มาตรฐานของตัวอักษร

Download Report

Transcript มาตรฐานของตัวอักษร

บทที่ 5
ตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษร
Text
เรื่ องทัว่ ไปเกีย่ วกับตัวอักษรและชุดตัวอักษร
เรื่ องทัว่ ไปเกีย่ วกับตัวอักษรและชุดตัวอักษร
ข้ อความทีน่ ามาประยุกต์ ใช้ ในรูปแบบสื่ อสิ่ งพิมพ์
3
เรื่ องทัว่ ไปเกีย่ วกับตัวอักษรและชุดตัวอักษร
ข้ อความทีน่ ามาประยุกต์ ใช้ ในรูปแบบข้ อความสาหรับติดต่ อสื่ อสาร
4
เรื่ องทัว่ ไปเกีย่ วกับตัวอักษรและชุดตัวอักษร
จนกระทั่ง ได้ มีการเริ่มนาตัวอักษรมาใช้ และเผยแพร่ ผ่าน
ช่ องทางการสื่ อสารบนระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตในรู ปแบบ
ภาษา Html (Hypertext Markup Language) ซึ่งปัจจุบันกาลัง
ได้ รับความนิยมใช้ งานกันอย่ างแพร่ หลาย
5
เรื่ องทัว่ ไปเกีย่ วกับตัวอักษรและชุดตัวอักษร
ภาพแสดงโครงสร้ างภายในและรูปแบบทางกายภาพของเอกสาร HTML
6
ภาพแสดงกลไกการทางานของภาษา HTML ทีเ่ ป็ นรูปแบบมาตรฐาน
7
ข้ อความภาษาเอชทีเอ็มแอลในโปรแกรม Notepad
8
มาตรฐานของตัวอักษร
 มาตรฐานตัวอักษรแบ่ งออกเป็ น 3 ประเภท คือ
1. Unformatted Text
2. Formatted Text
3. Hypertext
9
มาตรฐานของตัวอักษร
Unformatted Text หรือ Plaintext คือ ตัวอักษรทัว่ ไปที่จัดอยู่ใน
รู ปแบบต่ างๆ โดยจะแบ่ งเป็ น
 แอสกี (ASCII : American Standard Code for Information
Interchange )
 ยูนิโค้ ด (Unicode)
10
มาตรฐานของตัวอักษร
11

พืน้ ฐานของกลุ่มตัวอักษรเหล่านีจ้ ะอยู่ในรูปแบบตารางตัวอักษร
ประกอบด้ วยรหัส 7 บิต รองรับได้ 128 รหัส ซึ่งแต่ ละบิตจะแทนด้ วย
เลข "0" และ "1"

