การประกันคุณภาพอีเลิร์นนิ่งในอุดมศึกษาไทย

Download Report

Transcript การประกันคุณภาพอีเลิร์นนิ่งในอุดมศึกษาไทย

-ร่ างการประกันคุณภาพอีเลิร์นนิ่ง
ในอุดมศึกษาไทย
ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
[email protected]
www.charm.au.edu
ประธานอาวุโส มูลนิธิสหวิทยาการ
เพื่อการวิจัยและพัฒนา
ประธานผู้บริหาร
วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่ อง “ขับเคลื่อนคุณภาพอีเลิร์นนิ่งอุดมศึกษาไทย”
ณ ห้ องจูปิเตอร์ อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
วันศุกร์ ท่ ี 9 กันยายน 2554
การประกันคุณภาพอีเลิร์นนิ่งในอุดมศึกษาไทย
1. บทนา
2. คุณภาพฮาร์ ดแวร์ และเครื อข่ าย
3. คุณภาพซอฟต์ แวร์
และระบบการจัดการการเรี ยนการสอน
4. คุณภาพคอร์ สแวร์ หรื ออีเท็กซ์ บุค
และทรั พยากรสนับสนุน
5. คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่
2
การประกันคุณภาพอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)
6. คุณภาพนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษา
7. คุณภาพการวัดผล
และคุณภาพธนาคารข้ อสอบ
8. ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป
9. ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากสหรั ฐอเมริกา
10. สรุ ป
3
1. บทนา

จากเว็บ “วิกิพีเดีย
(en.wikipedia.org/wiki/Quality_assurance)”
- การประกันคุณภาพ
หรื อ “คิวเอ (QA = Quality Assurance)”
เป็ นคาที่เริ่มใช้ เมื่อ พ.ศ. 2516
4
บทนา (ต่ อ)

การประกันคุณภาพ
คือ การดูแล (Monitor)
และประเมินผล (Evaluate) อย่ างเป็ นระบบ
สาหรั บโครงการหรื อบริการ
หรื อสิ่งอานวยความสะดวกให้ อยู่ในมาตรฐาน
5
บทนา (ต่ อ)

จากเว็บ “อีซียูโรปา
(ec.europa.eu/education/lifelong-learningpolicy/doc1134_en.htm)”
- เมื่อ พ.ศ. 2543 ตัง้ กรรมการพิจารณา
เรื่ อง “คุณภาพการศึกษา”
6
บทนา (ต่ อ)
- มีนาคม พ.ศ. 2545 ที่ประชุมสภายุโรป
ที่ “บาร์ เซโลนา (Barcelona)”
มีมติให้ ปรั บปรุ งการศึกษาและอบรมในยุโรป
ให้ ได้ คุณภาพระดับโลก
7
บทนา (ต่ อ)

ปั จจัยหลัก 3 พี ของยุโรปในการศึกษา คือ
- พีแรก คือ “พาร์ ตเนอร์ ชิพ (Partnership)”
ให้ ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องเรี ยนที่จะเป็ นพันธมิตรกัน
- พีท่ สี อง คือ “พาร์ ตซิ ิเพชั่น (Participation)”
ให้ เรี ยนที่จะร่ วมมีส่วนร่ วมในการกาหนดนโยบาย
- พีท่ สี าม คือ “เพอร์ ฟอร์ แมนซ์ (Performance)”
ให้ เรี ยนที่จะแสดงสมรรถนะ
8
บทนา (ต่ อ)

จากหนังสือโดย ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เรื่ อง “ผุดขึน้ มากมายหลายปริญญาด้ านอีเลิร์นนิ่ง:
การศึกษาออนไลน์ ในสหรั ฐอเมริกา พ.ศ. 2548”
หาสาเนาอ่ านได้ ท่ ี “www.charm.au.edu
List of PublicationsEntry#1716”
มีตัวอย่ างคาจากัดความของอีเลิร์นนิ่ง
9
บทนา (ต่ อ)

จากเว็บ “คอนเฟอร์ โซน
(www.conferzone.com/resource/glossaryop.html)”
ระบุว่า “ออนไลน์ เลิร์นนิ่ง”
คือ คาที่มีความหมายเหมือนกับอีเลิร์นนิ่ง
10
บทนา (ต่ อ)

จากเว็บ “มหาวิทยาลัยนิวออร์ ลีนส์
(alt.uno.glossary.html)”
ระบุว่า “ออนไลน์ เลิร์นนิ่ง”
คือ การเรี ยนโดยการนาเสนอเอกสาร
ทางคอมพิวเตอร์
โดยผ่ านอินทราเน็ตหรื ออินเทอร์ เน็ต
นั่นคือ อีเลิร์นนิ่ง
11
บทนา (ต่ อ)

จากเว็บ “อินเทเลรา
(www.intelera.com/glossary.html)”
ระบุว่า “ออนไลน์ เลิร์นนิ่ง”
คือ ประสบการณ์ หรื อสภาพแวดล้ อม
ในการเรี ยนที่อาศัยอินเทอร์ เน็ตหรื อเว็บ
เป็ นวิธีนาเสนอและสื่อสารหลัก
และว่ า “ออนไลน์ เลิร์นนิ่ง
คือ คาที่มีความหมายเดียวกับอีเลิร์นนิ่ง”
12
บทนา (ต่ อ)

ผมชอบคาจากัดความของ Sloan-C
ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน
และดร. บรูซ เอ็น ชาลุกซ์ ประธานสมาคมสโลน
ที่ อาคาร “ศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
13
ตารางประเภทการเรียนการสอน
สัดส่ วนของเนือ้ หา
ที่นาเสนอทางอินเทอร์ เน็ต
ประเภท
การเรี ยนการสอน
0%
แบบดัง้ เดิม (Traditional)
1-29%
แบบใช้ เว็บช่ วย (Web-Facilitated)
30-79%
แบบลูกผสม (Blended/ Hybrid)
80-100%
แบบออนไลน์ หรื อแบบอีเลิร์นนิ่ง
(Online/ eLearning)
14
บทนา (ต่ อ)

ในบทความนี ้
ขอเสนอการประกันคุณภาพในแง่ ต่อไปนี ้
- คุณภาพฮาร์ ดแวร์ และเครื อข่ าย
- คุณภาพซอฟต์ แวร์
และระบบการจัดการเรี ยนการสอน
15
บทนา (ต่ อ)
- คุณภาพคอร์ สแวร์ หรื ออีเท็กซ์ บุค
และทรั พยากรสนับสนุน
- คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่
- คุณภาพนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษา
- คุณภาพการวัดผลและธนาคารข้ อสอบ
- ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป
- ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากสหรั ฐอเมริกา
16
2. คุณภาพฮาร์ ดแวร์ และเครือข่ าย


แม่ ข่ายพร้ อมอุปกรณ์ และการเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ต
ต้ องไม่ ล่ม
วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
กาหนดให้ มีฮาร์ ดแวร์
ทัง้ ที่วทิ ยาเขตสุวรรณภูมแิ ละหัวหมาก
แต่ ละวิทยาเขต มี 2 ชุด การเชื่อมต่ อถึงกัน มี 2 ทาง
และการเชื่อมต่ อกับไอเอสพี มี 2 ทาง
17
คุณภาพฮาร์ ดแวร์ และเครือข่ าย (ต่ อ)

ใน พ.ศ. 2554 อาจจะใช้ บริการศูนย์ ข้อมูล
(Data Center) ดูรายละเอียดได้ ท่ บี ทความ
โดย ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เรื่ อง “ศูนย์ กลางข้ อมูลเพื่อความต่ อเนื่อง
ในงานโทรคมนาคม”
ในวารสาร กทช. ประจาปี 2552 เล่ ม 1/2
หน้ า 189-213 เดือนตุลาคม 2552 (25 หน้ า)
หาสาเนาอ่ านได้ ท่ ี “www.charm.au.edu
List of PublicationsEntry#2526”
18
คุณภาพฮาร์ ดแวร์ และเครือข่ าย (ต่ อ)

