****************X***********X*******X******dW**eW**fW**gW**hW

Download Report

Transcript ****************X***********X*******X******dW**eW**fW**gW**hW

บนเส้ นทางไอที
ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
[email protected]
www.charm.au.edu
ประธานกรรมการและประธานผู้บริหาร
วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เอกสารประกอบการบรรยาย
เรื่ อง “บนเส้ นทางไอทีกับการศึกษาในประเทศไทย”
วันที่ 22 มกราคม 2553 ณ ห้ องประชุมชัน้ 15 อาคาร 100 ปี ศรี สุริยวงศ์ (อาคาร 6)
ผู้บรรยายร่ วม
ดร. พูลผล สื่อเสาวลักษณ์
อาจารย์ ประจาคณะ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
บนเส้ นทางไอที
1. บทบาทและมุมมองไอทีในประเทศไทย
2. ความก้ าวหน้ าในด้ านไอที
ต่ อการพัฒนาศักยภาพในสถาบันการศึกษา
3. การเพิ่มประสิทธิภาพด้ านไอทีให้ กับองค์ กร
และหน่ วยงาน
3
บทเส้ นทางไอที (ต่ อ)
4.
5.
6.
7.
8.
การนาไอทีไปปรั บใช้ ในชีวิตประจาวัน
แนวโน้ มด้ านไอทีและอนาคตบัณฑิตไทย
อีเลิร์นนิ่งที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
อนาคตของบัณฑิตไทยบนเส้ นทางไอที
สรุ ป
4
1. บทบาทและมุมมองไอทีในประเทศไทย
1.1 กล่ าวนา
1.2 การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ
1.3 การใช้ ไอทีในด้ านการศึกษา
1.4 การใช้ ไอทีในด้ านอุตสาหกรรม
5
1.1 กล่ าวนา


องค์ พระผู้จุดประกายด้ านไอทีสาหรั บประเทศไทย
คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั
พ.ศ. 2503 ทรงจุดประกายไอที
โดยเสด็จประพาสโรงงานไอบีเอ็ม
ที่ ซานโฮเซ แคลิฟอร์ เนีย สหรั ฐอเมริกา
6
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั
เสด็จประพาสไอบีเอ็มที่ซานโฮเซ แคลิฟอร์ เนีย
7
กล่ าวนา (ต่ อ)

พระวิสัยทัศน์ ในการเสด็จประพาสโรงงานไอบีเอ็ม
เป็ นการจุดประกาย
ให้ ชาวไทยตัดสินใจที่จะนาคอมพิวเตอร์ มาใช้
และให้ ทุน ศ. ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ไปเรี ยนปริญญาเอกด้ านคอมพิวเตอร์
ที่สหรั ฐอเมริกา
8
กล่ าวนา (ต่ อ)

ศ. ดร. ศรี ศักดิ์เป็ นคนไทยคนแรก
ที่จบปริญญาเอกด้ านคอมพิวเตอร์
(จาก จอร์ เจียเทค) เมื่อ13 มิถุนายน พ.ศ. 2507
แล้ วอยู่ทางานที่แคนาดาและอเมริกาจนได้ เป็ น
- ผู้อานวยการบัณฑิตวิทยาลัยคอมพิวเตอร์
ที่มหาวิทยาลัยมิซซูรี และเป็ นอยู่ 5 ปี
- ศาสตราจารย์ เต็มขัน้ คนแรก (Full Professor)
ที่มหาวิทยาลัยแห่ งรั ฐนิวยอร์ กในอเมริกา
9
กล่ าวนา (ต่ อ)

ต่ อมา ศ. ดร. ศรี ศักดิ์ได้ เป็ น
- ผู้แทนประเทศไทยในคณะกรรมการระดับสูง
ด้ านไอทีของอาเซียน
- ประธานสภาธุรกิจอีอาเซียน
10
กล่ าวนา (ต่ อ)

อีอาเซียนได้ สนับสนุนสมาชิกทัง้ 10 ประเทศ
ให้ ทาประเทศให้ อีเล็กทรอนิกส์ อาทิ
ประเทศไทยมี “อีไทยแลนด์ (eThailand)”
11
กล่ าวนา (ต่ อ)

“อีไทยแลนด์ (eThailand)” ประกอบด้ วย
- อีกัฟเวิร์นเมนต์ (eGovernment)
- อีคอมเมิร์ซ (eCommerce)
- อีโซไซตี (eSociety)
- อีเอดดูเคชั่น (eEducation)
- อีอินดัสทรี (eIndustry)
12
กล่ าวนา (ต่ อ)

ในบทความนีจ้ ะขอยกเป็ นตัวอย่ าง 3 ด้ าน
- อีคอมเมิร์ซ
- อีเอดดูเคชั่น
- อีอินดัสทรี
13
1.2 การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ


อีคอมเมิร์ซ (eCommerce) คือ
การค้ าขายผ่ านทางอินเทอร์ เน็ต
ทุกธุรกิจในไทยมีการใช้ ไอทีแทบทัง้ นัน้
- ธุรกิจด้ านการผลิตก็ใช้ ไอที อาทิ
การใช้ คอมพิวเตอร์ ออกแบบ
(CAD = Computer-Assisted Design)
และการใช้ คอมพิวเตอร์ การผลิต
(CAM = Computer Assisted Manufacturing)
14
การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ (ต่ อ)
- ธุรกิจบริการ อาทิ
โรงแรมส่ วนมากก็ใช้ ไอที เป็ นต้ น
- ธุรกิจค้ าขายก็ใช้ อีคอมเมิร์ซ
15
การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ (ต่ อ)

รายงานจากบริษัทวิจัยในจีน
ระบุว่า ปี 2552 มีชาวจีน 100 ล้ านคน
ซือ้ สินค้ าผ่ านอินเทอร์ เน็ต
มูลค่ ากว่ า 250,000 ล้ านหยวน
หรื อประมาณ 1.2 ล้ านล้ านบาท
16
การตลาดอีคอมเมิร์ซในสหรัฐอเมริกาปี พ.ศ. 2553-2556
พ.ศ.
มูลค่ า
(ล้ านล้ านบาท)
อัตรา
2553
5.0.1
9.8
2554
5.8
13.3
2555
6.5
11.4
2556
7.2
10.3
แหล่ งข้ อมูล: http://www.businessinsider.com/total-us-e-commerce-by-category-2009-10
17
การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ (ต่ อ)

ตลาดอีคอมเมิร์ซในไทยติดอันดับที่ 30 ของโลก
ส่ วนอันดับแรกคือ สหรั ฐอเมริกา
อันดับสอง คือ เยอรมันนี
อันดับสาม คือ ญี่ปุ่น
18
การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ (ต่ อ)


มาสเตอร์ การ์ ดคาดการณ์ ว่าในปี พ.ศ. 2553
มูลค่ าอีคอมเมิร์ซไทย
น่ าจะเป็ น 20,000 ล้ านเหรี ยญ
หรื อประมาณ 668,000 ล้ านบาท
ในจานวนผู้ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตที่เป็ นคนไทย
ปรากฏว่ านิยมซือ้ สินค้ าผ่ านอินเทอร์ เน็ตร้ อยละ 40
19
การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ (ต่ อ)

แนวโน้ มของกระแสเว็บเครื อข่ ายสังคม
ที่มาแรงในปี พ.ศ. 2552
ก็น่าจะแรงต่ อเนื่องไปจนถึงปี พ.ศ. 2553
และขยายอิทธิพลไปยังอีคอมเมิร์ซต่ างๆ
ให้ เข้ าไปอยู่ในเว็บเครื อข่ ายสังคมกันมากขึน้
จนอาจจะกลายเป็ นสังคมแห่ งอีคอมเมิร์ซ
หรื อ “โซเชียลคอมเมิร์ซ (Social Commerce)”
ก็เป็ นได้
20
การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ (ต่ อ)

สิงหาคม 2552
มีข้อมูลจากตลาดดอตคอม (Tarad.com)
ว่ าสินค้ าอีคอมเมิร์ซที่นิยมซือ้ หากันมากที่สุดคือ
อันดับที่หนึ่ง เครื่ องสาอางและแฟชั่น
อันดับที่สอง ตั๋ว
อันดับที่สาม หนังสือ
21
การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ (ต่ อ)

เว็บอีคอมเมิร์ซไทยที่ได้ รับความนิยม
จากผู้บริโภคห้ าอันดับแรกในเดือนตุลาคม 2552
- อันดับหนึ่งคือ เว็บประมูล (www.pramool.com)
มีผ้ ูเข้ าชม 166,096 คนต่ อวัน
- อันดับสองคือ เว็บวีเลิฟชอปปิ ้ ง
(www.weloveshopping.com)
มีผ้ ูเข้ าชม 133,709 คนต่ อวัน
22
อีคอมเมิร์ซในประเทศไทย (ต่ อ)
- อันดับสามคือ เว็บตลาด (www.tarad.com)
มีผ้ ูเข้ าชม 113,022 คนต่ อวัน
- อันดับสี่คือ เว็บพันทิพย์ มาร์ เก็ต
(www.pantipmarket.com)
มีผ้ ูเข้ าชม 85,770 คนต่ อวัน
- อันดับห้ าคือ เว็บไทยออนไลน์ มาร์ เก็ต
(www.thaionlinemarket.com)
มีผ้ ูเข้ าชม 76,937 คนต่ อวัน
23
การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ (ต่ อ)