ซึ่งต่ อมาได้ มีการพัฒนาการใช้ งานรหัสแบบ 8 บิตนี้ โดยแบ่ งเป็ น 2 กลุ่ม
กลุ่มแรก (0-127) ยังคงเป็ นรหัสแอสกีแบบเดิม กลุ่มทีส่ อง (128-256)
มาตรฐานของตัวอักษร
ตัวอย่ างตารางรหัสแอสกี (ASCII)
มาตรฐานของตัวอักษร
 ยูนิโค้ ด (UNICODE) คือ มาตรฐานการเข้ ารหัสแบบสากล สามารถเข้ า
รหัสตัวอักษรได้ หลายภาษา แก้ปัญหาที่เกิดขึน้ กับรหัสแบบแรก โดยการ
กาหนดให้ หนึ่งตัวอักษรมีขนาด 16 บิตแทน 8 บิตตามแบบเก่าจึงสามารถ
ใช้ แทนตัวอักษรได้ มากถึง 65,536 แบบ
 มาตรฐานยูนิโค้ ดสามารถแปลงตัวอักษรเพือ่ จับคู่(Mapping) ระหว่ าง
ตัวอักษรและยูนิโค้ ดให้ ตรงกัน ประกอบด้ วยข้ อมูลจานวน 2 ไบต์ โดยไบต์
แรกแทนด้ วยรูปแบบภาษา ไบต์ ถัดไปแทนด้ วยตัวอักษรจริง
 ตัวอักษร 128 ตัวแรกจะเหมือนกันกับตัวอักษรในรหัสแอสกีรุ่นเก่า
ตัวอย่ างภาษาทีร่ องรับมาตรฐานยูนิโค้ด เช่ น ลาติน อาราบิก ไทย ญีป่ ุ่ น
เกาหลี รัสเซีย ฮิบรู กรีก สั นสกฤต และอืน่ ๆ รวมทั้งสั ญลักษณ์ ทาง
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สั ญลักษณ์ พเิ ศษอีกมากมาย
มาตรฐานของตัวอักษร
14
แสดงยูนิโค้ ด (Unicode) ของตัวอักษรภาษาไทย
15
แสดงยูนิโค้ ด (Unicode) ของตัวอักษรภาษาไทย
มาตรฐานของตัวอักษร
Basic Latin
CJK
Arabic
มาตรฐานของตัวอักษร
Formatted Text คือ ตัวอักษรทีแ่ ยกออกจากตัวอักขระ และตัว
คอนโทรลอืน่ ๆ ใช้ สาหรับเปลีย่ นรู ปแบบของตัวอักษร เช่ น
ตัวหนา ตัวเอียง ขีดเส้ นใต้ ขนาดและสี เป็ นต้ น
17
รูปแบบและลักษณะของตัวอักษร
การกาหนดรู ปแบบตัวอักษร (Fonts) ทาได้ โดยการระบุชื่อ
ฟอนต์ ไฟล์ ฟอนต์ ส่วนใหญ่ จะอยู่ในรู ปแบบเวคเตอร์ (Vector)
โดยสามารถเปลีย่ นแปลงได้ โดยฟอนต์ ทอี่ ยู่บนแพลตฟอร์ มของ
วินโดว์ และแมคอินทอช เรียกว่ า “TrueType”
Times New Roman
Verdana
Arial
Century Gothic
Courier New
แสดงตัวอย่ างฟอนต์ รูปแบบทัว่ ไป
18
Angsana New
รูปแบบและลักษณะของตัวอักษร
ขนาดและสไตล์ ตัวอักษร (Font Size and Style)
• โดยปกติขนาดของฟอนต์ จะมีหน่ วยเป็ นพอยต์ (Point:pt) โดย 1 พอยต์
จะเท่ ากับ 1/72 นิว้ หรืออาจกาหนดเป็ นหน่ วยของพิกเซลได้ โดยทัว่ ไป
ขนาดมาตรฐานจะอยู่ในช่ วง 10-14 พอยต์
• รูปแบบของฟอนต์ จะมีหลายสไตล์ เช่ น ตัวหนา(Bold) ตัวเอียง(Italic)
ขีดเส้ นใต้ (Underline) เป็ นต้ น
ตัวอักษรธรรมดา ตัวอักษรหนา ตัวอักษรเอียง ตัวอักษรธรรมดาขีดเส้ นใต้
แสดงตัวอักษร Cordia New ลักษณะต่ างๆ
19
รูปแบบและลักษณะของตัวอักษร
ขนาด 12 จุด
ขนาด 14 จุด
ขนาด 16 จุด
ขนาด 66 จุด
ขนาด 72 จุด
ขนาด 60 จุด
ขนาด 18 จุด
ขนาด 20 จุด
ขนาด 54 จุด
ขนาด 24 จุด
ขนาด 28 จุด
ขนาด 32 จุด
ขนาด 48 จุด
ขนาด 44 จุด
ขนาด 36 จุด ขนาด 40 จุด
20
แสดงตัวอักษรขนาดต่ างๆ
การกาหนดโครงสร้ างของตัวอักษร
 การกาหนดระยะโครงสร้ างส่ วนต่ างๆ ของตัวอักษรภาษาอังกฤษ
แสดงโครงสร้ างของตัวอักษรภาษาอังกฤษ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Serif คือ เส้ นที่กาหนดส่ วนบนสุ ดของตัวอักษร
Mean Lineคือ เส้ นที่กาหนดความสู งของอักษรตัวพิมพ์ เล็ก
Base Lineคือ เส้ นที่กาหนดขอบล่างของตัวอักษร
Point Sizeคือ ช่ วงความสู งทั้งหมดที่ตวั อักษรต้ องใช้
Cap Heightคือ ความสู งของตัวอักษรตัวพิมพ์ ใหญ่
Shoulderคือ ช่ องว่างที่เผือ่ ไว้สาหรับเว้นบรรทัด
Set Widthคือ ความกว้างของตัวอักษร
X - Height คือ ความสู งของตัวอักษรพิมพ์เล็ก
Ascender คือ ส่ วนที่เลยเส้ น Mean Line ขึน้ ไปด้ านบน ใช้ กบั อักษรตัวพิมพ์ เล็ก
Descender คือ ส่ วนที่เลยเส้ น Baseline ลงมาด้ านล่าง ใช้ กบั อักษรตัวพิมพ์ เล็กเช่ นกัน
การเพิม่ ตัวอักษรด้ วยซอฟแวร์ OCR
 เป็ นวิธีการใส่ ตัวอักษรลงในเอกสารด้ วยการ
สแกนจากเอกสารที่เป็ นกระดาษ เช่ น
หนังสื อ แม็กกาซีน โดยจะถูกแปลงให้ อยู่ใน
รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยเครื่อง
สแกนเนอร์ ไฟล์ทไี่ ด้ จะเป็ นไฟล์รูปภาพซึ่ง
จะไม่ สามารถแก้ไขไฟล์ได้ แต่ สามารถใช้
ซอฟแวร์ ทเี่ รียกว่ า “Optical Character