ศูนย์ ข้อมูลต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน
โดยเฉพาะอย่ างยิ่ง
มาตรฐาน ไอเอสโอ / ไออีซี 27001:2005
(ISO / IEC 27001:2005)
- “ไอเอสโอ (ISO = International Organization
for Standardization)”
- “ไออีซี (IEC = International Electrotechnical
Commission)”
19
คุณภาพฮาร์ ดแวร์ และเครือข่ าย (ต่ อ)

ตาม ISO / IEC,
ศูนย์ ข้อมูลต้ องมีความน่ าเชื่อถือ
ระดับใดระดับหนึ่งใน 4 ระดับ
(Tiered Reliability)
20
คุณภาพฮาร์ ดแวร์ และเครือข่ าย (ต่ อ)
- ระดับที่ 1 ขัน้ พืน้ ฐาน (Basic)
สามารถใช้ งานได้
คิดเป็ นร้ อยละ 99.671 ของเวลาทัง้ หมด
ใน 1 ปี มี 365x24 = 8,760 ชั่วโมง
ให้ หยุดได้ ไม่ เกิน 8,760x0.329% = 28.82 ชั่วโมง
(หยุดได้ ประมาณ 1 วัน 5 ชั่วโมง ใน 1 ปี )
21
คุณภาพฮาร์ ดแวร์ และเครือข่ าย (ต่ อ)
- ระดับที่ 2 มีอุปกรณ์ สารอง
(Redundant Components)
สามารถใช้ งานได้
คิดเป็ นร้ อยละ 99.741 ของเวลาทัง้ หมด
ใน 1 ปี ให้ หยุดได้ 8,760x0.259% = 22.69 ชั่วโมง
(หยุดได้ ไม่ ถงึ 1 วันใน 1 ปี )
22
คุณภาพฮาร์ ดแวร์ และเครือข่ าย (ต่ อ)
- ระดับที่ 3 ซ่ อมบารุ งไปพร้ อมกับการปฏิบัติงาน
(Concurrently Maintainable)
สามารถใช้ งานได้
คิดเป็ นร้ อยละ 99.982 ของเวลาทัง้ หมด
ใน 1 ปี ให้ หยุดได้ 8,760x0.018% = 1.58 ชั่วโมง
(หยุดได้ ไม่ ถงึ 2 ชั่วโมง ใน 1 ปี )
23
คุณภาพฮาร์ ดแวร์ และเครือข่ าย (ต่ อ)
- ระดับที่ 4 มีระบบป้องกันการล้ มเหลว
(Fault Tolerant)
สามารถใช้ งานได้
คิดเป็ นร้ อยละ 99.995 ของเวลาทัง้ หมด
ใน 1 ปี ให้ หยุดได้ 8,760x0.005% = 0.44 ชั่วโมง
(หยุดได้ ไม่ ถงึ 1 ชั่วโมง ใน 1 ปี )
24
3. คุณภาพซอฟต์ แวร์
และระบบการจัดการเรียนการสอน

จากบทความของ ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เรื่ อง “SCITplus: LCMS Developed
at the College of Internet Distance Education
of Assumption University”
หาสาเนาอ่ านได้ ท่ ี “www.charm.au.edu
List of PublicationsEntry#2077”
25
คุณภาพซอฟต์ แวร์ (ต่ อ)

ซอฟต์ แวร์ ท่ เี ป็ นหัวใจของระบบอีเลิร์นนิ่ง
คือ ระบบจัดการเรี ยน หรื อ “แอลเอ็มเอส
(LMS = Learning Management System)”
วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
เลือกใช้ ซอฟต์ แวร์ ชื่อ “มูเดิล (Moodle)”
ซึ่งดัดแปลงเป็ น “เอสซีไอทีพลัส (SCITplus)”
เพื่อแสดงว่ าได้ ปรั บปรุ งที่
“Srisakdi Charmonman IT Center”
26
คุณภาพซอฟต์ แวร์ (ต่ อ)

ข้ อดีของการใช้ มูเดิล มีอาทิ
- ไม่ เสียค่ าบริการและไม่ มีโฆษณาแบบผุดขึน้
- มีการควบคุมทางเลือกและการจัดรู ปแบบ
- มีการประชุมแสดงความคิดเห็นออนไลน์
- สามารถแก้ ไขและเปลี่ยนแปลงรหัสได้
- สามารถรั บซอฟต์ แวร์ อ่ ืนไปใช้ ร่วมกันได้
เป็ นต้ น
27
เอสซีไอทีพลัส (ต่ อ)

ถึง พ.ศ. 2554
ได้ มีการพัฒนาเอสซีไอทีพลัส มา 5 รุ่ นแล้ ว
- เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 1 พ.ศ. 2547
- เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 2 พ.ศ. 2548
- เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 3 พ.ศ. 2549
- เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 4 พ.ศ. 2551
- เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 5 พ.ศ. 2554
28
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 1 (SCITplus I)

เริ่มใช้ พ.ศ. 2547
ใช้ เอสซีไอทีพลัส รุ่ นที่ 1
ในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัญฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
29
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 1 (ต่ อ)


ในรุ่ นที่ 1 นี ้ สามารถใช้ พาวเวอร์ พอยต์
ประกอบวิดีโอการสอนของผู้สอนได้
ซอฟต์ แวร์ นีเ้ รี ยกว่ า “พาวเวอร์ วี (PowerV.)”
พาวเวอร์ วี ใช้ “เทคโนโลยีสตรี มมิง
(Streaming Technology)”
30
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 1 (ต่ อ)


ถ้ าไม่ ใช้ เทคโนโลยีสตรี มมิง
นักศึกษาจะต้ องดาวน์ โหลดวิดีโอทัง้ หมด
แล้ วถึงจะเริ่มดูได้
ถ้ าใช้ เทคโนโลยีสตรี มมิง
นักศึกษาสามารถดาวน์ โหลดได้ ทลี ะส่ วน
และในขณะที่ดาวน์ โหลดส่ วนต่ อไป
ก็สามารถดูส่วนที่ดาวน์ โหลดเสร็จก่ อนหน้ านัน้ ได้
31
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 1 (ต่ อ)


นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรี ยน
สามารถเข้ าถึงเอสซีไอทีพลัส
โดยใช้ เว็บเป็ นรากฐานได้ ทุกที่ทุกเวลา
เพื่อดูบทบรรยายวิดีโอ
ข้ อเสีย คือ บทบรรยายวิดีโออาจขาดความคมชัด
เนื่องจากบันทึกสดในห้ องเรี ยน
32
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 2 (SCITplus II)

เริ่มใช้ พ.ศ. 2548
เพื่อปรั บปรุ งคุณภาพของการบรรยายโดยใช้ วิดีโอ
วิทยาลัยฯ จึงตัดสินใจซือ้ กล้ องวิดีโอคุณภาพสูง
และเปลี่ยนจากบันทึกการบรรยายในห้ องเรี ยน
ไปเป็ นการบันทึกในห้ องอัด
33
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 2 (ต่ อ)


เอสซีไอทีพลัส รุ่ นที่ 2 ดีกว่ ารุ่ นที่ 1
โดยมีการปรั บปรุ ง และเพิ่มคุณสมบัตเิ ด่ น
ให้ กับพาวเวอร์ วีมากยิ่งขึน้
นักศึกษาสามารถกดหยุด กรอเทปกลับ
กดไปข้ างหน้ า หรื อกดข้ ามไปดูหวั ข้ อที่สาคัญ
ของบทบรรยายในวิดีโอ
แต่ กย็ ังมีปัญหา
คือ ใช้ ได้ เฉพาะกับระบบปฏิบัตกิ ารวินโดวส์ เท่ านัน้
34
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 2 (ต่ อ)