“ฟลิกซ์ มีเดียทีวี (Flixmedia.tv)”
ผู้เชียวชาญทางด้ านเนือ้ หาออนไลน์
คาดการณ์ ว่า 5 นวัตกรรมที่จะเป็ นตัวขับเคลื่อน
ที่สาคัญสาหรั บการซือ้ ขายสินค้ าผ่ านอินเทอร์ เน็ต
ในปี พ.ศ. 2553 คือ
- อันดับแรกคือ การนาโลกเสมือน
มารวมกับความเป็ นจริง (Augmented Reality)
- อันดับสอง คือ เหมืองข้ อมูล (Data Mining)
24
การใช้ ไอทีในด้ านธุรกิจ (ต่ อ)
- อันดับสาม คือ การซือ้ สินค้ า
โดยใช้ พกิ ัดทางภูมศิ าสตร์
(Mobile Purchasing and Geo-locating)
- อันดับสี่ คือ การเปลี่ยนแปลงแบบเวลาจริง
(Real-time Revolution)
- อันดับห้ า คือ อีคอมเมิร์ซแบบที่เป็ นความบันเทิง
(Ecommerce as Entertainment)
25
การนาโลกเสมือนมารวมกับ
ความเป็ นจริง (Augmented Reality)

การนาโลกเสมือนจริง
มารวมกับความเป็ นจริง
คือ การใช้ รูปภาพและวิดีโอ
มาประกอบการโฆษณา
26
การนาโลกเสมือนมารวมกับความเป็ นจริง
แหล่ งข้ อมูล: http://en.wikipedia.org/wiki/File:Wikitude.jpg
27
เหมืองข้ อมูล (Data Mining)

การวิเคราะห์ สารสนเทศ
เพื่อนาไปใช้ ในการตลาด
อาทิ วิเคราะห์ พบว่ า
ผู้ชายที่ไปซือ้ ผ้ าอ้ อมเวลากลางคืน
มักซือ้ เบียร์ จงึ วางผ้ าอ้ อมไว้ ตดิ กับเบียร์
เป็ นต้ น
28
การซือ้ สินค้ าโดยใช้ พกิ ัดทางภูมศิ าสตร์
(Mobile Purchasing and Geo-locating)


จากการสารวจของ “ดีลอยต์ (Deloitte)”
เปิ ดเผยว่ า หนึ่งในห้ าของผู้ซือ้ สินค้ า
วางแผนที่จะใช้ อุปกรณ์ มือถือ
เพื่อช่ วยในการซือ้ สินค้ า
ผ่ านอินเทอร์ เน็ต
การใช้ พกิ ัดทางภูมศิ าสตร์ ผ่านมือถือ
ช่ วยให้ ลูกค้ าทราบว่ าร้ านอยู่ท่ ใี ด
29
การเปลี่ยนแปลงแบบเวลาจริง
(Real-time Revolution)

ผู้ค้าสามารถปฏิสัมพันธ์ กับลูกค้ า
ได้ แบบเวลาจริง
อาทิ การใช้ ทวิตเทอร์ โต้ ตอบกัน เป็ นต้ น
30
อีคอมเมิร์ซแบบที่เป็ นความบันเทิง
(Ecommerce as Entertainment)

อีคอมเมิร์ซในฐานะแหล่ งบันเทิง
ตัวอย่ างเช่ น บายทีวี (Buy.tv)
และ เจซีเพนเนย์ (JC Penney)
ทาวิดีโอและวีดทิ ศั น์ ท่ มี ีความสนุกสนาน
ประกอบการโฆษณาสินค้ า
ให้ ผ้ ูซือ้ ได้ รับความบันเทิงในการชมโฆษณา
31
1.3 การใช้ ไอทีในด้ านศึกษา
1.3.1 ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2548
1.3.2 ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2549
1.3.3 ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2550
1.3.4 ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2551
1.3.5 ผลการสารวจสมาคมสโลน
กับสมาคมมหาวิทยาลัยของรั ฐ พ.ศ. 2552
32
การใช้ ไอทีในด้ านศึกษา (ต่ อ)


มีการใช้ ไอทีในการศึกษาทุกด้ าน อาทิ
- วางแผนการศึกษา
- บริหารการศึกษา
- บริการการศึกษา
นอกจากใช้ ไอทีดังกล่ าว
แล้ วยังมีการเรี ยนการสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง
คือ การเรี ยนการสอนผ่ านอินเทอร์ เน็ต
ไม่ ต้องเข้ าห้ องเรี ยน
33
การใช้ ไอทีในด้ านศึกษา (ต่ อ)

อีเลิร์นนิ่งเป็ นแนวโน้ มของการศึกษาแบบใหม่
ที่คาดว่ าในอนาคตจะเป็ นการศึกษาหลัก
และการเรี ยนแบบในห้ องเรี ยน
จะเป็ นเพียงการสอนเสริม
34
การใช้ ไอทีในด้ านศึกษา (ต่ อ)

อีเลิร์นนิ่งช่ วยลดช่ องว่ างทางการศึกษา
เพราะเป็ นการเรี ยนแบบใครก็ได้
จากที่ใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้
(Anyone, Anywhere, Anytime)
35
การใช้ ไอทีในด้ านศึกษา (ต่ อ)

นอกจากระบบการศึกษาไทย
จะก้ าวทันนานาประเทศแล้ ว
อีเลิร์นนิ่งยังเป็ นช่ องทาง
ที่น่าจะมีโอกาสต่ อยอดไป
เป็ นอุตสาหกรรมอีเลิร์นนิ่ง
และมีกาไรเช่ นเดียวกับธุรกิจอีเลิร์นนิ่ง
ในต่ างประเทศ
36
การใช้ ไอทีในด้ านศึกษา (ต่ อ)

ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
บิดาอีเลิร์นนิ่งไทย
และซีอีโอของวิทยาลัยการศึกษาทางไกล
อินเทอร์ เน็ตเป็ นผู้ยกร่ างประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ
37
การใช้ ไอทีในด้ านศึกษา (ต่ อ)

ใช้ เวลา 3 ปี พบรั ฐมนตรี 5 ท่ าน
ในที่สุดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่ องหลักเกณฑ์ การขอเปิ ดและดาเนินการ
หลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล
พ.ศ. 2548 ลงในราชกิจจานุเบกษา
เล่ ม 122 ตอนพิเศษ 1209 วันที่ 26 ตุลาคม 2548
38
อีเลิร์นนิ่งในประเทศไทย

ในสหรั ฐอเมริกามีการสารวจด้ านอีเลิร์นนิ่ง
จากสมาคมสโลน (Sloan Consortium)
เป็ นกลุ่มสถาบันการศึกษาและหน่ วยงานต่ างๆ
สนับสนุนคุณภาพของอีเลิร์นนิ่ง
39
สมาคมสโลน
40
ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
และ บรู ซ เอ็น ชาลุกซ์ (Bruce N. Chaloux)
ประธานสมาคมสโลน
41
ผลสารวจสมาคมสโลน (ต่ อ)

เมื่อพฤศจิกายน 2548
มีข้อมูลในอินเทอร์ เน็ตว่ า
มูลนิธิสโลนได้ จัดทารายงานผลสารวจ
เรื่ อง “อีเลิร์นนิ่งระดับปริญญาผุดขึน้ มามากมาย:
การศึกษาออนไลน์ ในสหรั ฐอเมริกา พ.ศ. 2548”
เป็ นรายงานเกี่ยวกับสถานการณ์
ด้ านการศึกษาแบบอีเลิร์นนิ่ง
ในระดับอุดมศึกษาในสหรั ฐอเมริกา
42
ผลสารวจสมาคมสโลน (ต่ อ)

ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ได้ อีเมล์ ไปขออนุญาต
และได้ รับอนุญาตให้ แปลรายงาน
จากภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทย
43
ผลสารวจสมาคมสโลน (ต่ อ)

ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน ทาเรื่ องขอทุน
และได้ รับทุนจากมูลนิธิอาเซีย
ให้ แปลและจัดพิมพ์ จ่ายแจกทัง้ ที่เป็ นรู ปเล่ ม
และให้ ดาวน์ โหลดได้ จากเว็บ “www.charm.au.edu”
44
เว็บ “www.charm.au.edu”
45
ประเภทการเรียนการสอนจากสมาคมสโลน
สัดส่ วนที่นาเสนอ
ทางอินเทอร์ เน็ต
0%
1-29%
ประเภทการเรียนการสอน
แบบดัง้ เดิม
(Traditional)
แบบใช้ เว็บช่ วย
(Web-Facilitated)
30-79%
แบบลูกผสม
(Blended/Hybrid)
80-100%
แบบออนไลน์ หรื ออีเลิร์นนิ่ง
(Online/eLearning)
46
1.3.1 ผลสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2548
จากรายงานของสมาคมสโลน เมื่อพฤศจิกายน 2548
เรื่ อง “อีเลิร์นนิ่งระดับปริญญาผุดขึน้ มามากมาย:
การศึกษาออนไลน์ ในสหรั ฐอเมริกา พ.ศ. 2548
(Growing by Degrees: Online Education
in the United States, 2005)”
 ในบรรดาสถานศึกษาที่เปิ ดสอนระดับบัณฑิตศึกษา
ในห้ องเรี ยนนัน้
ร้ อยละ 65 สอนแบบอีเลิร์นนิ่งด้ วย
47
ผลสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2548 (ต่ อ)



ในบรรดาสถานศึกษาที่เปิ ดสอนระดับปริญญา
ในห้ องเรี ยนนัน้
ร้ อยละ 63 สอนแบบอีเลิร์นนิ่งด้ วย
ร้ อยละ 74 ของสถานศึกษาของรั ฐ
ให้ อาจารย์ ท่ สี อนในห้ องเรี ยนสอนแบบอีเลิร์นนิ่งด้ วย
ร้ อยละ 56 ของสถานศึกษา
ระบุว่า อีเลิร์นนิ่งเป็ นส่ วนสาคัญ
ของแผนยุทธศาสตร์ ระยะยาว
48
ผลสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2548 (ต่ อ)


ผู้บริหารการศึกษาส่ วนมาก
เชื่อว่ า อาจารย์ ต้องใช้ ความมานะอุตสาหะ
ในการสอนแบบอีเลิร์นนิ่งมากกว่ าแบบในห้ องเรี ยน
ร้ อยละ 82 ของอาจารย์
เชื่อว่ า การวัดคุณภาพการเรี ยนการสอน
แบบอีเลิร์นนิ่ง
ไม่ ได้ ยากกว่ าการวัดคุณภาพแบบในห้ องเรี ยน
49
1.3.2 ผลสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2549
จากรายงานของสมาคมสโลน เมื่อพฤศจิกายน 2549
เรื่ อง “กาลังไปได้ อย่ างดี: อีเลิร์นนิ่งในสหรั ฐอเมริกา
พ.ศ. 2549 (Making the Grade: Online Education
in the United States, 2006)”
 จานวนนักศึกษาอีเลิร์นนิ่งระดับอุดมศึกษา
ในอเมริกาที่เพิ่มขึน้ ใน พ.ศ. 2548 เป็ น 2 เท่ า
ของจานวนนักศึกษาที่เพิ่มขึน้ ใน พ.ศ. 2547
50
ผลสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2549 (ต่ อ)


มากกว่ าร้ อยละ 96
ของมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ ในอเมริกา
เปิ ดอีเลิร์นนิ่ง
ร้ อยละ 62 ของผู้นาการศึกษาในอเมริกา
เชื่อว่ า การศึกษาแบบอีเลิร์นนิ่ง
มีคุณภาพเท่ ากับหรื อดีกว่ า
การศึกษาแบบในห้ องเรี ยน
51
1.3.3 ผลสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2550
จากรายงานของสมาคมสโลน เมื่อพฤศจิกายน 2550
เรื่ อง “ประเทศออนไลน์ : ห้ าปี ของการเจริญเติบโต
อย่ างต่ อเนื่องด้ านอีเลิร์นนิ่ง
(Online Nation: Five Years of Growth in Online Learning)”
 นักศึกษาเกือบ 3.5 ล้ านคน
ได้ ลงทะเบียนเรี ยนแบบอีเลิร์นนิ่งอย่ างน้ อย 1 วิชา
ในปี การศึกษา พ.ศ. 2549
จานวนดังกล่ าวเพิ่มขึน้ ประมาณร้ อยละ 9.7
จากปี พ.ศ. 2548
52
ผลสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2550 (ต่ อ)


สถาบันการศึกษาประเภทอนุปริญญา
มีอัตราการเจริญเติบโตแบบอีเลิร์นนิ่งสูงที่สุด
โดยนับเป็ นกว่ าร้ อยละ 50 ของจานวนนักศึกษา
ด้ านอีเลิร์นนิ่งทัง้ หมด
สถาบันการศึกษาระดับปริญญาตรี
มีนักศึกษาแบบอีเลิร์นนิ่งน้ อยที่สุด
และมีอัตราการเจริญเติบโตแบบอีเลิร์นนิ่ง
น้ อยที่สุดด้ วย
53
ผลสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2550 (ต่ อ)


ร้ อยละ 69 ของผู้นาด้ านการศึกษา
เชื่อว่ า ความต้ องการของนักศึกษา
ที่จะศึกษาแบบอีเลิร์นนิ่งยังจะเพิ่มขึน้ ต่ อไป
ร้ อยละ 83 ของสถาบันการศึกษา
ที่เปิ ดการศึกษาแบบอีเลิร์นนื่ง
คาดว่ า จานวนนักศึกษาแบบอีเลิร์นนิ่ง
จะเพิ่มขึน้ ในปี ต่ อๆ ไป
54
1.3.4 ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2551

จากรายงานของสมาคมสโลน เมื่อพฤศจิกายน 2551
เรื่ อง “รั กษาระดับไว้ ได้ : การศึกษาออนไลน์
ในสหรั ฐอเมริกา พ.ศ. 2551 (Staying The Course:
Online Education in the United States, 2008)”
- เกือบ 3.9 ล้ านคนได้ ลงทะเบียนเรี ยนแบบอีเลิร์นนิ่ง
ในระดับอุดมศึกษาในอเมริกา
นับได้ ว่าเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 12.9 จากปี พ.ศ. 2549
55
ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2551 (ต่ อ)


ร้ อยละ 20 ของนักศึกษาในอเมริกา
เรี ยนอีเลิร์นนิ่งอย่ างน้ อย 1 วิชา
ร้ อยละ 96 ของนักศึกษาในอเมริกา
คิดว่ าเมื่อตกงานก็จะกลับไปศึกษาเพิ่ม
56
ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2551 (ต่ อ)

ร้ อยละ 94 ของนักศึกษาในอเมริกา
คิดว่ า หากราคานา้ มันสูงขึน้
ก็จะเลือกเรี ยนแบบอีเลิร์นนิ่ง
57
ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2551 (ต่ อ)

ร้ อยละของสถาบันที่มีสาขาวิชาแบบอีเลิร์นนิ่ง
เต็มหลักสูตร เมื่อ พ.ศ. 2550 ดังนี ้
- ร้ อยละ 16 ของวิศวกรรมศาสตร์
- ร้ อยละ 24 ของจิตวิทยา
- ร้ อยละ 28 ของสังคมศาสตร์
58
ร้ อยละของสถาบันที่มีสาขาวิชาอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)
-
ร้ อยละ 31 ของไอที
ร้ อยละ 31 ของศึกษาศาสตร์
ร้ อยละ 33 ของสาธารณสุขศาสตร์
ร้ อยละ 33 ของศิลปศาสตร์
ร้ อยละ 34 ของบริหารธุรกิจ
59
1.3.5 ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2552

เมื่อ 31 สิงหาคม 2552
สมาคมสโลนร่ วมกับสมาคมมหาวิทยาลัยของรั ฐ
ประกาศรายงานเรื่ อง
“อีเลิร์นนิ่งในฐานะยุทธศาสตร์ ท่ มี ีคุณค่ า
(Online Learning as a Strategic Asset)”
60
ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2552 (ต่ อ)

รายงานนีเ้ ป็ นผลงานของ
คณะกรรมการระดับชาติเรื่ อง “อีเลิร์นนิ่ง”
ระหว่ างสมาคมสโลน
กับสมาคมมหาวิทยาลัยของรั ฐ
ซึ่งตัง้ ขึน้ เมื่อ พฤษภาคม 2550
61
ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2552 (ต่ อ)

ผลสรุ ปทั่วไปมี 7 ข้ อ
(1) หลักสูตรอีเลิร์นนิ่งอาจประสบผลสาเร็จสูงสุด
เมื่อสถาบันมีการวางแผนและดาเนินการ
อย่ างมียุทธวิธีท่ ดี ี
(2) อีเลิร์นนิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่ างรวดเร็ ว
ฉะนัน้ สถาบันต่ างๆ ต้ องมีการทบทวน
และวัดผลอยู่ตลอดเวลา
62
ผลสรุ ปทั่วไป (ต่ อ)
(3) อีเลิร์นนิ่งของสถาบันจะมีความเข้ มแข็ง
เมื่อมีหน่ วยงานกลางสนับสนุนดูแล
(4) สถาบันควรมีหน่ วยงานกลาง
เพื่อดูแลด้ านวิชาการอีเลิร์นนิ่ง
(5) อีเลิร์นนิ่งจาเป็ นต้ องมีการดูแลด้ านการเงิน
ให้ สามารถดารงอยู่ได้ และเจริญเติบโตต่ อไป
63
ผลสรุ ปทั่วไป (ต่ อ)
(6) อีเลิร์นนิ่งจะประสบผลสาเร็จ
เมื่อมีทรั พยากรสนับสนุนคณาจารย์
และนักศึกษาในด้ านต่ างๆ อาทิ
- วิชาการ
- การบริหาร
- เทคโนโลยี
เป็ นต้ น
64
ผลสรุ ปทั่วไป (ต่ อ)
(7) หลักสูตรอีเลิร์นนิ่ง
อาจจะเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์ กร
และได้ รับการยอมรั บเป็ นส่ วนสาคัญของสถาบัน
เมื่อได้ รับการสนับสนุนอย่ างเต็มที่
จากผู้บริหารระดับสูงและอาจารย์ อาวุโส
65
ผลการสารวจสมาคมสโลน พ.ศ. 2552 (ต่ อ)