Recognition (OCR)” เพือ่ แปลงรูปภาพให้
อยู่ในรูปแบบตัวอักษรได้
รูปแบบของไฟล์ (File Format ) ทีใ่ ช้ เก็บตัวอักษร
 Import Text (TXT) เป็ นข้ อมูลทีน่ าเข้ ามาจากโปรแกรม Text Editor เช่ น
Notepad เป็ นต้ น
 Doc (Document)
 RTF (Rich Text Format) เพือ่ ให้ สามารถแลกเปลีย่ นไฟล์ระหว่ าง
แพลตฟอร์ มทีต่ ่ างกันได้
 PDF (Portable Document Format) เพือ่ แลกเปลีย่ นเอกสารข้ าม
แพลตฟอร์ ม สามารถเพิม่ รูปภาพ และกราฟฟิ กได้
 PS (PostScript) เป็ นภาษาระดับสู งใช้ สาหรับการจัดการกับองค์ประกอบ
ของเอกสารและภาพกราฟฟิ กที่ต้องการพิมพ์ผ่านเครื่องพิมพ์
 CSS (Cascading Style Sheet) เป็ นไฟล์ทเี่ ก็บข้ อมูลการกาหนดรูปแบบและ
ลักษณะของตัวอักษร เพือ่ นามาใช้ กบั เว็บเพจ โดยไฟล์นีจ้ ะมีนามสกุล *.css
รูปแบบของตัวอักษรทีใ่ ช้ บนเว็บ
 Cascading Style Sheet (CSS)
รูปแบบของตัวอักษรทีใ่ ช้ บนเว็บ
 Import Text (TXT)
รูปแบบของตัวอักษรทีใ่ ช้ บนเว็บ
 Portable Document Format (PDF)
เครื่ องมือสาหรั บสร้ างและแก้ ไขรูปแบบตัวอักษร
 Font Tool in Control Panel
 Private Character Editor (eudcedit)
 Typograf
 Photoshop
เครื่ องมือสาหรั บสร้ างและแก้ ไขรูปแบบตัวอักษร
เครื่ องมือสาหรั บสร้ างและแก้ ไขรูปแบบตัวอักษร
เครื่ องมือสาหรั บสร้ างและแก้ ไขรูปแบบตัวอักษร
การใช้ งานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมเี ดีย
 เมนูนาทาง (Menu for Navigation)
 ปุ่ มกดโต้ ตอบ (Button for Interaction)
 การจัดวางข้ อความสาหรับการอ่ าน (Fields for Reading)
 การกาหนดรู ปแบบของเอกสาร (Format Document)
 เอกสารภาษา HTML (HTML Language)
 สั ญลักษณ์ และไอคอน(Symbols and Icons)
การใช้ งานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมเี ดีย
 เมนูนาทาง (Menu for Navigation)
เป็ นการสร้ างปฏิสัมพันธ์ ด้วย
ข้ อความทีเ่ ข้ าใจง่ าย เพือ่ ช่ วยให้ การ
ติดต่ อสื่ อสารผ่ านคอมพิวเตอร์
สะดวกและรวดเร็ว เช่ น “ไปหน้ า
ถัดไป” หรือ “Next” เป็ นต้ น ทาให้
ผู้ใช้ เข้ าใจถึงทิศทางทีจ่ ะไปได้ อย่ าง
ถูกวิธี
การใช้ งานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมเี ดีย
 ปุ่ มกดโต้ ตอบ (Button
for Interaction) เป็ น
กล่ องข้ อความแบบ 3 มิติ
สาหรับสร้ างเหตุการณ์
ใดเหตุการณ์ หนึ่ง เมือ่
คลิกทีป่ มกด
ุ่
รายการเลือก
นาทาง
ปุ่ มกด
โต้ ตอบ
เว็บไซต์ ทมี่ สี ่ วนประกอบของรายการเลือกนาทางและปุ่ มกดโต้ ตอบ
34
การใช้ งานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมเี ดีย
 การจัดวางข้ อความสาหรับ
การอ่ าน (Fields for
Reading) เป็ นการแบ่ ง
เนือ้ ความอธิบายเป็ นส่ วนๆ
เพือ่ ให้ อ่านง่ าย สบายตา
การใช้ งานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมเี ดีย
 การกาหนดรู ปแบบของเอกสาร (Format Document) เป็ น
การกาหนดเพือ่ ประโยชน์ สาหรับการพิมพ์ โดยสามารถ
กาหนดแบบ Portrait Document และ Landscape
Document
การใช้ งานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมเี ดีย
 เอกสารภาษา HTML
(HTML Language) เป็ นการ
นาเอาข้ อความใส่ ลงใน
เอกสารแต่ ละหน้ า ที่เรียกว่ า
Webpage และบันทึกใน
รู ปแบบของไฟล์ .html และ
แสดงผลลัพธ์ ผ่านโปรแกรม
Web Browser
การใช้ งานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมเี ดีย
 สั ญลักษณ์ และรู ป (Symbols and
Icons) เป็ นการสร้ างภาพแทน
ข้ อความต่ างๆ เพือ่ บ่ งบอกการ
ทางาน โดยสั ญลักษณ์ ในงาน
มัลติมีเดียจะมีรูปแบบและ
ความหมายประจาตัว และมี
ความหมายเป็ นสากล
การใช้ งานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมเี ดีย
วัตถุประสงค์ ของการใช้ งาน
การติดต่ อสื่ อสารระหว่ างกันบนระบบเครือข่ าย
การเล่นชมวีดีทศั น์
สั ญลักษณ์
ความหมาย
:-)
ยิม้ ธรรมดา
;-)
ยิม้ และขยิบตาหนึ่งข้าง
:-|
แสดงอาการไม่สนใจ
:->
อาการกรี๊ ดอย่างแรง
:-(
กาลังหน้าบึ้ง
8-)
แสดงอาการตื่นเต้น
:-D
อาการประหลาดใจ
:-/
อาการงง ฉงน