มีการจัดให้ นักศึกษาสามารถดาวน์ โหลด
เฉพาะการบรรยายไว้ ในเอ็มพี 3 (MP3)
ช่ วยให้ นักศึกษาสามารถฟั งการบรรยาย
ได้ ทุกที่ทุกเวลา
35
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 3 (SCITplus III)


กลางปี พ.ศ. 2549 วิทยาลัยฯ ลงทุนกว่ า 50 ล้ านบาท
เพื่อสร้ างสตูดโิ อทัง้ วิทยุและโทรทัศน์
ให้ มีคุณภาพมาตรฐาน
มีการพัฒนาพาวเวอร์ วี เพื่อให้ สามารถรองรั บ
“แมคโครมีเดีย (Macromedia)”
และ “อะโดบีแฟลชเพลเยอร์ (Adobe Flash Player)”
36
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 3 (ต่ อ)


วิทยาลัยฯ เปลี่ยนชื่อพาวเวอร์ วี
ที่ได้ รับการปรั บปรุ งแล้ ว
เป็ น “พาวเวอร์ เอฟเอ็กซ์ (PowerFx)”
เพื่อให้ คล้ ายกับ “แฟลชเอฟเอ็กซ์ (FlashFx)”
มีการปรั บปรุ งให้ นักศึกษาสามารถ
- ดูทงั ้ การบรรยายและพาวเวอร์ พอยต์
- ดูเฉพาะพาวเวอร์ พอยต์
- ปรั บขนาดวินโดวส์ ได้
37
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 4 (SCITplus IV)

เริ่มใช้ พ.ศ. 2551
วิทยาลัยฯ ได้ พัฒนาให้ เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 4
สามารถใช้ งานบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เดี่ยว
โดยไม่ ต้องเชื่อมต่ อกับอินเทอร์ เน็ต
อาทิ วิทยาลัยฯ ส่ งแผ่ นดีวีดีท่ บี รรจุเนือ้ หา
สาหรั บการเรี ยนการสอนให้ กับนักศึกษา
ในต่ างจังหวัดหรื อต่ างประเทศที่มีแบนด์ วิธต่า
ซึ่งจะช่ วยให้ นักศึกษาสามารถเข้ าถึงเนือ้ หา
ได้ เช่ นเดียวกับการออนไลน์
38
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 5 (SCITplus V)

เริ่มใช้ กลางปี พ.ศ. 2554
วิทยาลัยฯ ได้ หยุดใช้ “อะโดบีแฟลชเพลย์ เยอร์
(Adobe Flash Player)”
เพราะวิทยาลัยฯ ได้ พจิ ารณาใช้ อุปกรณ์ เคลื่อนที่
โดยเริ่มใช้ “เอ็มพีส่ ี (MP4)”
ซึ่งได้ แปลงวิดีโอบรรยายและการนาเสนอเนือ้ หา
แบบเพาเวอร์ พอยต์ ไว้ ในเอ็มพีส่ ี
39
เอสซีไอทีพลัส รุ่ น 5 (ต่ อ)

นักศึกษาสามารถเข้ าถึงเนือ้ หา
ในเอสซีไอทีพลัส รุ่ น 5 ได้ จากอุปกรณ์ เคลื่อนที่
อาทิ
- ไอแพด
- ไอโฟน
- โทรศัพท์ ระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด์
- แบล็คเบอร์ ร่ ี
เป็ นต้ น
40
คุณภาพซอฟต์ แวร์ (ต่ อ)

มีซอฟต์ แวร์ สนับสนุนด้ านการเรี ยนการสอน
- สาหรั บซอฟต์ แวร์ ท่ ใี ช้ จะต้ องประกาศ
ว่ าซอฟต์ แวร์ ต้องถูกต้ องตามกฎหมาย
- ถ้ าจะใช้ ซอฟต์ แวร์
ที่อาจจะไม่ มีอยู่เครื่ องของนักศึกษา
สถาบันการศึกษาต้ องจัดซอฟต์ แวร์ นัน้
ให้ นักศึกษาได้ ดาวน์ โหลด
41
คุณภาพซอฟต์ แวร์ (ต่ อ)
- ให้ นักศึกษาระบุซอฟต์ แวร์
ที่ใช้ อ่านคาตอบการบ้ าน
ถ้ านักศึกษาไม่ ใช้ ซอฟต์ แวร์ ท่ อี าจารย์ ใช้
42
คุณภาพซอฟต์ แวร์ (ต่ อ)

ต้ องมีซอฟต์ แวร์ สนับสนุนการจัดการศึกษา
ทางไกลทางอินเทอร์ เน็ตไม่ น้อยกว่ าที่กาหนด นั่นคือ
1) ซอฟต์ แวร์ จัดสอนทางอินเทอร์ เน็ต
2) ซอฟต์ แวร์ จัดบริการทางอินเทอร์ เน็ต
43
1) ซอฟต์ แวร์ จัดสอนทางอินเทอร์ เน็ต

มีประสิทธิภาพรองรั บการเชื่อมโยง
ได้ อย่ างน้ อย 100 คนในเวลาเดียวกัน
องค์ ประกอบสาคัญอย่ างน้ อย 12 ส่ วน
(1) หน้ าบ้ าน (Homepage)
(2) ศูนย์ การเรี ยน (Learning Center)
(3) แหล่ งทรั พยากรเพื่อการเรี ยนรู้
(Self-Accessed Learning Resources)
(4) แหล่ งความรู้ เสริมภายนอก (External Resources)
(5) ศูนย์ ปฏิบัตกิ าร (Laboratory)
44
ซอฟต์ แวร์ จัดสอนทางอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)
(6) ศูนย์ ส่ ือโสตทัศน์ (Audio Visual Center)
(7) ศูนย์ ประเมินการเรี ยน
(Assessment and Evaluation Center)
(8) ป้ายประกาศ (Web Board)
(9) ห้ องสนทนา (Chat Room)
(10) การติดต่ อสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
(11) คาถามพบบ่ อย หรื อ “เอฟเอคิว
(FAQ = Frequently Asked Question)”
(12) ศูนย์ ข้อมูลส่ วนบุคคล (Personal Profile)
45
2) ซอฟต์ แวร์ จัดบริการทางอินเทอร์ เน็ต

มีการจัดบริการการสอนและจัดรายงานโดยอัตโนมัติ
ที่สามารถตรวจสอบจากภายนอก
เกี่ยวกับการร่ วมกิจกรรมหลัก 4 กิจกรรม คือ
(1) การเข้ าห้ องสนทนา
(2) การเข้ าศึกษาเนือ้ หาสาระในชุดการสอน
ทางอินเทอร์ เน็ต
(3) การส่ งงานที่ได้ รับมอบหมาย
(4) การปรึกษาหารื อการส่ งคาถามถึงอาจารย์
ประจาวิชาและอาจารย์ ช่วยสอนประจาวิชา
46
4. คุณภาพคอร์ สแวร์ หรืออีเท็กซ์ บุค
และทรัพยากรสนับสนุน

จากบทบรรยาย ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เรื่ อง “To Develop or Not to Develop New
Courseware for University-Level eLearning”
หาสาเนาอ่ านได้ ท่ ี “www.charm.au.edu
List of PublicationsEntry#1776”
47
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)

หลักสูตรระดับปริญญาในประเทศไทย
ต้ องได้ รับการอนุมัตจิ ากสภาสถาบันการศึกษา
และรายงานให้ สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา (Office of the Higher Education
Commission) หรื อ “สกอ.” รั บทราบ หรื อ ทักท้ วง
48
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)


หลักสูตรและรายวิชาที่เปิ ดสอน
ควรสอดคล้ องกับความต้ องการของตลาด
ในรายวิชาต้ องมี
- คาอธิบายรายวิชา (Course Syllabus)
- กิจกรรมวิชา (Course Activities)
- ข้ อกาหนดวิชา (Course Requirements)
เพื่อแสดงว่ ามีแก่ นสาร (Substance)
และเหมาะสมกับจานวนหน่ วยกิต
49
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)