มีผลสรุ ปสาหรั บผู้บริหารระดับสูง 4 ข้ อ
(1) ผู้บริหารระดับสูงต้ องศึกษาหาความเข้ าใจ
ผู้เกี่ยวข้ องกับอีเลิร์นนิ่งในสถาบันของตน
และใช้ ยุทธวิธีท่ ดี ีในการสื่อสาร
กับคณาจารย์ ทงั ้ หลาย
66
ผลสรุ ปสาหรับผู้บริหารระดับสูง (ต่ อ)
(2) ผู้บริหารระดับสูงต้ องสื่อสารกับอาจารย์
และเจ้ าหน้ าที่ทงั ้ หมดเป็ นระยะๆ
ว่ าวัตถุประสงค์ และบทบาทของอีเลิร์นนิ่ง
เกี่ยวข้ องอย่ างไรกับเป้าประสงค์ ของสถาบัน
และคุณภาพของสถาบัน
และว่ าทุกคนในสถาบันต้ องร่ วมมือร่ วมใจกัน
ดาเนินการปรั บปรุ งคุณภาพของอีเลิร์นนิ่ง
67
ผลสรุ ปสาหรับผู้บริหารระดับสูง (ต่ อ)
(3) ผู้บริหารระดับสูงต้ องศึกษาหาข้ อมูล
ว่ ามีแรงบันดาลใจอย่ างไร
ที่จะทาให้ คณาจารย์ สนใจไปสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง
เพื่อให้ สถาบันสามารถเพิ่มจานวนอาจารย์
ที่สอนแบบอีเลิร์นนิ่ง
68
ผลสรุ ปสาหรับผู้บริหารระดับสูง (ต่ อ)
(4) ผู้บริหารและผู้มีอานาจในสถาบัน
จาเป็ นต้ องศึกษาปรั บปรุ งโยบายของสถาบัน
ในด้ านแรงบันดาลใจสาหรั บคณาจารย์
โดยเฉพาะอย่ างยิ่ง
- ในสถานการณ์ วิกฤตทางการเงิน
จะใช้ แรงบันดาลใจใดแทนเงินได้ บ้าง
69
แรงบันดาลใจสาหรับคณาจารย์ (ต่ อ)
- ในการที่อาจารย์ สอนแบบอีเลิร์นนิ่ง
ต้ องใช้ เวลาและต้ องทางาน
ในการสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง
มากกว่ าที่ใช้ ในการสอนในห้ องเรี ยน
70
1.4 การใช้ ไอทีในด้ านอุตสาหกรรม
1.4.1 ซอฟต์ แวร์ อีอาร์ พี (ERP)
1.4.2 ซอฟตแวร์ ซีอาร์ เอ็ม (CRM)
1.4.3 ซอฟตแวร์ เอ็มอาร์ พี (MRP)
71
การใช้ ไอทีในด้ านอุตสาหกรรม (ต่ อ)

มีการใช้ ไอทีในด้ านอุตสาหกรรมต่ างๆ อาทิ
- อุตสาหกรรมอาหาร (Food)
- อุตสาหกรรมยานยนต์ (Automotive)
- อุตสาหกรรมเคมี (Chemical)
เป็ นต้ น
72
การใช้ ไอทีในด้ านอุตสาหกรรม

การนาซอฟต์ แวร์ ต่างๆ เข้ าไปใช้ งาน
อาทิ ในด้ านการผลิต
และด้ านการจัดการข้ อมูลข่ าวสาร
เพื่อให้ ผลิตสินค้ าได้ มากขึน้ ราคาถูกลง
และให้ บริการลูกค้ าได้ สะดวกมากขึน้ เป็ นต้ น
73
1.4.1 ซอฟต์ แวร์ อีอาร์ พี

ซอฟต์ แวร์ อีอาร์ พี คือ
ระบบการวางแผนทรั พยากรทัง้ องค์ กร
(Enterprise Resource Planning)
ซึ่งเข้ ามาบทบาทในด้ านการควบคุมการผลิต
ทาให้ สามารถปรั บเปลี่ยนขัน้ ตอนในการผลิต
ได้ ง่ายและสะดวก
74
ซอฟต์ แวร์ อีอาร์ พี

จุดเด่ นของอีอาร์ พี
- ลดต้ นทุนจากการจัดเตรี ยมวัตถุดบิ
- ลดความผิดพลาดต่ างๆ
ที่เกิดขึน้ ในการป้อนข้ อมูล
(มีรายละเอียดในข้ อ 3.5 ที่จะกล่ าวถึงต่ อไป)
75
ซอฟต์ แวร์ อีอาร์ พี
แหล่ งข้ อมูล: http://erp.manufacturer-supplier.com/erp_modules.GIF
76
1.4.2 ซอฟต์ แวร์ ซีอาร์ เอ็ม

ซอฟต์ แวร์ ซีอาร์ เอ็ม คือ
ระบบการจัดการลูกค้ าสัมพันธ์
(Customer Relationship Management)
เป็ นการเก็บและวิเคราะห์ ข้อมูลในการใช้ จ่าย
และความต้ องการของลูกค้ า
77
ซอฟต์ แวร์ ซีอาร์ เอ็ม

จุดเด่ นของซอฟต์ แวร์ ซีอาร์ เอ็ม
- วางแผนทางด้ านตลาดอย่ างเหมาะสม
- มีข้อมูลลูกค้ าในด้ านต่ างๆ
เช่ น ข้ อมูลส่ วนตัวและพฤติกรรม
ในการซือ้ สินค้ า เป็ นต้ น
- ลดการทางานที่ซา้ ซ้ อน
- ลดค่ าใช้ จ่ายและเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน
(มีรายละเอียดในข้ อ 3.5 ที่จะกล่ าวถึงต่ อไป)
78
ซอฟต์ แวร์ ซีอาร์ เอ็ม
แหล่ งข้ อมูล: http://www.getfast.co.uk/images/crm.jpg
79
1.4.3 ซอฟต์ แวร์ เอ็มอาร์ พี

ซอฟต์ แวร์ เอ็มอาร์ พี คือ
ระบบการวางแผนความต้ องการวัสดุ
(Material Requirement Planning)
โดยคานวณความต้ องการส่ วนประกอบ
ของผลิตภัณฑ์ ในแต่ ละช่ วงเวลา
80
ซอฟต์ แวร์ เอ็มอาร์ พี (ต่ อ)

ซอฟต์ แวร์ เอ็มอาร์ พีมีระบบพืน้ ฐาน 2 ระบบ
1) ระบบจัดการสั่งซือ้
(Purchasing Management System)
2) ระบบควบคุมวัสดุคงคลัง
(Inventory Control System)
81
1) ระบบจัดการสั่งซือ้
(Purchasing Management System)
อาทิ
- ระบบจัดการใบสั่งซือ้ (Purchase Order)
- ระบบจัดการใบแจ้ งการสั่งซือ้
(Purchase Request)
- ระบบจัดการใบขอให้ เสนอราคา
(Request for Quotation)
เป็ นต้ น
82
2) ระบบควบคุมวัสดุคงคลัง
(Inventory Control System)
อาทิ
- ฐานข้ อมูลโครงสร้ างผลิตภัณฑ์
(Product Structure Database)
- ใบแสดงรายการพัสดุ (BOM = Bill Of Material)
- ระบบการรั บ-จ่ ายของคงคลัง
(Inventory Transactions System)
เป็ นต้ น
83
ซอฟต์ แวร์ เอ็มอาร์ พี (ต่ อ)

จุดเด่ นของเอ็มอาร์ พี
- สามารถวางแผนการจัดการวัตถุดบิ ตามหลักสากล
- เก็บเป็ นองค์ ความรู้ อาทิ มาตรฐานการผลิต
วิธีการบริหารจัดการคลังสินค้ า
วิธีส่ ังซือ้ มีประสิทธิภาพ
- สามารถเรี ยกดูรายงานการสรุ ปผลได้
84
ซอฟต์ แวร์ เอ็มอาร์ พี
แหล่ งข้ อมูล: http://www.extol.com.my/images/mrpChart.jpg
85
2. ความก้ าวหน้ าในด้ านไอที
ต่ อการพัฒนาศักยภาพในสถาบันการศึกษา
2.1 การใช้ ไอทีในการบริหารการศึกษา
2.2 ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในประเทศไทย
86
2.1 การใช้ ไอทีในการบริหารการศึกษา

