การประเมินผลทางสถิติของอุบัติเหตุ

Download Report

Transcript การประเมินผลทางสถิติของอุบัติเหตุ

5.การประเมินผลโครงการความปลอดภัย
ทาไม!! ต้ องประเมินผลโครงการความปลอดภัย
• ในการทางานด้านความปลอดภัย จาเป็ นที่จะต้องมีการประเมินผลของอุบตั ิ เหตุ
เพื่อให้ฝ่ายบริหารมองเห็นภาพได้ชดั เจนและตัดสินใจให้มีการปฏิบตั ิ ได้ง่ายขน้
– ประเมินในเชิงมูลค่าของเงิน
– ประเมินในเชิงสถิติ
• การประเมินความสูญเสียเนื่ องจากอุบตั ิ เหตุ จาเป็ นต้องประเมินเป็ นมูลค่าของ
เงิน เพื่อแสดงถงค่าใช้จ่ายที่จะประหยัดได้จากโครงการด้านความปลอดภัย และ
สามารถเปรียบเทียบกับเงินที่ต้องใช้ไปในการดาเนินโครงการได้
การประเมินผลของอุบตั ิ เหตุ
• ในการคานวณค่าใช้จ่าย จะแยกอุบตั ิ เหตุเป็ น 2 ประเภท
– เหตุการณ์ ที่เกิดแล้วทาให้มีผบ้ ู าดเจ็บ
– เหตุการณ์ ที่ทาให้ทรัพย์สินเสียหายเท่านัน้
– ค่าใช้จ่ายโดยตรง
• ค่าขนย้ายผูบ้ าดเจ็บ
• ค่ารักษาพยาบาล
• ค่าซ่อมแซมเครือ่ งจักร
– ค่าใช้จ่ายโดยอ้อม
• ค่าแรงทีต่ อ้ งจ่ายให้
ผูบ้ าดเจ็บขณะพักงาน
• ค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้
เนื่องจากผลิตไม่ทนั
• ค่าแรงคนงานทีห่ ยุดงาน
มามุงดู
การประเมินผลของอุบตั ิ เหตุ
• ตัวอย่างรายการค่าใช้จ่ายที่ควรประเมิน
– ค่าจ้างทีต่ อ้ งจ่ายให้พนักงานทีบ่ าดเจ็บ
แม้ไม่ได้ทางาน
– ค่ารักษาพยาบาล
– ค่าซ่อมแซมเครือ่ งจักรทีเ่ สียหาย
– ค่าจ้างทีต่ อ้ งจ่ายให้พนักงานทีไ่ ม่ได้รบั
บาดเจ็บแต่ไม่ได้ทางาน
– ค่าล่วงเวลาเพือ่ ทางานให้ครบ ชดเชย
กับการทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุ
– ค่าจ้างพนักงานผูบ้ าดเจ็บทีก่ ลับมา
ทางานได้ไม่เต็มความสามารถ
– ค่าใช้จา่ ยในการฝึกพนักงานใหม่
– ค่าใช้จา่ ยของหัวหน้างานในการ
ตรวจสอบอุบตั เิ หตุ
– ค่าใช้จา่ ยทีผ่ บู้ ริหารต้องใช้เวลาไปใน
การตรวจสอบอุบตั เิ หตุ
– ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ เช่น ค่าเช่าเครื่องจักร
ทางานทดแทน กาไรทีล่ ดลง
• ตัวอย่างแบบฟอร์มประเมินค่าใช้จ่ายที่เกิดขน้ จากอุบตั ิ เหตุ
คำตอบข้ อเสนอแนะโครงกำรป้องกันอุบัตเิ หตุ
5 ข้ อ
เงิน
ที่ได้ รับเหมำะสมจำกกำรที่ไม่ มีอุบัตเิ หตุเกิดขึน้
เงิน
ที่ประหยัดได้ ปรำศจำกกำรสูญเสียกำรเกิดอัคคีภยั หรื อหรื อเครื่ องจักรชำรุ ด
เงิน
ที่ประหยัดได้ จำกกองทุนทดแทน
เงิน