เล่นเพลง

หยุด

นาแผ่นออก

เล่นเพลงถัดไป

เล่นเพลงก่อนหน้า

กรอไปข้างหน้า

กรอกลับ
แบบฝึ กหัด
 จงแปลงชื่อของตนเองเป็ น ASCII
Code โดยใช้ ตารางทีก่ าหนดให้
แบบฝึ กหัด
1.
2.
3.
4.
41
หาเว็บไซต์ ที่มีการใช้ ข้อความแบบสร้ างสรรค์ และสวยงาม โดยให้ ทา
การบันทึกเป็ นไฟล์รูปภาพ และนาไปใส่ ในโปรแกรม Microsoft
Word
ให้ สร้ างข้ อความเลียนแบบภาพที่ได้ จากข้ อ 1 โดยใช้ โปรแกรม
Microsoft Word
ให้ สร้ างข้ อความดังตัวอย่ าง โดยเป็ นชื่อตัวเอง ด้ วย WordArt ของ
โปรแกรม Microsoft Word
บันทึกชื่อไฟล์เป็ นรหัสนักศึกษา และส่ งงานทางอีเมล์
แบบฝึ กหัด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
42
อธิบายข้ อดีของมาตรฐาน Unicode เมื่อเทียบกับ ASCII
อธิบายความแตกต่ างระหว่ าง Formatted Text และ UnFormatted
Text
อธิบายความแตกต่ างระหว่ าง Font size และ Font style
ซอฟแวร์ ที่เรียกว่ า OCR มีประโยชน์ อย่ างไร
สั ญลักษณ์ (Symbol)และไอคอน (Icon) แตกต่ างกันอย่ างไร
ให้ ยกตัวอย่ างโปรแกรมสาหรับสร้ างและแก้ไขรูปแบบตัวอักษร มาอย่ าง
น้ อย 3 โปรแกรม