การบริหารการศึกษายุคใหม่
จาเป็ นต้ องใช้ ไอที
เข้ าไปช่ วยจัดการระบบสารสนเทศให้ เป็ นระบบ
และสามารถใช้ งานได้ อย่ างเต็มประสิทธิภาพ
ในที่นีข้ อยกตัวอย่ าง
ระบบสารสนเทศที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
87
ระบบสารสนเทศที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

พ.ศ. 2537 ภราดา ดร. ประทีป มาร ติน โกมลมาศ
อธิการบดีขณะนัน้ ได
กรุ ณาแต งตัง้ ให้ ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เป็ นประธานประสานงานคอมพิวเตอร
(CASC = Computing Activity Steering Committee)
88
คณะกรรมการประสานงานคอมพิวเตอร์
มีคณะกรรมการ (ในขณะนัน้ ) คือ
1. ภราดา ดร. ประทีป มาร ติน โกมลมาศ
อธิการบดี 2. ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ประธานกรรมการ 3. ภราดา ดร. บัญชา แสงหิรัญ
กรรมการ
4. ภราดา วิศิษฐ ศรี วิชัยรั ตน
กรรมการ
5. ดร.วินธัย โกกระกูล
กรรมการ
6. ดร. เกสร ชินนะเมธีพทิ กั ษ
กรรมการ
7. ดร. สุทธิพร ปทุมเทวาภิบาล
กรรมการ
89
คณะกรรมการประสานงานคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)
9. ดร. ประทิต สันติประภพ
10. ดร. เชิดชัย เชี่ยวธีรกุล
11. ดร. ธิตพ
ิ งษ ตันประเสริฐ
12. อ. สุภาวดี นนทแก ว
13. อ. กมล กิจสวัสดิ์
14. อ. ฟ รุ ส อนารากิ
15. อ. วิชัย ศัทธโชตินัน
16. อ. นรนุช ไผ แก ว
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
90
โครงสร้ างเครือข่ ายมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
1) การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตกับต่ างประเทศ
2) การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตระหว่ างวิทยาเขต
91
1) การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตกับต่ างประเทศ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ได้ เช่ าช่ องสัญญาณกับ 2 บริษัท คือ
- บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จากัด (มหาชน)
- บริษัท ทริปเปิ ลที บรอดแบนด์ จากัด (มหาชน)
92
การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตกับต่ างประเทศ (ต่ อ)

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้ เช่ าช่ องสัญญาณ
รวมทัง้ สิน้ 500 Mb/s โดยแยกการเช่ า ดังนี ้
- Csloxinfo
* Huamark Campus 150 Mb/s
* Suvarnaphumi
150 Mb/s
- TTT
* Huamark Campus 100 Mb/s
* Suvarnaphumi
100 Mb/s
93
2) การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตระหว่ างวิทยาเขต

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ได้ เชื่อมต่ อภายในระหว่ างวิทยาเขต คือ
ระหว่ างวิทยาเขตหัวหมากกับวิทยาเขตสุวรรณภูมิ
และระหว่ างวิทยาเขตหัวหมากกับ City Campus
ตามรายละเอียด ดังนี ้
- วิทยาเขตหัวหมากกับวิทยาเขตสุวรรณภูมิ 4 Gb/s
- วิทยาเขตหัวหมากกับ City Campus
16 Mb/s
94
ระบบสารสนเทศที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ต่ อ)

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
นาระบบสารสนเทศมาใช้ ในการปฏิบัตงิ าน อาทิ
- สานักบริหาร (Administration)
- สานักทรั พยากรบุคคล (Human Resource)
- สานักทะเบียน (Registrar)
- สานักบริหารการเงิน (Finance)
- สานักวิชาการ (Academic)
- สานักห้ องสมุด (Library)
เป็ นต้ น
95
ระบบสารสนเทศที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ต่ อ)

โครงสร้ างระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ประกอบด้ วย
1) ระบบระดับกลยุทธ์
2) ระบบระดับการจัดการ
3) ระบบระดับความรู้
4) ระบบระดับปฏิบัตกิ าร
96
1) ระบบระดับกลยุทธ์
การคาดการณ์ แนวโน้ มในระยะ 5 ปี
 วางแผนการปฏิบัตงิ านในระยะ 5 ปี
 การคาดการณ์ งบประมาณในระยะ 5 ปี
 การวางแผนรายรั บรายจ่ าย
 การวางแผนด้ านบุคลากร
เป็ นต้ น

97
2) ระบบระดับการจัดการ
การวิเคราะห์ การเจริญเติบโตของจานวนนักศึกษา
 การวิเคราะห์ พฤติกรรมของนักศึกษา
 การวิเคราะห์ รายรั บรายจ่ าย
 การจัดการการลงทะเบียน
 การควบคุมสินค้ าคงคลัง
 งบประมาณประจาปี
เป็ นต้ น

98
3) ระบบระดับความรู้
ซอฟต์ แวร์ ช่วยสอน
 สถานีงานของผู้บริ หาร
 การจัดการการประมวลผลข้ อมูล
 อีเมล์
เป็ นต้ น

99
4) ระบบระดับปฏิบัตกิ าร





ฝ่ ายกิจการนักศึกษา
สานักงานทรั พยากรบุคคล
สานักงานบริหารการเงิน
สานักห้ องสมุด
สานักงานบริหารและจัดการ
100
โครงสร้ างระบบสารสนเทศที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
Strategic-Level Systems
5-year
Sales trend
forecasting
Executive
Support Systems
5-year
Operating
plan
5-year
Budget
forecasting
Profit
planning
Personnel
planning
Management-Level Systems
DecisionSupport Systems
Student Growth
Analysis
Management
Information Systems
Enrollment
Management
Student
Performance Analysis
Inventory
Control
Annual
Budgeting
Pricing/profitability
analysis
Capital
Investment Analysis
Cost
analysis
Managerial
Work Analysis
Knowledge-Level Systems
Knowledge
Work Systems
Instruction Aids
Course Ware
Curriculum Design
IT for Classroom
Managerial
workstations
Office
Systems
Word processing
Project Management
Document
imaging
E-mail
Internet
Operational-Level Systems
Transaction
Processing
Systems
Admission
Enrollment
Academic Result
Graduation
Student Activities
Disciplinary
Scholarship
Student Management
Student
Employee Profile
Compensation
Work Scheduling
Training
Welfare
Payroll
Taxation
Human Resource
Procurement
Order Tracking
Order Processing
Asset Management
Cash Management
Accounts Payable
Accounts Receivable
General Ledger
Book Acquisition
Book Disbursement
On-line Catalogue
Book Borrow/Return
Finance
Library
Exam. Seating Arrangement
Vehicle Profile and Maintenance
Vehicle Usage Record
Utilities Expenditure Record
Document Management
101
Administration
2.2 ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในประเทศไทย


พ.ศ. 2516 ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เป็ นคนไทยคนแรกที่ทาอีเลิร์นนิ่ง
(ตอนเป็ นศาสตราจารย์ เต็มขัน้
ที่มหาวิทยาลัยแห่ งรั ฐนิวยอร์ ก)
พ.ศ. 2543 ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ให้ สัมภาษณ์ ลง “คอร์ ปอเรตไทยแลนด์ ”
ว่ าจะทาอีเลิร์นนิ่ง
ซึ่งจะมีกาไรมากกว่ าอีคอมเมิร์ซ
102
ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในไทย (ต่ อ)


พ.ศ. 2545 ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เสนอนายกรั ฐมนตรี
และรั ฐมนตรี ทบวงมหาวิทยาลัย
ขอให้ อัสสัมชัญเปิ ดสอนอีเลิร์นนิ่ง
พ.ศ. 2545 ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ได้ ยกร่ างกฎหมายอีเลิร์นนิ่งฉบับแรกของไทย
103
ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในไทย (ต่ อ)


พ.ศ. 2546 ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ในฐานะผู้ก่อตัง้ และประธานเอแบคโพลล์
สั่งให้ สารวจเรื่ องอีเลิร์นนิ่ง
พบว่ า ร้ อยละ 77 ของผู้ตอบแบบสอบถาม
สนใจจะเรี ยนต่ อแบบอีเลิร์นนิ่ง
15 กันยายน 2546 ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ส่ งบันทึกถึงนายกรั ฐมนตรี
ขอให้ ช่วยเร่ งรั ดการประกาศกฎหมายอีเลิร์นนิ่ง
104
ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในไทย (ต่ อ)

26 พฤศจิกายน 2546
ทบวงมหาวิทยาลัยจัดสัมมนาพิจารณ์
กฎหมายอีเลิร์นนิ่ง
ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ในฐานะนายกสมาคมคอมพิวเตอร์ แห่ งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์
ได้ ทาหน้ าที่เสนอร่ างกฎหมายในตอนเช้ า
และทาหน้ าที่ดาเนินการสัมมนาพิจารณ์ ในตอนบ่ าย
105
ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในไทย (ต่ อ)