ที่ประหยัดได้ จำกค่ ำใช้ จ่ำยที่เกิดขึน้ จำกกำรทำงำนซำ้ สอง สำม ครัง้
เงิน
ที่ประหยัดได้ ไม่ ต้องจัดหำผู้ชำนำญกำรมำทำงำนแทน
กำรประเมินงบประมำณ
เพื่อใช้ จ่ำยในโครงกำรป้องกันอุบัตเิ หตุ
ระดับภัยเสี่ ย
ภัยเสี่ ยงสู ง
R
R’
P
ภัยเสี่ ยงต่า
P’
ความพยายามป้ องกันอุบตั ิภยั
การประเมินงบประมาณ
เพือ่ ใช้ จ่ายในโครงการป้องกันอุบตั ิเหตุ
เสี่ ยงสูง
เสี่ ยงน้อย
T=P+A
P’+A’
ค่าใช้จ่าย
Econ.opt
ค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม
P+A
ค่าใช้จ่ายในการป้ องกัน P
ค่าความสูญเสี ย A
การลดภัยเสี่ ยง
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายกับการลดภัยเสี่ ยง
ค่ ำใช้ จ่ำยในกำรป้องกันอุบัตเิ หตุ แบ่ งเป็ น 3 ประเภท
ค่ ำใช้ จ่ำยในกำรออกแบบ
เครื่องมือ อุปกรณ์ การ์ ด ติดตั้ง วัสดุเพิม่ การวางผังโรงงาน ฯลฯ
ค่ ำใช้ จ่ำยในกำรปฏิบัตกิ ำร
ค่ าโสหุ้ย ค่ าจ้ าง เงินเดือน แผนปฐมพยาบาล ค่ าความชานาญ
ค่ ำใช้ จ่ำยในกำรวำงแผนและทดสอบ
ทดสอบการรั่วไหล ทดสอบความแข็งแรง ทดสอบการหนีไฟ ฯลฯ
การประเมินประสิทธิภาพความปลอดภัย

วัตถุประสงค์ของการประเมินประสิทธิภาพความปลอดภัย

เพือ่ เปรียบเทียบความร้ายแรงของอุบตั ิเหตุ
 เพือ
่ ทราบปั ญหาของอุบตั ิเหตุ
 เพือ
่ บ่งบอกความสาเร็จ หรือล้มเหลว หรือความใส่ใจ ของผูบ้ ริหาร
วัตถุประสงค์การประเมินค่าทางสถิติการบาดเจ็บในการทางาน
1.1 เพื่อประเมินการบาดเจ็บที่เกิดขึ ้นในแต่ละแผนก แต่ละฝ่ ายหรื อแต่ละหน่วยงาน หรื อโรงงาน
หากแผนก ฝ่ าย หรื อหน่วยใดมีอตั ราการบาดเจ็บสูงกว่าปกติ ก็เป็ นหน้ าที่ฝ่ายบริ หารหรื อฝ่ ายความ
ปลอดภัยจะต้ องหาทางพิจารณาป้องกัน
1.2 เพื่อเปรี ยบเทียบข้ อมูลระหว่างหน่วยงานต่อหน่วยงาน โรงงานต่อโรงงานหรื อบริ ษัทต่อบริ ษัท
1.3 เพื่อประเมินผลการบาดเจ็บที่เกิดขึ ้นในช่วงต่าง ๆ เช่น ในแต่ละเดือนหรื อแต่ละปี
1.4 เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลขันพื
้ ้นฐาน ในการวางแผนโครงการป้องกันอุบตั ิเหตุในโรงงานหรื อใช้ ในการ
แข่งขันการประกวดความปลอดภัย ในโครงการป้องกันอุบตั ิเหตุต่าง ๆ
เครื่องมือทีช่ ่ วยในการประเมินผล
การคานวณอัตราการเกิดอุบตั ิเหตุ
-อัตราความถี่ของอุบตั ิเหตุ(Frequency Rate)
-อัตราความร้ ายแรงของอุบตั ิเหตุ(Severity Rate)
-ดรรชนีการประสบอันตราย (Disable Injury Index )
ดัชนี ที่ใช้วดั ประสิทธิภาพความปลอดภัย