สถาบันการศึกษาต้ องกาหนดตัวอย่ างรายการ
ที่ต้องมีในคอร์ สแวร์ อาทิ
- มีรายละเอียดกิจกรรม
และวัตถุประสงค์ ของวิชาหรื อไม่
- มีคาอธิบายให้ เห็นชัดว่ าทัง้ กิจกรรม
และข้ อกาหนดมีแก่ นสารและเหมาะสมหรื อไม่
- คาอธิบายรายวิชาสอดคล้ องกับหลักสูตรหรื อไม่
50
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)
- มีวิชาบังคับก่ อน (Prerequisite)
หรื อความรู้ ท่ มี ีก่อนมาเรี ยนวิชาหรื อไม่
- เรี ยนวิชานีแ้ ล้ วจะได้ ความรู้ อะไรบ้ าง
- เวลาที่ต้องใช้ เรี ยนในแต่ ละสัปดาห์ เช่ น
* ฟั งการบรรยายทางวีดทิ ศั น์
* อ่ านสไลด์ บทเรี ยน
* ทาการบ้ าน
51
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)
- มีการกาหนดปฏิสัมพันธ์
ระหว่ างนักศึกษากับนักศึกษา
และนักศึกษากับอาจารย์ อย่ างไร เช่ น
* นักศึกษาแต่ ละคนจะต้ องอีเมล์ คุยกับเพื่อน
และอาจารย์ อย่ างน้ อยหนึ่งครั ง้ ต่ อสัปดาห์
และ/หรื อ โทรศัพท์ ปรึกษาหารื อกัน
ในหัวข้ อที่ต้องเรี ยนประจาสัปดาห์
52
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)
* นักศึกษาแต่ ละคนต้ องตอบกระทู้ของอาจารย์
ในกระดาษข่ าว (Bulletin Board)
อย่ างน้ อยครึ่งหน้ าต่ อสัปดาห์
* นักศึกษาต้ องร่ วมสนทนาสด (Live Chat)
อย่ างน้ อยสัปดาห์ ละครั ง้
53
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)
- เทคโนโลยีท่ จี ะใช้ ในการนาส่ งคอร์ สแวร์
เหมาะสมหรื อไม่ เช่ น
* มีอนิ เทอร์ เน็ตความเร็วสูงหรื อไม่
* มีกล้ องเว็บแคม (Webcam) หรื อไม่
* มีซอฟต์ แวร์ พเิ ศษอะไรหรื อไม่
- มีการฝึ กอบรมอาจารย์ ผ้ ูช่วยสอน
ให้ เหมาะสมกับหลักสูตรและรายวิชาหรื อไม่
54
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)

มีการกาหนดด้ านลิขสิทธิ์อย่ างเหมาะสมถูกต้ อง
ตามกฎหมายหรื อไม่ อาทิ
- ห้ ามคัดลอกหนังสือเกินครั ง้ ละ 5 บรรทัด
- ห้ ามนาสไลด์ จากหนังสือไปขึน้ เว็บ
อาจารย์ ต้องเขียนใหม่ เอง
- ห้ ามนากรณีศึกษาในหนังสือไปใช้
โดยไม่ ได้ รับอนุญาต
เป็ นต้ น
55
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)

ที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ได้ นาโปรแกรม “เทิร์นอิทอิน (Turnitin)”
ให้ อาจารย์ ใช้ ตรวจสอบ
ว่ าผลงานที่นักศึกษานามาส่ ง
เป็ นการขโมยผลงานของผู้อ่ ืนมาตัดต่ อ
เกินกาหนดข้ อยกเว้ น
หรื อคัดลอกผลงานของผู้อ่ ืนมาหรื อไม่
56
เทิร์นอิทอิน (ต่ อ)

โปรแกรมเทิร์นอิทอินประกอบด้ วย 3 บริการ
1) การตรวจสอบความคิดริเริ่ม
(Originality Cahecking)
2) การให้ คะแนน (Grade Mark)
3) การพิจารณาโดยเพื่อนร่ วมเรี ยน (Peer Review)
57
1) การตรวจสอบความคิดริเริ่ม
(Originality Checking)

อาจารย์ ใช้ เทิร์นอิทอินตรวจสอบผลงาน
ของนักศึกษาว่ าคัดลอกผลงานของผู้อ่ ืนมาหรื อไม่
โดยเปรี ยบเทียบกับฐานข้ อมูลขนาดใหญ่
ที่มีอยู่ในระบบ อาทิ
- ย่ อหน้ าที่ 1 ลอกมาจากแหล่ งหนึ่ง
- ย่ อหน้ าที่ 2 ลอกมาจากอีกแหล่ งหนึ่ง
เป็ นต้ น
58
2) การให้ คะแนน (Grade Mark)

อาจารย์ ใช้ เทิร์นอิทอิน
ให้ คะแนนได้ ตามมาตรฐานที่กาหนด
ช่ วยให้ อาจารย์ ประหยัดเวลา
มากกว่ าการให้ คะแนนแบบเดิม
59
3) การพิจารณาโดยเพื่อนร่ วมเรียน
(Peer Review)

อาจารย์ ให้ นักศึกษาใช้ เทิร์นอิทอิน
ประเมินผลงานของเพื่อนร่ วมเรี ยน
ว่ ามีการละเมิดลิขสิทธิ์หรื อไม่
60
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)

ในห้ องเรี ยนอาจารย์ อาจจะนาหนังสือขึน้ จอได้
แต่ ในอีเลิร์นนิ่งอาจผิดกฎหมาย
จึงต้ องประกาศข้ อกาหนดด้ านทรั พย์ สินทางปั ญญา
ให้ ชัดเจน อาทิ
- การละเมิด
- ข้ อยกเว้ น
เป็ นต้ น
61
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)


ถึง พ.ศ. 2554
ผู้พมิ พ์ ตาราเรี ยนให้ จัดพิมพ์ ในรู ปแบบอีบุค
ซึ่งอาจจะเรี ยกว่ า “อีเท็กซ์ บุค (eTextbook)”
ตัวอย่ างเช่ นตาราเรี ยนที่พมิ พ์ บนกระดาษ
ราคา 100 เหรี ยญ หรื อประมาณ 3,000 บาท
ถ้ าเข้ าไปใช้ อีบุคอาจจะมีราคา 20 เหรี ยญ
หรื อประมาณ 600 บาท และใช้ ได้ 6 เดือน
สาหรั บวิชาที่เรี ยน 4 เดือน
62
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)

ในประกาศกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับอีเลิร์นนิ่ง
ที่ ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ ยกร่ าง
และใช้ เวลาติดตาม 3 ปี จากรั ฐมนตรี 5 คน นัน้
ระบุให้ ต้องมีคอร์ สแวร์
ซึ่งถึง พ.ศ. 2554 ก็เป็ นหลักการที่ล้าสมัยแล้ ว
63
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)


ฉะนัน้ ศ.ดร. ศรี ศักดิ์
จะทาบันทึกร่ างรั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ขอแก้ ไขประกาศให้ ใช้ อีเท็กซ์ บุคแทนคอร์ สแวร์ ได้
ความจริงในสหรั ฐอเมริกาไม่ ได้ บังคับให้ มีคอร์ สแวร์
และหลายมหาวิทยาลัยก็ใช้ ตาราเรี ยนธรรมดา
โดยไม่ มีคอร์ สแวร์ เลย
64
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)

สาหรั บทรั พยากรสนับสนุนนัน้ มีอาทิ
- บทความในวารสาร
- รายงานผลการวิจัย
- ห้ องสมุดดิจทิ ลั
- ฐานข้ อมูล
เช่ น “ABI Inform Waste Law Medline IEEE”
- ห้ องปฏิบัตกิ าร
เป็ นต้ น
65
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)