พ.ศ. 2547 ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ได้ รับเลือกตัง้ เป็ นประธานสภาธุรกิจอาเซียน
เสนอรั ฐมนตรี อาเซียนให้ สนับสนุนอีเลิร์นนิ่ง
รั ฐมนตรี เห็นด้ วยและมอบหมาย
ให้ สารวจสภาพอีเลิร์นนิ่งในอาเซียน
ซึ่งต่ อมาได้ เสนอบทความตามเมืองต่ างๆ
ของอาเซียน
106
ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในไทย (ต่ อ)

14 มีนาคม 2548 ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ส่ งบันทึกอีกฉบับถึงนายกรั ฐมนตรี
ว่ าในฐานะประธานสภาธุรกิจอีอาเซียน
ได้ รายงานให้ อาเซียนทราบว่ าเขมรนาหน้ าไทย
ด้ านอีเลิร์นนิ่งแล้ ว
ขอความกรุ ณานายกรั ฐมนตรี
เร่ งรั ดประกาศกฎหมายอีเลิร์นนิ่ง
ให้ ไทยนาหน้ าเขมรแบบเดียวกับที่อเมริกา
เคยดาเนินการในกรณีสปุตนิคที่รัสเซียนาหน้ า
107
ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในไทย (ต่ อ)

หลังจากกว่ า 3 ปี ที่ ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ร่ วมกับ ภราดา ดร. ประทีป มาร์ ตนิ โกมลมาศ
และ ภราดา ดร. บัญชา แสงหิรัญ
พยายามติดตามเรื่ องจากรั ฐมนตรี 5 ท่ าน
ในที่สุดก็มีประกาศลงราชกิจจานุเบกษา
เมื่อ 26 ตุลาคม 2548
ให้ ทุกมหาวิทยาลัยทาอีเลิร์นนิ่งได้
108
ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในไทย (ต่ อ)

มกราคม 2549 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เป็ นมหาวิทยาลัยแรกของไทย
ที่เปิ ดสอนหลักสูตรอีเลิร์นนิ่งเต็มรู ปแบบ
109
ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในไทย (ต่ อ)

หลักสูตรแรก คือ
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตด้ านการจัดการ
โดยมีศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมานเป็ นผู้อานวยการ
หลักสูตร
ต่ อมาเปิ ดอีก 3 หลักสูตร
รวมทัง้ ปริญญาเอก
สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
ซึ่งเป็ นรายแรกของโลก
110
ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในไทย (ต่ อ)

7 มิถุนายน 2549 ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ได้ รับประกาศเกียรติยศ
เป็ นผู้ประสบความสาเร็จแห่ งศตวรรษที่ 21
ในฐานะ “บิดาอีเลิร์นนิ่งไทย”
โดยศูนย์ ชีวประวัตนิ านาชาติท่ เี คมบริดจ์ อังกฤษ
111
บิดาอีเลิร์นนิ่งไทย
(The Father of Thai E-Learning)
112
ภาพรวมอีเลิร์นนิ่งในไทย (ต่ อ)

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ได้ มีคาสั่งแต่ งตัง้ ให้ ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เป็ นประธานจัดสัมมนาระดับนานาชาติ
เรี่ องอีเลิร์นนิ่งในสังคมอุดมปั ญญา
(International Conference on eLearning
for Knowledge-Based Society)
โดยถึงปี 2553 ได้ จัดการสัมมนามาแล้ ว 6 ครั ง้
113
การสัมมนาระดับนานาชาติ
เรื่องอีเลิร์นนิ่งในสังคมอุดมปั ญญา ครัง้ ที่ 1
42 บทความจาก 10 ประเทศ
114
การสัมมนาระดับนานาชาติ
เรื่องอีเลิร์นนิ่งในสังคมอุดมปั ญญา ครัง้ ที่ 2
36 บทความจาก 8 ประเทศ
115
การสัมมนาระดับนานาชาติ
เรื่องอีเลิร์นนิ่งในสังคมอุดมปั ญญา ครัง้ ที่ 3
49 บทความจาก 15 ประเทศ
116
การสัมมนาระดับนานาชาติ
เรื่องอีเลิร์นนิ่งในสังคมอุดมปั ญญา ครัง้ ที่ 4
37 บทความจาก 15 ประเทศ
117
การสัมมนาระดับนานาชาติ
เรื่องอีเลิร์นนิ่งในสังคมอุดมปั ญญา ครัง้ ที่ 5
46 บทความจาก 15 ประเทศ
118
การสัมมนาระดับนานาชาติ
เรื่องอีเลิร์นนิ่งในสังคมอุดมปั ญญา ครัง้ ที่ 6
63 บทความจาก 19 ประเทศ
119
3. การเพิ่มประสิทธิภาพด้ านไอที
ให้ กับองค์ กรและหน่ วยงาน
3.1
3.2
3.3
3.4
3.5
กล่ าวนา
ระดับของระบบสารสนเทศ
ประเภทระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศในมุมมองของกิจกรรม
ระบบสารสนเทศที่นามาใช้ ในองค์ กร
120
120
3.1 กล่ าวนา

องค์ กรและหน่ วยงานทัง้ หลาย
สามารถนาไอทีไปช่ วยเพิ่มประสิทธิภาพ
โดยอาจจะเริ่มด้ วยระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(Management Information System) โดยพิจารณาถึง
- ระดับของระบบสารสนเทศ
- ประเภทระบบสารสนเทศ
- ระบบสารสนเทศในมุมมองของกิจกรรม
- ระบบสารสนเทศที่นามาใช้ ในองค์ กร
121
3.2 ระดับของระบบสารสนเทศ
3.2.1 ระบบสารสนเทศระดับปฏิบัตกิ าร
(Operational-level Systems)
3.2.2 ระบบสารสนเทศระดับการจัดการ
(Management-level Systems)
3.2.3 ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์
(Strategic-level Systems)
122
ระดับของระบบสารสนเทศ
123
3.2.1 ระบบสารสนเทศระดับปฏิบัตกิ าร
(Operational-level Systems)

คือ ระบบสารสนเทศระดับปฏิบัตกิ ารวันต่ อวัน
ที่ตรวจสอบการทางานและการติดต่ อทางธุรกิจ
เบือ้ งต้ นขององค์ กร
124
ตัวอย่ างระบบสารสนเทศระดับปฏิบตั กิ าร
1) ฝ่ ายขายและการตลาด อาทิ
- รั บคาสั่งซือ้ สินค้ า
- จัดส่ งสินค้ า
เป็ นต้ น
2) ฝ่ ายโรงงานและการผลิต อาทิ
- การสั่งวัตถุดบิ
- การผลิตสินค้ า
เป็ นต้ น
125
ตัวอย่ างระบบสารสนเทศระดับปฏิบตั กิ าร (ต่ อ)
3) ฝ่ ายบัญชีและการเงิน อาทิ
- บัญชีค้างรั บ
- บัญชีค้างจ่ าย
- บัญชีกระแสรายวัน
เป็ นต้ น
4) ฝ่ ายทรั พยากรมนุษย์ อาทิ
- รั บสมัครพนักงาน
- ฝึ กอบรมพนักงาน
เป็ นต้ น
126
3.2.2 ระบบสารสนเทศระดับการจัดการ
(Management-level Systems)


เป็ นระบบสารสนเทศระดับรองลงมา
จากระดับยุทธศาสตร์
ระบบสารสนเทศที่จะสนับสนุนการตรวจสอบ
การควบคุม ทาการตัดสินใจ
และการบริหารการทางาน
ของผู้บริหารระดับกลาง
127
ตัวอย่ างระบบสารสนเทศระดับการจัดการ
1) ฝ่ ายขายและการตลาด อาทิ
- วิเคราะห์ การขายสินค้ า
- วิเคราะห์ ปริมาณการขายสินค้ า
- พัฒนาเทคนิคการขาย
เป็ นต้ น
2) ฝ่ ายโรงงานและการผลิต อาทิ
- กาหนดตารางควบคุมการผลิต
ให้ เหมาะสมและเป็ นระบบ
เป็ นต้ น
128
ตัวอย่ างระบบสารสนเทศระดับการจัดการ (ต่ อ)
3) ฝ่ ายบัญชีและการเงิน อาทิ
- งบประมาณประจาปี
- วิเคราะห์ ผลกาไร
เป็ นต้ น
4) ฝ่ ายทรั พยากรมนุษย์ อาทิ
- ควบคุมจัดสรรเงินเดือน
เป็ นต้ น
129
3.2.3 ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์
(Strategic-level Systems)