อัตราความถีข่ องอุบตั เิ หตุ (Frequency Rate, FR)
FR
=
No. of Accident x 1,000,000
working time in man-hour
อุบตั เิ หตุเดขึน้ บ่อยครัง้ มาก น้อย เพียงใด ในระยะเวลาหนึ่ง (ในกรณีน้กี าหนดเป็ นต่อการทางาน 1 ล้านคน-ชัวโมง
่ )
อัตราความรุนแรงของอุบตั เิ หตุ (Severity Ratio, SR)
SR =
DL x 1,000,000
working time in man-hour
DL = Days of Lost Time หรือ จานวนวันทีเ่ ครือ่ งจักรหยุดงาน รวมกับวันที่
ผูบ้ าดเจ็บต้องหยุดงานเนื่องจากอุบตั เิ หตุ
ที่มาของ 1ล้านชัว่ โมงมาจากแนวคิด คน 500คน ทางานเวลา 1 ปี (1ปี มี 52 สัปดาห์ๆละ5วันมีวนั หยุดปี ละ 10 วันโดยเฉลี่ย
= 250 วัน ทางานวันละ 8 ชม.) ฉะนั้น MH = 500*250*8 = 1,000,000 MH
ดัชนี ที่ใช้วดั ประสิทธิภาพความปลอดภัย
วันสูญเสียเฉลีย่ ต่ออุบตั เิ หตุ (Average Days Charged Per Accident,
ADC)
ADC =
SR
FR
ประเมินความรุนแรงโดยเฉลีย่ ในรอบปี ในรูปของจานวนวันทางานทีส่ ญ
ู เสียไป
ดัชนีการประสบอันตราย (Disabling Injury Index, DI)
DI
=
SR x FR
1,000
และหากนามาDI
จะชีใ้ ห้เห็นว่า การปฏิบตั งิ านมีระดับความปลอดภัยทีม่ ปี ระสิทธิภาพมาก
น้อยเพียงใด
อัตรำควำมถี่ของอุบัตเิ หตุ (Frequency Rate)
• อัตรำควำมถี่ของอุบัตเิ หตุ = จำนวนครั ง้ ของอุบัตเิ หตุ X 1,000,000
จำนวนชั่วโมงทำงำนของคนงำน
อัตราความถี่ของอุบตั ิเหตุ ( F) = (จานวนครัง้ ของอบุติเหตุที่มีการบาดเจ็บ x 1,000,000) / จานวนชัว่ โมงของคนงานจริง
เช่น ในโรงงานมีคนงาน 500 คน แต่ละ่ คนทางานปี ล่ะ 50 สัปดาห์ สัปดาห์ละ่ 48 ชัว่ โมง ปรากฏว่าทั ้งปี เกิดอุบตั ิเหตุขึ ้น
60 ครัง้ และมีการขาดงานพนักงานทั ้งสิ ้นประมาณ 5% เนื่องจากการเจ็บป่ วย ธุรรส่วนตัวและการการประสบอันตราย
ภายนอกโรงงานอื่น ๆ
อัตราความถี่ของการการอุบตั ิเหตุ
ชัว่ โมงงานทังหมด
้
500 * 50 *48 = 1200000 ชม
มีการขาดงาน 5% จานวน m.hrจริ ง=0.05x1,200,000= 60000 ชม
ชัว่ โมงที่ทางานจริ ง 1200000 - 60000 = 1140000 ชม
อัตรการเกิดอุบตั ิเหตุ ( 60 ครัง้ * 1000000 ) / 11400000
เกิดขึ้นบ่อยครั้งมากน้อัอตยเพี
ยงใด่ของการเกิดอุบตั ิเหตุ 52.63 ครัง้
ราความถี
ดรรชนีกำรประสบอันตรำย(Disableing Injury Index)
ดรรชนีกำรประสบอุบัตเิ หตุ
= อัตรำควำมถี่ของกำรเกิดอุบัตเิ หตุ X อัตรำควำมร้ ำยแรงของอุบัตเิ หต
1,000