สถาบันการศึกษาจะต้ องจัดทรั พยากรสนับสนุน
โดยให้ นักศึกษาเข้ าใช้ ผ่านอินเทอร์ เน็ต
ได้ อย่ างถูกกฎหมาย
ซึ่งอาจจะเก็บค่ าใช้ หรื อไม่
ก็ต้องประกาศให้ นักศึกษาทราบล่ วงหน้ า
66
คุณภาพคอร์ สแวร์ (ต่ อ)

ในกรณีรายวิชาที่ต้องมีห้องปฏิบัตกิ าร
จะใช้ e-Laboratory หรื อไม่ อย่ างไร
ก็ต้องประกาศให้ นักศึกษาทราบ
ตัวอย่ างห้ องปฏิบัตกิ ารเคมี
อาจจะใช้ เป็ นห้ องปฏิบัตกิ ารเสมือน
(Virtual Laboratory) ได้
67
5. คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่

อาจารย์ ด้านอีเลิร์นนิ่ง
อาจจะแบ่ งเป็ น 3 ประเภท
- อาจารย์ ผ้ ูเชี่ยวชาญรายวิชา (Subject Expert)
- อาจารย์ อานวยความสะดวก
(Facilitating Instruction)
- อาจารย์ สอนเสริม (Tutor)
68
คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)

คุณภาพอาจารย์ ผ้ ูเชี่ยวชาญพิจารณาจาก
- การศึกษา เช่ น สาเร็จการศึกษาปริญญาเอก
ในสาขาวิชานัน้
- ประสบการณ์ การสอน เช่ น สอนวิชานัน้ มากี่สิบปี
- ตาแหน่ งวิชาการ เช่ น เป็ นรองศาสตราจารย์ ขนึ ้ ไป
- เคยเขียนตาราในสาขาวิชานัน้
เป็ นต้ น
69
คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)

คุณภาพอาจารย์ อานวยความสะดวก
ซึ่งมีหน้ าที่อานวยความสะดวกให้ นักศึกษา
อาจจะพิจารณาจาก
- มีความรู้ ความสามารถในวิชาที่สอน
- มีช่ ัวโมงออนไลน์ ท่ ใี ห้ นักศึกษาติดต่ อแน่ นอน
เช่ น 19.00-21.00 น. ทุกวัน
- ตอบอีเมล์ ของนักศึกษาภายใน 24 ชั่วโมง
หลังจากที่ได้ รับอีเมล์
70
คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)
- ตรวจการบ้ าน ตรวจข้ อสอบ
และประกาศผลภายใน 7 วัน
- อ่ านและแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับการบ้ านของนักศึกษาภายใน 3 วัน
- สอนนักศึกษาไม่ เกิน 40 คน ต่ อวิชา
- สอนไม่ เกิน 3 วิชา ในภาคการศึกษาหนึ่ง
เป็ นต้ น
71
คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)

คุณภาพอาจารย์ สอนเสริม หรื อ ติวเตอร์
อาจจะพิจารณาจาก
- การศึกษา
- ประสบการเป็ นอาจารย์ สอนเสริม
- รั บนักศึกษาคราวละไม่ มากเกินไป
เป็ นต้ น
72
คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)

คุณภาพนักคอมพิวเตอร์
- ถ้ าสถาบันการศึกษา
ใช้ ศูนย์ คอมพิวเตอร์ ของสถาบันเอง
ในการให้ บริการอีเลิร์นนิ่ง
จะต้ องมีคุณภาพด้ านนักคอมพิวเตอร์
73
คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)
- มีผ้ ูอานวยการศูนย์ คอมพิวเตอร์
เช่ น ประธานผู้บริหารสารสนเทศ
หรื อ “ซีไอโอ (CIO = Chief Information Officer)”
ต้ องมีคุณภาพ อาทิ
* สาเร็จการศึกษาปริญญาเอกด้ านคอมพิวเตอร์
* มีประสบการบริหารศูนย์ คอมพิวเตอร์
* มีความรู้ ด้านการรั กษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
เป็ นต้ น
74
คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)
- มีเจ้ าหน้ าที่ อาทิ
* นักโปรแกรม (Programmer)
* นักออกแบบเว็บ (Web Designer)
* นักบริหารเว็บ (Web Adminstrator)
เป็ นต้ น
ต้ องมีคุณภาพตามกาหนด
75
คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)
- มีเจ้ าหน้ าที่ตอบคาถาม (Help Desk)
ต้ องมีคุณภาพ อาทิ
* มีการศึกษาเหมาะสม
* มีประสบการณ์
* มีมนุษย์ สัมพันธ์
เป็ นต้ น
76
คุณภาพอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ (ต่ อ)
- ถ้ ามีเจ้ าหน้ าที่ อาทิ
* เจ้ าหน้ าที่การตลาด
* เจ้ าหน้ าที่รับสมัคร
* เจ้ าหน้ าที่การเงิน
เป็ นต้ น
ต้ องมีคุณภาพเหมาะสมกับตาแหน่ ง
และต้ องมีจติ บริการ (Service-minded)
77
6. คุณภาพนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษา

มหาวิทยาลัยแต่ ละแห่ งมีการกาหนดมาตรฐาน
นักศึกษาที่แตกต่ างกันออกไป อาทิ
- รั บสมัครนักศึกษาจานวนจากัดหรื อไม่
- มีหลักเกณฑ์ ในการคัดเลือกนักศึกษาหรื อไม่
หรื อรั บทุกคนที่มีคุณวุฒติ ามกาหนด
78
คุณภาพนักศึกษา (ต่ อ)
- ถ้ าคัดเลือกจะคัดเลือกอย่ างไร
มีการสอบข้ อเขียนและสอบสัมภาษณ์ หรื อไม่
* ถ้ าสัมภาษณ์ ต้องต่ อหน้ าต่ อตา
โดยเดินทางมาพบกันหรื อไม่
* สัมภาษณ์ ทางโทรศัพท์ อีเมล์
หรื อวีดโิ อคอนเฟอร์ เรนซ์ ได้ หรื อไม่
79
คุณภาพนักศึกษา (ต่ อ)
- ถ้ าคัดเลือกตามคุณวุฒิ
* ใช้ คุณวุฒแิ บบมหาวิทยาลัยปิ ด อาทิ
เรี ยนปริญญาโทต้ องสาเร็จการศึกษาปริญญาตรี
ก่ อนหรื อไม่ เป็ นต้ น
* ใช้ เทียบประสบการณ์ เป็ นคุณวุฒิ
แบบมหาวิทยาลัยเปิ ดหรื อไม่ อาทิ เป็ นสมาชิก
สภาเทศบาลและสภาต่ างๆ ให้ เข้ าเรี ยนปริญญาตรี
โดยไม่ ต้องสาเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลาย
ได้ หรื อไม่ เป็ นต้ น
80
คัดเลือกตามวุฒิ (ต่ อ)
* บางมหาวิทยาลัยในอังกฤษ
อนุญาตให้ เข้ าเรี ยนปริญญาโทได้
โดยไม่ ต้องสาเร็จการศึกษาปริญญาตรี
ถ้ าสอบไล่ ได้ กไ็ ด้ ปริญญาโท
มีศักดิ์และสิทธิ์เท่ ากับผู้ท่ สี าเร็จการศึกษา
ปริญญาตรี แล้ วมาสาเร็จการศึกษาปริญญาโท
ทุกประการ
81
คุณภาพนักศึกษา (ต่ อ)
- กาหนดเทคโนโลยีได้ เหมาะสมกับนักศึกษาหรื อไม่
โดยเฉพาะอย่ างยิ่งการใช้ อินเทอร์ เน็ต
เป็ นการเข้ าถึงอย่ างทั่วถึง (Universal Access)
หรื อไม่ (คนตาบอดและคนแขนด้ วนใช้ ได้ หรื อไม่ )
- มีศูนย์ ให้ บริการข้ อมูลแก่ นักศึกษาหรื อไม่
82
คุณภาพนักศึกษา (ต่ อ)
- ประเมินอย่ างไรว่ านักศึกษามีความสามารถเพียงใด
ในการใช้ เครื่ องจักรอุปกรณ์
ถ้ าไม่ มีความสามารถเพียงพอจะจัดฝึ กอบรมอย่ างไร
เป็ นแบบอีเลิร์นนิ่งหรื อไม่
- กาหนดการป้องกันความเป็ นส่ วนตัว (Privacy)
อย่ างไร
83
คุณภาพนักศึกษา (ต่ อ)