ระบบสารสนเทศ
ที่จะช่ วยผู้บริหารอาวุโสจัดการ
และออกกลยุทธ์ และแนวโน้ มระยะยาว
ทัง้ ในองค์ กรและสิ่งแวดล้ อมภายนอก อาทิ
- กาหนดวัตถุประสงค์ ขององค์ กร
- กาหนดนโยบาย
- กาหนดแผนจัดสรรทรั พยากร
เป็ นต้ น
130
ตัวอย่ างระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์
1) ฝ่ ายขายและการตลาด อาทิ
- ช่ วยในการคาดคะเนและพยากรณ์ แนวโน้ ม
ด้ านการขายในอนาคต
เป็ นต้ น
2) ฝ่ ายโรงงานและการผลิต อาทิ
- ช่ วยวางแผนการผลิตสินค้ าและบริการ
ในระดับปฏิบัตกิ าร
เป็ นต้ น
131
ตัวอย่ างระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์ (ต่ อ)
3) ฝ่ ายบัญชีและการเงิน อาทิ
- วางแผนการเงินระยะยาว
- กาหนดเป้าหมายผลกาไร
เป็ นต้ น
4) ฝ่ ายทรั พยากรมนุษย์ อาทิ
- การวางแผนทรั พยากรมนุษย์ ระยะยาว
เป็ นต้ น
132
3.3 ประเภทของระบบสารสนเทศ
3.3.1 ระบบสนับสนุนผู้บริหาร
(Executive Support System)
3.3.2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(Management Information System)
3.3.3 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(Decision Support System)
3.3.4 ระบบประมวลรายการ
(Transaction Processing System)
133
ประเภทของระบบสารสนเทศ
134
3.3.1 ระบบสนับสนุนผู้บริหาร
(Executive Support Systems)

เรี ยกว่ า “อีเอสเอส (ESS)”
เป็ นระบบสารสนเทศ
ที่อยู่ในระดับกลยุทธ์ ขององค์ กร
ออกมาเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ที่ไม่ ได้ เกิดขึน้ เป็ นประจา
สามารถแสดงผลออกมาในรู ปของแผนภูมิ
หรื อแผนภาพและการติดต่ อสื่อสาร
135
ระบบอีเอสเอส (ต่ อ)
ESS
136
ระบบอีเอสเอส (ต่ อ)


สรุ ปข้ อมูลให้ อยู่ในรู ปแบบที่สามารถตรวจสอบ
และง่ ายต่ อผู้บริหารในการตัดสินใจ
สามารถแสดงผลออกมาในรู ปของแผนภูมิ
หรื อแผนภาพพร้ อมข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง
137
ระบบอีเอสเอส (ต่ อ)


ถูกออกแบบให้ แสดงสารสนเทศโดยสรุ ป
แต่ สามารถเรี ยกดูรายละเอียดที่ต้องการได้
สามารถเรี ยกหัวข้ อที่น่าสนใจ
และสั่งให้ ระบบแสดงข้ อมูลเพิ่มเติมได้
138
ภาพแสดงแบบจาลองสนับสนุนผู้บริหาร
ในการตัดสินใจ
ระบบนีเ้ ป็ นบ่ อเก็บข้ อมูลทัง้ แหล่ งข้ อมูลภายนอกและภายใน
และทาให้ ง่ายต่ อการดาเนินการตัดสินใจของผู้บริหาร
139
ภาพแสดงความสัมพันธ์ ภายในระบบ
ระบบต่ างๆ ในองค์ กรทางานโดยการพึ่งพากันระหว่ างระบบต่ างๆ
ทีพีเอสเป็ นผู้ผลิตหลักของสารสนเทศที่กาหนดโดยระบบอื่นๆ
ซึ่งผลิตสารสนเทศสาหรั บระบบอื่นๆ ประเภทของระบบที่แตกต่ างกัน
เป็ นเพียงการจับคู่แบบหลวมในระบบส่ วนใหญ่
140
3.3.2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(Management Information System)

เรี ยกว่ า “เอ็มไอเอส (MIS)”
เป็ นระบบสารสนเทศระดับการจัดการขององค์ กร
ที่ทาหน้ าที่วางแผน ควบคุม
และช่ วยในการตัดสินใจ
โดยการสรุ ปรายงานประจาวัน
และรายงานกรณีเฉพาะ
141
ระบบเอ็มไอเอส (ต่ อ)
MIS
142
ระบบเอ็มไอเอส (ต่ อ)

สนับสนุนกิจกรรมในระดับจัดการขององค์ กร อาทิ
- เตรี ยมรายงานเสนอผู้จัดการ
- ให้ เรี ยกดูบันทึกการทางานขององค์ กร
ได้ ตลอดเวลา
- ให้ เรี ยกดูข้อมูลประวัตขิ ององค์ กรได้
เป็ นต้ น
143
ระบบเอ็มไอเอส (ต่ อ)


เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมภายในองค์ กรเท่ านัน้
นาข้ อมูลจากระบบธุรกรรมไปสรุ ป
เพื่อใช้ ในการจัดการ อาทิ
- วางแผน
- ควบคุมการทางาน
- ช่ วยในการตัดสินใจ
เป็ นต้ น
144
ตัวอย่ างรายงานจากระบบเอ็มไอเอส
สรุ ปรายงายการข้ อมูลการตลาด
โดยผ่ านกระบวนการของเอ็มไอเอส
145
3.3.3 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(Decision Support System)

เรี ยกว่ า “ดีเอสเอส (DSS)”
เป็ นระบบสารสนเทศที่ใช้ สนับสนุน
ระดับจัดการในองค์ กร
ที่เป็ นการนาข้ อมูลมารวมเข้ าด้ วยกัน
และเป็ นแบบจาลองเชิงวิเคราะห์ ซับซ้ อน
ที่สนับสนุนแบบกึ่งโครงสร้ าง
และการตัดสินใจแบบไร้ โครงสร้ าง
146
ระบบดีเอสเอส (ต่ อ)
DSS
147
ระบบดีเอสเอส (ต่ อ)


รั บข้ อมูลภายในองค์ กรจากระบบทีพเี อส
และเอ็มไอเอส
บางครั ง้ รั บข้ อมูลจากแหล่ งภายนอก อาทิ
- ราคาหุ้น
- ราคาสินค้ าของคู่แข่ ง
เป็ นต้ น
148
ระบบดีเอสเอส (ต่ อ)


มีความสามารถในการวิเคราะห์ มากกว่ าเอ็มไอเอส
มีซอฟต์ แวร์ สาเร็จรู ปเพื่อให้ ผ้ ูบริหาร
เรี ยกใช้ ได้ โดยสะดวก อาทิ
- หาจุดคุ้มทุน
- คานวณกาไรที่คาดว่ าจะได้
เป็ นต้ น
149
ระบบดีเอสเอส (ต่ อ)

คานวณผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงปั จจัยต่ างๆ
อาทิ
- ถ้ านา้ มันขึน้ ราคา ค่ าใช้ จ่ายจะเพิ่มขึน้ เท่ าใด
- ยอดขายลดลงกาไรจะต่าลงเท่ าใด
เป็ นต้ น
150
ภาพแสดงระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ดีเอสเอสปฏิบัตกิ ารร่ วมเครื่ องพีซีท่ มี ีประสิทธิสูงที่ใช้ ทางานรายวัน
โดยผู้บริหารที่ต้องการพัฒนาประมูลราคา
การทาสัญญาขนส่ งสินค้ าทางเรื อ
151
3.3.4 ระบบประมวลรายการ
(Transaction Processing System)

เรี ยกว่ า “ทีพีเอส (TPS)”
เป็ นระบบสารสนเทศธุรกิจพืน้ ฐาน
ที่ใช้ ในระดับปฏิบัตกิ าร
จะบันทึกรายงานการเปลี่ยนแปลงประจาวันที่สาคัญ
เพื่อใช้ ในการควบคุมการทางาน
152
ระบบทีพีเอส (ต่ อ)
TPS
153
ระบบทีพีเอส (ต่ อ)

ระบบบัญชีเงินเดือน
คือ แบบอย่ างการบัญชีทพ
ี ีเอส
ที่มีขัน้ ตอนการเปลี่ยนแปลง อาทิ
- บัตรลงเวลาของพนักงาน
เปลี่ยนมาเป็ นเงินเดือนพนักงาน
และการหักลบกลบหนี ้
เป็ นต้ น
154
ระบบทีพีเอส (ต่ อ)

ระบบทีพีเอสจะทาหน้ าที่ตดิ ตาม
- การจ่ ายเงินพนักงาน
- ภาษีหกั ณ ที่จ่าย
- ค่ าจ้ าง
155
ภาพแสดงระบบคิดค่ าตอบแทน
ระบบบัญชีเงินเดือน คือ แบบอย่ างหลักการบัญชีทพ
ี ีเอสที่ใช้ ประมวลรายการ
อาทิ บัตรลงเวลาทางานพนักงานและเปลี่ยนมาเป็ นเงินเดือนพนักงาน
และหักลบกลบหนี ้ ระบบเก็บข้ อมูลการจ่ ายเงินพนักงาน
156
ภาษีหกั ณ ที่จ่าย และค่ าจ้ าง
3.4 ระบบสารสนเทศในมุมมองของกิจกรรม
3.4.1
3.4.2
3.4.3
3.4.4
ระบบสารสนเทศฝ่ ายขายและการตลาด
ระบบสารสนเทศฝ่ ายโรงงานและการผลิต
ระบบสารสนเทศฝ่ ายบัญชีและการเงิน
ระบบสารสนเทศฝ่ ายทรั พยากรบุคคล
157
3.4.1 ระบบสารสนเทศฝ่ ายขายและการตลาด