การปฏิบตั ิงานที่มีระดับความปลอดภัย ที่มีประสิ ทธิภาพเพียงใด
ตัวอย่ างการคานวณ
โรงงำนแห่ งหนึ่งมีคนงำน 500 คน ทำงำนปี ละ 50 สัปดำห์ และสัปดำห์ ละ 48
ชั่วโมง และมีกำรขำดงำนของคนงำนทัง้ สิน้ 5% เนื่องจำกควำมเจ็บป่ วย และธุรกิจ
ส่ วนตัวในเวลำ 1 ปี มีอุบัตเิ หตุเกิดขึน้ 60 ครั ง้ จะมี FR เท่ ำใด
FR =
60 x 1,000,000
(500 x 50 x 48 x 0.95)
= 52.63
ดังนั้น จะได้ อตั ราความถี่ของการเกิดอุบัตเิ หตุ
เป็ น 52.63 ครั้ง / หนึ่งล้านชั่วโมงคนงาน
ตัวอย่ างการคานวณต่ อ
จำกตัวอย่ ำงเดิม หำกสำรวจพบว่ ำในจำนวนอุบัตเิ หตุ 60 ครั ง้ ในปี นัน้ คิดเป็ น
เวลำสูญเสียทัง้ สิน้ 1,720 วัน จะคิดเป็ น SR เท่ ำใด
SR =
1,720 x 1,000,000
(500 x 50 x 48 x 0.95)
= 1,508 วัน / หนึ่งล้านชั่วโมงคนงาน
***หมำยควำมว่ ำ ในปี นัน้ ระดับควำมร้ ำยแรงของอุบัตเิ หตุอยู่ท่ ี กำรเสียเวลำ
กำรทำงำน ประมำณ 1.5 วัน ต่ อ 1,000 ชั่วโมงทำงำนของคนงำน
หมำยเหตุ: หำกมีกำรสูญเสียชีวติ หรื ออวัยวะ จะมีกำรคำนวณแบบ
สูญเสียเทียบเท่ ำ
จานวนวันสู ญเสี ยเทียบเท่ า
Source: The American Standard Scale of Time Charged
เสี ยชีวติ
พิการไร้ ความสามารถตลอดชีวติ
6,000 วัน
6,000 วัน
สู ญเสี ยการทางานของ แขนจากข้ อมือถึงข้ อศอก
3,600 วัน
สู ญเสี ยการทางานของ ข้ อเท้ าถึงหัวเข่ า
3,000 วัน
สู ญเสี ยการทางานของ ข้ อเท้ า
2,400 วัน
สู ญเสี ยการทางานของ ทั้งหัวแม่ เท้ าถึงกระดูกฝ่ าเท้ า
600 วัน
สู ญเสี ยการทางานของ ทั้งนิว้ หัวแม่ มอื
600 วัน
สู ญเสี ยการทางานของ ทั้งนิว้ ชี้
400 วัน
สู ญเสี ยการมองของตา 2 ข้ าง
ตาบอดข้ างเดียว
6,000 วัน
1800 วัน
600 วัน
สู ญเสี ยการฟังของหู 1 ข้ าง
หู 2 ข้ าง
3000 วัน
จานวนวันสู ญเสี ยเทียบเท่ า
Source: The American Standard Scale of Time Charged
จานวนวันสู ญเสี ยเทียบเท่ า
Source: The American Standard Scale of Time Charged
ตัวอย่ างการคานวณแบบสู ญเสี ยเทียบเท่ า
นำย ก. นำย ข. นำย ค. ประสบอุบัตเิ หตุ มีผลดังนี ้
นำย ก. แพทย์ ให้ หยุดทำงำนติดต่ อกันได้ 30 วัน
นำย ข. นิว้ ชีถ้ ูกกระแทกแต่ ไม่ ต้องตัดออก แต่ รักษำตัว 8 วัน เมื่อรั กษำหำ
แพทย์ เห็นว่ ำจะเสียสมรรถภำพกำรทำงำนไป 20%
นำย ค. แขนขำดหนึ่งข้ ำง เท้ ำขำดหนึ่งข้ ำง รักษำตัว 30 วัน แล้ วเสียชีวิต
เพื่อคำนวณหำ SR จำนวนวันสูญเสียรวมทัง้ 3 คน เป็ นเท่ ำไหร่ ???