สาหรั บผู้สาเร็จการศึกษา
ต้ องมีประกันคุณภาพ อาทิ
- ตัวอย่ างผู้ประสบความสาเร็จในอาชีพการงาน
* ได้ เงินเดือนสูงขึน้
* ได้ ตาแหน่ งสูงขึน้
- นักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาแล้ ว
ควรมีงานทาร้ อยละเท่ าใด
84
คุณภาพนักศึกษา (ต่ อ)
- ถ้ ามีผ้ ูสาเร็จการศึกษา
ต้ องการได้ รับการฝึ กอบรมเพิ่มเติม
ก็ควรจะให้ เรี ยนฟรี ทางอีเลิร์นนิ่ง
อาทิ “หลักสูตรอีเอสเอ็มอี (e-SMEs)” 18 วิชา
เป็ นต้ น
85
คุณภาพนักศึกษา (ต่ อ)
- ตัวอย่ างหลักสูตรอีเอสเอ็มอี อาทิ
* SME 106 การบริหารธุรกิจเอสเอ็มอี
เพื่อความเติบโตอย่ างยั่งยืน
* SME 107 การวิเคราะห์ แนวโน้ ม
โอกาสทางธุรกิจ
และกลยุทธ์ ในธุรกิจเอสเอ็มอี
เป็ นต้ น
86
7. คุณภาพการวัดผล
และคุณภาพธนาคารข้ อสอบ

แต่ ละสถาบันการศึกษามีข้อกาหนดมาตรฐาน
การวัดผลที่แตกต่ างกัน แต่ ต้องอยู่ภายใต้
มาตรฐานที่หน่ วยงานให้ การรั บรองวิทยฐานะกาหนด
อาทิ มีการกาหนดอัตราการสาเร็จการศึกษาหรื อไม่
- บางมหาวิทยาลัยอีเลิร์นนิ่งในอเมริกา
เฉลี่ยสาเร็จการศึกษาร้ อยละ 20
- ฟี นิกซ์ กาหนดว่ าต้ องการให้ สาเร็จการศึกษา
ร้ อยละ 60 จึงวางมาตรการและดาเนินการ
จนได้ ตามเป้า
87
คุณภาพการวัดผล (ต่ อ)
- ให้ คะแนนการบ้ านอย่ างไร เช่ น
* ทาถูกหมดให้ คะแนนเต็มร้ อย
หรื อ ให้ 90 ซึ่งคิดเป็ นเกรด “เอ (A)”
* คาตอบเป็ นตัวเลขที่ผิดให้ คะแนนวิธีทาหรื อไม่
* ภาษาไม่ ถูกไวยกรณ์ หกั คะแนนหรื อไม่
* ส่ งการบ้ านช้ าหักคะแนนหรื อไม่ อย่ างไร
88
คุณภาพการวัดผล (ต่ อ)
- ประเมินปฎิสัมพันธ์ นักศึกษากับนักศึกษา
และนักศึกษากับอาจารย์ อย่ างไร
* จะให้ คะแนนปฏิสัมพันธ์ ร้อยละเท่ าใด
ของคะแนนทัง้ หมด อาทิ ร้ อยละ 10-20 เป็ นต้ น
* ร่ วมปฏิสัมพันธ์ ร้อยละเท่ าใดขึน้ ไป อาทิ
ร้ อยละ 80 ขึน้ ไปให้ คะแนนเต็มหรื อไม่ เป็ นต้ น
* ร่ วมปฏิสัมพันธ์ ไม่ ถงึ ร้ อยละเท่ าใด อาทิ
ไม่ ถงึ ร้ อยละ 50 ตัดสิทธิ์การสอบไล่ หรื อไม่ เป็ นต้ น
89
คุณภาพการวัดผล (ต่ อ)
- วัดผลการเรี ยนของนักศึกษา
ตามวัตถุประสงค์ อย่ างไร
- วัดการใช้ ส่ ือการเรี ยนการสอนอย่ างไร
- ป้องกันการทุจริตอย่ างไร
- ให้ คะแนนโดยรวมอย่ างไร
เป็ นต้ น
90
คุณภาพการวัดผล (ต่ อ)

จากบทความ ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เรื่ อง “การใช้ คอมพิวเตอร์
ในการจัดทาธนาคารข้ อสอบ”
คอมพิวเตอร์ สาร ปี ที่ 12 ฉบับที่ 58 กรกฎาคม 2528
และวารสารภาษาปริทศั น์ ปี ที่ 5 ฉบับที่ 2 2528
หาสาเนาอ่ านได้ ท่ ี “www.charm.au.edu
List of PublicationsEntry#213”
มีข้อมูลเกี่ยวกับธนาคารข้ อสอบ
91
คุณภาพการวัดผล (ต่ อ)


ตัวอย่ าง ถ้ าตาราเรี ยนมี 10 บท
อาจกาหนดให้ แต่ ละบทมีคาถาม 100 ข้ อ
รวม 10 บท เป็ น 1,000 ข้ อ
มีกาหนดว่ าข้ อสอบใดยาก-ง่ ายขนาดใด
เมื่อจะออกข้ อสอบเป็ น 10 ข้ อ บทละ 1 ข้ อ
ก็ให้ คอมพิวเตอร์ เลือกโดยสุ่ม
หรื อโดยกาหนดว่ าจะให้ ยาก-ง่ ายระดับใด
92
คุณภาพการวัดผล (ต่ อ)




ถ้ านักศึกษาได้ “A” ทุกคน ข้ อสอบก็ง่ายไป
ถ้ านักศึกษาตกหมด ข้ อสอบก็ยากไป
มีหลักเกณฑ์ การจัดทา
และตัวอย่ างธนาคารข้ อสอบมากมาย
สามารถค้ นหาได้ จากกูเกิล
ควรให้ นักศึกษาทดลองสอบจากธนาคารข้ อสอบ
จนได้ คะแนนดีพอที่ต้องการ
แล้ วจึงค่ อยสอบจริงก็ได้
93
8. ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป

จากเว็บ “ยูนิเน็ตทูโนยูนิเวอร์ ซติ ี ้
(www.uninettunouniversity.net/portal/
allegati/1/ProgettiEuropei/excellance/
E_Xcellance_Quality_Assessment_for_e_learning_
Benchmarking_Approach.pdf)”
เป็ นคู่มือ “การประกันคุณภาพอีเลิร์นนิ่ง
โดยใช้ วิธีเกณฑ์ มาตรฐาน (Benchmarks)”
94
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)

แบ่ งเป็ น 6 บท มีตัวชีว้ ัด 52 ตัว
ในบทที่ 2-6
- คานา (Introduction)
- การจัดการตามยุทธศาสตร์ (Strategic Management)
- การออกแบบหลักสูตร (Curriculum Design)
- การออกแบบรายวิชา (Course Design)
- การนาส่ งรายวิชา (Course Delivery)
- การสนับสนุนของบุคลากร (Staff Support)
95
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)

