เป็ นปฏิปักษ์ ตอ่ หลักการที่ยืนยัน
เสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็นนันเอง
้
 ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ที่เสนอความคิดเห็นที่ผิดหลักการของ
ประชาธิปไตย และการปกครองด้ วยกฎหมายอย่างสิ ้นเชิง
เช่น เว็บของลัทธินาซี การสนับสนุนการก่อการร้ าย แต่
ทางการต้ องระวังมาก และมีหลักการที่แน่ชดั ในการปิ ดกัน้
เสรี ภาพนี ้
แล้วเราควรทาอย่างไร?
 ปั ญหาในประเทศไทยคือ หลายคนมักจะตัดสินใจแบบ “หัว
เข่ากระเด้ ง” (knee-jerk reaction) คืออาศัยความรู้สกึ
ชัว่ ขณะ มากกว่าการคิดไตร่ตรองอย่างละเอียดและ
รอบคอบ
 ที่แย่ไปกว่านันคื
้ อความพยายามในการใช้ อานาจในการ
ดูแลอินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื่ องมือทางการเมือง – การสัง่ ปิ ด
เว็บไซต์ ฯลฯ การแก้ ปัญหานี ้ต้ องอาศัยกระบวนการทาง
การเมือง