ก + ข + ค = 30 + (400 x 0.20) + 6,000 = 6,110 วัน
ตัวอย่าง – โรงงานแห่งหนึ่งมีพนักงานจานวน 500 คน โดยเฉลีย่ แล้วแต่ละคนทางานปีละ 50 สัปดาห์ สัปดาห์ละ
48 ชัวโมง
่ ตลอดปีมอี ุบตั เิ หตุเกิดขึน้ 61 ครัง้ โดย 1 ครัง้ ทาให้มผี เู้ สียชีวติ 1 คน อีก 60 ครัง้ ทาให้ตอ้ งหยุดงานรวม
ทัง้ หมด 1,200 วัน การขาดงานเนื่องจากการลาปว่ ยและลากิจคิดเป็ นประมาณ 5% ของเวลาทัง้ หมด จงคานวณหาค่า
FR, SR, ADC และ DI
หาชัว่ โมง-คน จริ งก่อน
จานวน ชม.-คน ทัง้ หมด
จานวน ชม.-คน ทีเ่ สียไปจากการลา
จานวน ชม.-คน จริง
=
=
=
=
=
500 x 50 x 48
1,200,000 ชม.-คน
1,200,000 x 5%
60,000
ชม.-คน
1,140,000 ชม.-คน
337.96= 18.38
ตัวอย่างที่ 2 โรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง มีพนักงานทางานจานวน 80 คน ทางานสัปดาห์ละ 40 ชัว่ โมง ถ้าภายใน
รอบ 6 เดือนที่ผา่ นมามีผปู้ ระสบอุบตั ิเหตุ 4 ราย ทาให้มีการสูญเสี ยเวลาการทางาน 130 วัน จงคานวณ FR
SR และ ADC
=8.66
สมมติวา่ อุบตั ิเหตุ 1 ราย ในจานวน 4 รายนั้น เป็ นอุบตั ิเหตุให้นิ้วหัวแม่มือขาดตั้งแต่โคนนิ้ว เมื่อตรวจสอบวันทางาน
สุญเสี ยเทียบเท่าในตารางแล้วพบว่าเป็ น 900 วัน อุบตั ิเหตุจานวนที่เหลือ 3 ครั้ง สมมติให้มีการสูญเสี ยวันทางาน
100 วัน
ดังนั้น ค่า FR ยังมีค่าคงเดิมเพราะคานวณจากจานวนครั้งของอุบตั ิเหตุ
เราคานวณหาค่า DL = 900+100 = 1000
ตัวอย่าง
จากสถิติปี ๒๕๒๔ บริ ษทั เหมืองแร่ แห่งหนึ่งมีคนงานร้อยคน ทางานอาทิตย์ละ ๔๐ ซม. นับตั้งแต่
ต้นเดือนมกราคมถึงสิ้ นสุ ดเดือนมิถุนายน รวม ๖ เดือนน มีคนงานบาดเจ็บ ๑๐ คน และสู ญเสี ย
เวลาการทางานไป ๑๑๕ วัน ( ๑ ปี มา ๕๒ สัปดาห์) จงคานวณอัตราความถี่ของการบาดเจ็บ และ