ตัวชีว้ ัด
1) สถาบันการศึกษาต้ องแต่ งตัง้ บุคลากรหลัก
ในการกาหนด
- นโยบาย (Policies)
- แผนงานด้ านอีเลิร์นนิ่ง (Plan)
96
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
2) ยุทธวิธีอีเลิร์นนิ่งต้ องเป็ นส่ วนหนึ่ง
ของยุทธวิธีท่ วั ไปของสถาบัน
และทุกหน่ วยงานในสถาบัน
ต้ องปฏิบัตติ ามยุทธวิธีและแผนงานของสถาบัน
3) แผนงานของทุกภาควิชาและทุกคณะ
ต้ องกาหนดทรั พยากร บุคลากร
และการพัฒนาบุคลากรในด้ านอีเลิร์นนิ่ง
97
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
4) สถาบันการศึกษาต้ อง
- ยอมรั บประโยชน์ ของอีเลิร์นนิ่ง
ในแง่ ของการศึกษาจากที่ใดและเวลาใดก็ได้
- ศึกษาปั ญหาที่เกี่ยวข้ อง
- กาหนดนโยบายที่เกี่ยวข้ อง
98
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
5) ทุกหน่ วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้ องต้ อง
- ทาสัญญากาหนดหน้ าที่ความรั บผิดชอบ
- กาหนดสายงานการรายงาน
- กาหนดแผนฉุกเฉินเพื่อปกป้องผลประโยชน์
ของนักศึกษาและสถาบัน
99
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
6) มีการกาหนดนโยบายและแผนดาเนินการ
เพื่อปรั บปรุ งคุณภาพอีเลิร์นนิ่ง อาทิ
- ปรั บปรุ งเทคโนโลยี
- ปรั บปรุ งวิธีการเรี ยนการสอน
เป็ นต้ น
100
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
7) ต้ องมีนโยบายในการกาหนดตารางสอน
อาทิ เปิ ดเรี ยนทุกวันที่ 1 ของทุกเดือน
หรื อตามตารางสอนในห้ องเรี ยน
เช่ น เปิ ดเรี ยน ปี ละ 2 ภาค หรื อ 3 ภาค
เป็ นต้ น
101
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
8) สถาบันต้ องกาหนดนโยบายว่ า
- จะให้ นักศึกษาต้ องยืนยันตัวอย่ างไร
- มีการตรวจนับการเข้ าเรี ยนหรื อไม่ อย่ างไร
อาทิ ต้ องส่ งการบ้ านอย่ างน้ อยร้ อยละ 80 หรื อไม่
เป็ นต้ น
9) ถ้ าใช้ อีเลิร์นนิ่ง
ร่ วมกับการเรี ยนทางห้ องเรี ยน
จะต้ องออกแบบหลักสูตรให้ ผสมผสานกันอย่ างดี
102
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
10) สถาบันจะต้ องมีนโยบายอย่ างชัดเจน
และสอดคล้ องกัน (Consistent)
ในด้ านการออกแบบเป็ นหน่ วยย่ อย
(Modular Program Design)
11) สถาบันจะต้ องมีนโยบายการโอนหน่ วยกิต
และต้ องให้ มีการโอนหน่ วยกิตได้ สะดวก
103
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
12) สถาบันต้ องมีนโยบาย
ด้ านการพัฒนาชุมชนออนไลน์
ให้ มีปฏิสัมพันธ์ ระหว่ าง
- นักศึกษากับนักศึกษา
- นักศึกษากับอาจารย์
13) สถาบันต้ องมีระบบ
ให้ นักศึกษาได้ ร่วมในชุมชนการวิจัย
และปฏิบัตงิ านอย่ างมืออาชีพ
104
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
14) หลักสูตรต้ องให้ โอกาสนักศึกษาได้ ทาวิจัย
โดยให้ ร้ ู จัก
- การพัฒนาโครงงานวิจัย
- การประเมินผลโครงงาน
- การนาเสนอโครงงาน
105
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
15) สถาบันต้ องมีนโยบายอย่ างชัดเจน
ในด้ านการพัฒนาทักษะ
และการประเมินทักษะ
ที่โอนหน่ วยกิตไปยังหลักสูตรต่ างๆ ได้
16) การออกแบบหลักสูตรต้ องให้ ม่ ันใจได้
ว่ านักศึกษาสามารถเข้ าใจได้ ว่าเนือ้ หา
เกี่ยวข้ องกับทักษะอย่ างมืออาชีพ
106
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
17) ขบวนการออกแบบหลักสูตร
ต้ องเป็ นไปตามข้ อกาหนดด้ านการประเมิน โดย
- การทดสอบระหว่ างเรี ยน
- การทดสอบหลังเรี ยนเป็ นการสรุ ปผล
18) เจ้ าหน้ าที่ต้องเข้ าใจผลดีและผลเสีย
ของการใช้ อีเลิร์นนิ่งในด้ านการพัฒนาทักษะ
19) มีการผสมผสานวิธีการสอน
และสื่อการสอนอย่ างได้ ผลดี
107
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
20) มีผ้ ูช่วยสอนให้ ตามกาหนด
ที่เหมาะสมกับนักศึกษา และผู้ช่วยสอน
21) ต้ องมีเอกสารสาหรั บศึกษาเอง (Self Study)
อย่ างเหมาะสม
22) ต้ องมีการสนับสนุนอย่ างชัดเจนต่ อ
- อาจารย์
- เจ้ าหน้ าที่สนับสนุน
- นักศึกษา
108
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
23) ในการจะเข้ าศึกษาวิชาใด
ต้ องให้ นักศึกษาทราบอย่ างชัดเจน
ว่ าต้ องมีความรู้ ในวิชาใดมาก่ อนและในระดับใด
24) ต้ องกาหนดให้ ชัดเจนว่ าใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่ างใดในวิชาใด
25) เนือ้ หาอีเลิร์นนิ่ง
ต้ องมีการจัดโครงสร้ างอย่ างเหมาะสม
ว่ าจะมีการวัดผลเมื่อใดบ้ าง
109
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
26) เครื่ องคอมพิวเตอร์ และเครื อข่ าย
ต้ องปฏิบัตงิ านได้ ตามกาหนด
27) ตัวประสานระหว่ างนักศึกษา
กับเครื่ องจักรอุปกรณ์ ต้องได้ มาตรฐาน
28) เนือ้ หาวิชาต้ องให้ ประสบการณ์ การเรี ยน
แก่ นักศึกษาอย่ างเพียงพอ
และเป็ นระบบที่โต้ ตอบอย่ างเพียงพอ
110
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
29) การพัฒนาคอร์ สแวร์
ต้ องใช้ วิธีการบริหารโครงการ
(Project Management)
30) การวัดผลการศึกษาของนักศึกษา
ต้ องเป็ นไปหลักการทดสอบระหว่ างเรี ยน
และการทดสอบหลังเรี ยน
111
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
31) มีการตรวจสอบกระบวนการสอนอย่ างเพียงพอ
32) การออกแบบรายวิชาต้ องมีผ้ ูตรวจสอบอิสระ
และผู้ออกแบบต้ องแก้ ไข
ตามข้ อเสนอของผู้ตรวจสอบ
33) ต้ องกาหนดมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน
ในการนาเสนอบทเรี ยน
และมีกระบวนการบริหารจัดการอย่ างชัดเจน
112
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
34) มีเครื่ องแม่ ข่ายที่สามารถรองรั บ
จานวนนักศึกษาที่เข้ าใช้ พร้ อมๆ กัน
ตามจานวนที่กาหนด
35) ระบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต้องเหมาะสม
และมีแผนฉุกเฉินพร้ อมใช้
36) เนือ้ หาทุกรายวิชาต้ องถูกต้ องและทันสมัย
37) ต้ องทาความเข้ าใจกับนักศึกษาก่ อนเข้ าศึกษา
ว่ าต้ องเตรี ยมตัวอย่ างไร
113
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
38) ต้ องติดตามว่ าระบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
ควรต้ องปรั บปรุ งอย่ างไรและเมื่อใด
39) วิธีวัดผลการศึกษาต้ องเหมาะสม
40) การให้ บริการการเรี ยนการสอน
ต้ องเหมาะสมกับความต้ องการของนักศึกษา
ในแง่ ของเวลาและค่ าใช้ จ่าย
114
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
41) อาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่
ต้ องได้ รับการสนับสนุนทางเทคนิค
ในการจัดหาและซ่ อมบารุ งเครื่ องจักรอุปกรณ์
42) ต้ องจัดฝึ กอบรมการดูแล
และการใช้ เครื่ องจักรอุปกรณ์ ให้
- อาจารย์
- เจ้ าหน้ าที่
- นักศึกษา
115
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
43) ส่ งเสริมให้ ผ้ ูเกี่ยวข้ องให้ คาปรึกษา
และช่ วยเหลือซึ่งกันและกัน
44) ผู้สอนเสริมและเจ้ าหน้ าที่สนับสนุน
ควรได้ รับการส่ งเสริม
ให้ ร่วมพัฒนาหลักสูตรและรายวิชา
116
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
45) มีระบบสนับสนุนระบบไอที
สาหรั บอาจารย์ อาจารย์ สอนเสริม
และเจ้ าหน้ าที่ อย่ างเพียงพอ
46) เจ้ าหน้ าที่สนับสนุนต้ องได้ รับการอบรม
และสามารถให้ การสนับสนุนนักศึกษาได้ อย่ างดี
117
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
47) การปฏิบัตงิ านด้ านสนับสนุนอีเลิร์นนิ่ง
ของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ควรได้ รับการยอมรั บ
เป็ นผลงานในการเลื่อนขัน้ เงินเดือนและตาแหน่ ง
48) ต้ องแจ้ งให้ นักศึกษาทราบ
ว่ าต้ องใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดใด อย่ างไร
และทางสถาบันมีการสนับสนุนอย่ างไร
อาทิ ช่ วยอธิบายให้ ใช้ เครื่ องได้
แต่ ไม่ ซ่อมเครื่ องให้ เป็ นต้ น
118
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
49) ต้ องกาหนดระดับความรู้ ความสามารถ
ของนักศึกษาเข้ าใหม่ ให้ เหมาะสม
50) ต้ องมีคาอธิบายให้ นักศึกษาทราบล่ วงหน้ า
ว่ าจะต้ องมีทกั ษะอะไรในการศึกษาวิชาใด
และถ้ าไม่ มีทางสถาบันจะจัดให้ อย่ างไร
119
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากยุโรป (ต่ อ)
51) ต้ องมีห้องสมุดออนไลน์ ให้ นักศึกษาใช้
และให้ นักศึกษาพัฒนาเอกสารไว้ ใช้ เอง
ได้ ตลอดวันละ 24 ชั่วโมง
52) สถาบันการศึกษาต้ องให้ คามั่นสัญญา
ที่จะก่ อให้ เกิดระบบการเรี ยนการสอน
แบบอีเลิร์นนิ่งที่มีประสิทธิภาพ
120
9. ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากสหรัฐอเมริกา

ผู้ให้ บริการอีเลิร์นนิ่งทัง้ หลายในสหรั ฐอเมริกา
ต่ างกาหนดมาตรฐานการประกันคุณภาพอีเลิร์นนิ่ง
ซึ่งในจะขอเสนอตัวอย่ างจากมหาวิทยาลัย
แห่ งรั ฐเพนซิลเวเนีย (Penn State)
จากเว็บ “เอสซี
(www.sc.edu/ate/larryragan/docdesignstandards.pdf)”
มี 12 มาตรฐาน
121
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากอเมริกา (ต่ อ)
1) ด้ านการท่ องเว็บ (Navigation)
ต้ องให้ นักศึกษาสามารถหาข้ อมูลได้ โดยง่ าย
2) ด้ านการปฐมนิเทศ (Student Orientation)
ต้ องจัดปฐมนิเทศให้ นักศึกษา
(จะปฐมนิเทศออนไลน์ แบบอีเลิร์นนิ่งก็ได้ )
122
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากอเมริกา (ต่ อ)
3) ด้ านหลักสูตร (Syllabus)
ก่ อนเริ่มเรี ยนต้ องให้ นักศึกษา
เข้ าถึงข้ อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรที่มี
- คาอธิบายรายวิชา
- ข้ อกาหนดการสอบ
- การให้ คะแนน
123
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากอเมริกา (ต่ อ)
4) ด้ านการตอบคาถามและเวลาให้ นักศึกษาติดต่ อ
(Instructor Response and Availability)
ต้ องกาหนดเวลาให้ นักศึกษาตอบคาถาม
ภายใน 24 ชั่วโมง
และกาหนดเวลาออนไลน์ ให้ นักศึกษาติดต่ อ
124
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากอเมริกา (ต่ อ)
5) ด้ านข้ อกาหนดทรั พยากรที่ใช้ ในรายวิชา
(Course Resource Requirements)
ต้ องกาหนดฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์
และทรั พยากรอื่นๆ อาทิ
- บทความ
- หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
- ฐานข้ อมูล
เป็ นต้ น
125
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากอเมริกา (ต่ อ)
6) ด้ านการสนับสนุนทางเทคนิค
(Technical Support)
ต้ องจัดให้ นักศึกษาได้ รับข้ อมูล
ว่ าจะขอสนับสนุนทางเทคนิคได้ อย่ างไร
126
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากอเมริกา (ต่ อ)
7) ด้ านข้ อกาหนดการเข้ าถึงระบบ
(Accessibility Requirements)
ต้ องเป็ นไปตามข้ อกาหนดของสถาบันการศึกษา
อาทิ
- เข้ าถึงได้ ตลอดวันละ 24 ชั่วโมง
และสัปดาห์ ละ 7 วัน
- เข้ าถึงการตอบคาถาม (Help Desk)
เฉพาะในเวลาราชการ
เป็ นต้ น
127
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากอเมริกา (ต่ อ)
8) ด้ านวัตถุประสงค์ ทางการศึกษา
(Learning Objectives)
ต้ องกาหนดให้ ทราบว่ ารายวิชาใด
มีวัตถุประสงค์ อะไร
128
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากอเมริกา (ต่ อ)
9) ด้ านกิจกรรมการศึกษาและการวัดผล
(Learning Activities and Assessment)
ต้ องกาหนดให้ ชัดเจนว่ ามีกจิ กรรมอะไร อาทิ
- การตอบกระทู้ทุกสัปดาห์
- การส่ งการบ้ าน
- การเสนอโครงการ
- การสอบไล่ และสอบซ่ อม
เป็ นต้ น
129
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากอเมริกา (ต่ อ)
10) ด้ านลิขสิทธิ์ (Copyright Requirements)
วิชาออนไลน์ ต้องปฏิบัตติ ามข้ อกาหนด
ของสถาบันการศึกษาและกฎหมายลิขสิทธิ์
11) ด้ านใช้ งานคอร์ สแวร์ (Course Functionality)
ทุกด้ านของวิชารายวิชา
อาทิ การนาส่ ง (Delivery)
และการสนับสนุนนักศึกษา (Support) เป็ นต้ น
ต้ องใช้ ได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ
130
ตัวอย่ างการประกันคุณภาพจากอเมริกา (ต่ อ)
12) ด้ านการขอความเห็นจากนักศึกษา
เพื่อปรั บปรุ งรายวิชา
(Student Input for Course Improvements)
ต้ องจัดให้ นักศึกษาแสดงความเห็น
ให้ สถาบันพิจารณาปรั บปรุ งให้ เหมาะสม
131
10. สรุ ป


เป็ นที่ยอมรั บกันทั่วโลก
ว่ าอีเลิร์นนิ่งเป็ นทางเลือกที่สาคัญ
สาหรั บผู้ประสงค์ จะศึกษาหาความรู้
อีเลิร์นนิ่งจะได้ ผลดี
ก็ต่อเมื่อมีการประกันคุณภาพ
132
สรุ ป (ต่ อ)

ฉะนัน้ ผู้สนใจต้ องศึกษาหาความรู้
ด้ านการประกันคุณภาพอีเลิร์นนิ่ง
และนาไปประยุกต์ ใช้
ให้ เกิดประโยชน์ แก่ ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง
133