อัตราความสาหัสของการบาดเจ็บ
= 10X 1,000,000 = 96.15
อัตราความถี่ของการได้รับบาดเจ็บ
100 X 40 X 26
อัตราความสาหัสการบาดเจ็บ
= 115 X 1,000,000 = 1,105.77
100 X40 X 26
ถ้าหากคนงานที่บาดเจ็บหนึ่งคน (ในจานวน ๑๐ คน) นี้ ซึ่ งสู ญเสี ยเวลาการทางาน
ไป ๑๕วัน สมมติวา่ คนงานคนนี้ถกู ตัดนิ้วมือไป ๓ นิ้ว (ข้างเดียว) ถามว่าบริ ษทั นี้
จะมีอตั ราความสาหัส การบาดเจ็บ เท่ากับเท่าไร
คนงาน ๙ คน ได้ รับบาดเจ็บสูญเสียเวลาไป ๑๑๕ - ๑๕
คนถูกตัดนิ ้ว ๓ นิ ้ว เสียเวลาไป (จากตาราง)
รวม
=
๑,๒๐๐ + ๑๐๐
อัตราความสาหัสของการบาดเจ็บ
=
= ๑๐๐ วัน
= ๑,๒๐๐ วัน
= ๑,๓๐๐ วัน
๑,๓๐๐X ๑,๐๐๐,๐๐๐
๑๐๐ X ๔๐X ๒๖
= ๑๒,๕๐๐
กรณี งานได้รับบาดเจ็บสู ญเสี ยอวัยวะในส่ วนใดส่ วนหนึ่ ง พิการ ทุพลภาพหรื อถึง
แก่กรรม ให้คิดเฉพาะค่าเวลาที่เสี ยไปตามมาตรฐาน ไม่รวมเวลาที่คนงานหยุดจริ ง
ๆ (๑๕ วัน) ตามตัวอย่าง
ในปี ๒๕๒๔ บริ ษัทเหมืองแร่เรื อขุดเฮงซวย มีเรื อขุด ๒ ลา คือ เรื อขุด A และเรื อขุด Bเรื อ
ขุด A มีคนงาน ๑๒๐ คน ทางาน ๔๐ ซม. ต่อสัปดาห์ ปรากฎว่าในรอบ ๖ เดือน ที่ผ่านมา
มีคนบาดเจ็บ๕ ราย เรื อขุด B มีคนงาน ๑๔๐ คน ทางาน ๔๐ ซม.ต่อสัปดาห์ เช่นกัน ใน
รอบ ๑๒ เดือน มีคนบาดเจ็บ ๖ คน จงเปรี ยบเทียบอัตราความถี่ของการบาดเจ็บของทัง้ ๒ ลาเรื อ
อัตราความถี่การบาดเจ็บเรื อขุด A = 5 X 1,000,000
120 X 40X 26
= 40.0641
อัตราความถี่การบาดเจ็บเรื อขุด B = 6 X 1,000,000
140 X 40X 52
= 20.6043
พบว่าความถี่ของการบาดเจ็บเรื อขุด A สูงกว่าเรื อขุด B มาก (อาจเป็ นเพราะระบบการ
ควบคุมความปลอดภัยมีประสิทธิภาพไม่เหมือนกันหรื ออื่น ๆ)
ความครบถ้วนของรายงานด้านความปลอดภัย
• ในเบือ้ งต้ น ตามระยะเวลากาหนดหนึ่งๆ บริษัทฯ ควรจะมีการสรุ ป
– อัตราการเกิดอุบัตเิ หตุ
– ระดับความรุ นแรงของอุบัตเิ หตุ
– สาเหตุ และแนวทางการแก้ ไข ของแต่ ละอุบัตเิ หตุทปี่ ระสบ
•ในแนวทางทีด่ ขี นึ้
- การกาหนดตัววัดกิจกรรมทีก่ ระทา หรือเกิดขึน้ ระหว่ างการดาเนิน
กิจกรรมด้ านความปลอดภัย เช่ น
* ปริมาณข้ อมูลทีใ่ ห้ กบั พนักงานใหม่
*จานวนข้ อแนะนาด้ านความปลอดภัยที่พนักงานแนะนามา
สูตรที่ใช้
Safe-T-Score(STS) =
อัตราความถี่ของการบาดเจ็บปจจุบัน,−อัตราความถี่ของการบาดเจ็บในอดีต
อัตราความถี่ของการบาดเจ็บในอดีต/ จานวนชั่ว มงการทางานลูกจ้างทั้งหมดปจจุบัน ต่อ 𝑚ℎ𝑟.คนงาน
ตัวอย่ำงที่ 5.9 เหมืองแร่บริษัทเรือขุดภูเก็ต มีเรือสองลาคือ เรือขุดสิเหร่ เปนเรือเล็ก เรือขุดถลาง เปน
เรือให ่ มีคนงานมากกว่า
ข้ อมูล
เรือขุดสิเหร่
เรือขุดถลำง
ปี 2524 - เกิดอุบตั ิเหตุ
10 ราย
1,020 ราย
ปี 2525 - จานวนชัว่ โมงการทางานลูกจ้ าง
- อัตราความถี่การเกิดอุบตั ิเหตุ
10,000
1,000
1,000,000
1,000
ปี 2525 - เกิดอุบตั ิเหตุ
- จานวนชัว่ โมงการทางานลูกจ้ าง
- อัตราความถี่การเกิดอุบตั ิเหตุ
SAFE-T-SCORE
10 ราย
10,000
1,500
+1.58
1,100 ราย
1,000,000
1,100
+3.17
จากตารางแปรผลได้วา่ เรือขุดสิเหร่ การเกิดอุบตั เิ หตุในปี 2524 กับปี 2525 ไม่แตกต่างกัน เพราะ
ค่า Safe - T - Score 1.58 อยูใ่ นช่วง -2.00 กับ + 2.00 ส่วนเรือถลาง การเกิดอุบตั เิ หตุ
สูงขึน้ อาจมีสงิ่ ผิดปกติจากปีกอ่ นแน่นอน เพราะค่า Saf e - T - Score 3.17 สูง
กว่า +2.00 สรุปว่าเรือขุดสิเหร่ควบคุมความปลอดภัยได้ดกี ว่าเรือขุดถลางในปีทผ่ี า่ นมา
ข้อเสียของการประเมินค่าของการเกิดอุบตั ิ เหตุโดยใช้หลักสถิติ
1.
ไม่เหมาะสมกับการนามาใช้ในระดับปฏิบตั งิ าน เพราะ
1.1 เป็ นการยากในการทาความเข้าใจ
1.2 เป็ นการยากและเสียเวลาในการเก็บบันทึกข้อมูล
1.3 ล่าช้าต้องรอให้มตี วั เลขคือต้องให้มกี รณีอุบตั เิ หตุกอ่ น
2. ความผิดพลาดข้อมูลเกิดขึน้ ได้งา่ ย เช่น
2.1 การใช้และแปรผลผลิตของผูใ้ ช้
2.2 ใช้ไม่เหมาะกับงานบางอย่าง เช่น งานเหมืองแร่ คนงานมีน้อยไม่เหมือน โรงงาน
อุตสาหกรรม จานวนความถีข่ องการเกิดอุบตั เิ หตุต่ามากหรือแทบวัดไม่ได้ แต่การ เกิดอุบตั ิ เหตุแต่ละครัง้
มักจะมีความสาหัสสูง
การบ้าน
• ถ้ าในรอบปี ที่ผ่านมามีคนงานทังหมด
้
2 กะ ทางานกะละ 8 ชม. กะแรก จานวน 40 คน กะที่ 2
จานวน 30 คน ทางานทังปี
้ เป็ นเวลา 250 วัน และเกิดอุบตั ิเหตุ 4 ครัง้ มีผ้ ไู ด้ รับบาดเจ็บดังนี ้ครัง้
ที่ 1 บาดเจ็บ 2 คน ดยที่ คนแรกกระดูกแตกปลายนิ ้วชี ้ คนที่ 2 แตกปลายนิ ้วกลางครัง้ ที่ 2
บาดเจ็บ 1 คน ดยพิการไร้ ความสามารถตลอดชีวิตครัง้ ที่ 3 บาดเจ็บ 3 คน ดยที่ทงั ้ 3 สูญเสีย
การได้ ยินไป 1 ข้ างเหมือนกันครัง้ ที่ 4 บาดเจ็บ 1 คน ดยตาบอดหนึง่ ข้ าง
• จงคานวณหาความถี่และความรุนแรงของอุบตั ิเหตุที่เกิดขึ ้น ( FR, SR, ADC, DI )
• 50 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 40*2=80 ชัว่ มง ทางานทังปี
้ 250 วัน คงงานทังหมด
้
30+40=70 คน
เกิดเหตุ 4 ครัง้ (250 วัน 50 สป@ละ 40 hr. ( สป.ละ 5 วัน@ละ 8 hr.)
•
ครัง้ ที่ 1 บาดเจ็บ 2 คน กระดูกแตก ปลายนิ ้วชี ้ (100) แตกปลายนิ ้วกลาง(75)
•
ครัง้ ที่ 2 บาดเจ็บ 1 คน พิการไร้ ความสามารถตลอดชีวิต(6000)
•
ครัง้ ที่ 3 บาดเจ็บ 3 คน สูญเยการได้ ยินไป 1 ข้ าง(800 )
•
ครัง้ ที่ 4 บาดเจ็บ 1 คน ตาบอด 1 ข้ าง(1800)
คานเวลาการสูญเสียถ้ าให้ มา เช่น 5% ก็มีวิธี หา 2 วิธี
ถ้ าเรา x 0.95 จาก 100% ก็จะได้ ค่าชัว่ มงการทางานจริงเลย ไม่ต้องไปลบออก
ถ้ า เราX 0.05 จาก 100 % ได้ เท่าไหร่แล้ วจะต้ องเอาไปลบออกจาก ชัว่ มงทางานทั ้งหมดก่อนถึงจะได้ ชัว่ การทางานจริง
•
ตัวอย่างที่ 1 จากสถิติ 2525 บริ ษทั แห่งหนึ่งมีคนงาน 100 คน ทางานอาทิตย์ละ 40 ชัว่ โมง นับตั้งแต่เดือนมกราคมถึง
สิ้นสุดเดือนมิถุนายน รวม 6 เดือน มีคนงานบาดเจ็บ 10 คน และสูญเสี ยเวลาทางานไป 115 วัน (1 ปี มี 52 สัปดาห์)
จงคานวณหาอัตราความถี่ของการบาดเจ็บและอัตราความสาหัสของการบาดเจ็บ
วิธีทา อัตราความถี่ของการบาดเจ็บ (I.F.R.) = N/MH X 1,000,000
= (10 X 1,000,000) / (100 X 40 X 26) = 9
อัตราความรุ นแรงของการบาดเจ็บ (I.S.R) = DL / MH X 1,000,000
= (115 X 1,000,000) / (100 X 40 X 26) = 1,105
จากการคานวณพบว่าบริ ษทั แห่งนี้มีผไู้ ด้รับบาดเจ็บประมาณ 96 รายต่อชัว่ โมง การทางาน 1 ล้านชัว่ โมง และมี
วันหยุดงานหรื อวันที่สูญเสี ยไป 1,105 วันต่อชัว่ โมงการทางาน 1 ล้านชัว่ โมง