หน้ าที่หลักของระบบ อาทิ
- บริหารการขาย
- สารวจการตลาด
- ส่ งเสริมการขาย
- กาหนดราคาสินค้ า
- การผลิตสินค้ าใหม่ ๆ
เป็ นต้ น
158
ระบบสารสนเทศฝ่ ายขายและการตลาด (ต่ อ)

ระบบที่นามาใช้ งานมีมากมาย อาทิ
- ระบบการจัดการข้ อมูลการขายสินค้ า
- ระบบสารวจการตลาด
- ระบบการกาหนดราคาสินค้ า
เป็ นต้ น
159
3.4.2 ระบบสารสนเทศฝ่ ายโรงงานและการผลิต

หน้ าที่หลักของระบบ อาทิ
- จัดตารางการผลิต
- บริหารการจัดซือ้
- การขนส่ งสินค้ า
- การวางแผนควบคุมการจัดการ
- การปฏิบัตกิ าร
เป็ นต้ น
160
ระบบสารสนเทศฝ่ ายโรงงานและการผลิต (ต่ อ)

ระบบที่นามาใช้ งานมีมากมาย อาทิ
- ระบบการวางแผนแหล่ งวัตถุดบิ
- ระบบการวางแผนและควบคุมการจัดการ
- ระบบควบคุมคุณภาพสินค้ า
เป็ นต้ น
161
3.4.3 ระบบสารสนเทศฝ่ ายบัญชีและการเงิน

หน้ าที่หลักของระบบ อาทิ
- จัดสรรงบประมาณ
- จัดการบัญชีแยกประเภททั่วไป
- ออกใบแจ้ งหนี ้
- ทาบัญชีต้นทุน
เป็ นต้ น
162
ระบบสารสนเทศฝ่ ายบัญชีและการเงิน (ต่ อ)

ระบบที่นามาใช้ งานมีมากมาย อาทิ
- ระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป
- ระบบลูกหนีก้ ารค้ า
- ระบบเจ้ าหนีก้ ารค้ า
- ระบบการจัดงบประมาณ
- ระบบจัดการด้ านเงินทุน
เป็ นต้ น
163
3.4.4 ระบบสารสนเทศฝ่ ายทรัพยากรบุคคล

หน้ าที่หลักของระบบ อาทิ
- บันทึกข้ อมูลพนักงาน
- คานวณผลกาไรบริษัท
- คานวณค่ าชดเชย
- กาหนดความสัมพันธ์
ระหว่ างสหภาพแรงงานและฝ่ ายบริหาร
- จัดอบรมพนักงาน
เป็ นต้ น
164
ระบบสารสนเทศฝ่ ายทรัพยากรบุคคล (ต่ อ)

ระบบที่นามาใช้ งานมีมากมาย อาทิ
- ระบบบัญชีเงินเดือน
- ระบบบันทึกข้ อมูลพนักงาน
- ระบบคานวณผลกาไรบริษัท
- ระบบเส้ นทางงานอาชีพ
- ระบบการฝึ กอบรมพนักงาน
เป็ นต้ น
165
3.5 ระบบสารสนเทศที่นามาใช้ ในองค์ กร
3.5.1
3.5.2
3.5.3
3.5.4
ระบบการวางแผนทรั พยากรทัง้ องค์ กร
ระบบการจัดการห่ วงโซ่ อุปทาน
ระบบการจัดการลูกค้ าสัมพันธ์
ระบบจัดการเรี ยนรู้
166
3.5.1 ระบบการวางแผนทรัพยากรทัง้ องค์ กร

อาจเรี ยกว่ า “อีอาร์ พี
(ERP = Enterprise Resource Planning Systems)”
เป็ นการจัดการทรั พยากรองค์ กร
ให้ ง่ายต่ อการค้ นหา
และประมวลผลข้ อมูลได้ อย่ างรวดเร็ว
167
อีอาร์ พี (ต่ อ)

แบ่ งระบบออกเป็ น
1) การประสานงานองค์ กร
โดยใช้ ระบบสารสนเทศเพียงระบบเดียว
2) การบูรณาการกระบวนการธุรกิจหลัก
168
อีอาร์ พี (ต่ อ)

เป็ นศูนย์ กลางในการเชื่อมโยงระบบต่ างๆ
อาทิ
- ระบบงานบัญชีและการเงิน
- ระบบงานทรั พยากรบุคคล
- ระบบบริหารการผลิต
เป็ นต้ น
169
อีอาร์ พี (ต่ อ)

ระบบอีอาร์ พีสามารถเชื่อมโยงกับระบบภายนอก
อาทิ
- ลูกค้ า
- คู่ค้า
- ตัวแทนจาหน่ าย
- ตัวแทนจัดซือ้
เป็ นต้ น
170
ประโยชน์ ของอีอาร์ พีต่อองค์ กร




ช่ วยให้ องค์ กรมีข้อมูลในการติดต่ อสื่อสาร
ในมาตรฐานเดียวกัน
ลดขัน้ ตอนการทางานที่ซา้ ซ้ อน
ช่ วยในการติดตามขัน้ ตอนการสั่งซือ้ ของลูกค้ า
ช่ วยตรวจสอบคลังสินค้ าว่ าจะต้ องสั่งซือ้ เพิ่มหรื อไม่
171
ประโยชน์ ของอีอาร์ พีต่อองค์ กร (ต่ อ)


สามารถนาการสั่งซือ้ สินค้ า การตรวจรั บสินค้ า
และค่ าใช้ จ่ายมาวิเคราะห์ ได้
สามารถนาข้ อมูลที่ได้ จากระบบอีอาร์ พี
มาใช้ ในการตัดสินใจ
172
แผนภาพแสดงระบบที่นามาใช้ ภายในองค์ กร
ระบบอัตโนมัตทิ ่ นี ามาใช้ ภายในองค์ กร
สามารถขยายบทบาททางธุรกิจและระดับองค์ กรได้ หลากหลาย
นอกจากนีอ้ าจจะกระจายไปยังองค์ กรอื่นได้ ด้วย
173
3.5.2 ระบบการจัดการห่ วงโซ่ อุปทาน



การจัดการห่ วงโซ่ อุปทาน หรื อ “เอสซีเอ็ม
(SCM = Supply Chain Management)”
เป็ นระบบการเชื่อมโยงแบบปิ ดและความร่ วมมือ
ในกิจกรรมต่ างๆ รวมถึงการจัดซือ้ การผลิต
และการเคลื่อนย้ ายสินค้ า
ผู้ขายปั จจัยการผลิตร่ วมกัน ผู้ผลิต ผู้จัดจาหน่ าย
และระยะเวลาในการกระจายสินค้ า
174
ประโยชน์ ของเอสซีเอ็มต่ อองค์ กร


ประหยัดเวลา
ประสบผลสาเร็จเกินคาด
ช่ วยให้ ต้นทุนสินค้ าคงเหลือน้ อยลง
สร้ างเครื อข่ ายในองค์ กรและกระบวนการทางธุรกิจ
175
ประโยชน์ ของเอสซีเอ็มต่ อองค์ กร (ต่ อ)


ช่ วยในด้ านการจัดซือ้ สินค้ า
และช่ วยแปรรู ปจากวัตถุดบิ
เป็ นสินค้ าสาเร็จรู ปได้ อย่ างรวดเร็ว
ช่ วยกระจายสินค้ าสาเร็จรู ปไปยังลูกค้ า
รวมถึงกระจายวัตถุดบิ และสินค้ าสาเร็จรู ป
จากผู้ซือ้ กลับมายังผู้จัดจาหน่ าย
176
ประโยชน์ ของข้ อมูลที่ได้ จากเอสซีเอ็ม




สามารถเลือกที่จะผลิต เก็บรั กษา
และเคลื่อนย้ ายสินค้ าอะไรและเวลาใดก็ได้
สามารถติดต่ อสั่งซือ้ สินค้ าได้ อย่ างรวดเร็ว
ติดตามภาวะการสั่งซือ้ สินค้ าตามปั จจุบัน
ตรวจสอบหาสินค้ าคงเหลือและตรวจตรา
ระดับสินค้ าคงเหลืออย่ างสม่าเสมอ
177
ประโยชน์ ของข้ อมูลที่ได้ จากเอสซีเอ็ม (ต่ อ)




สามารถลดจานวนสินค้ าคงเหลือ
ต้ นทุนในการขนส่ ง และลดต้ นทุนคลังสินค้ า
ติดตามการขนส่ งทางเรื อ
วางแผนการผลิตตามความต้ องการของลูกค้ า
เร่ งโฆษณาสินค้ าตัวใหม่ โดยเร็ว
178
3.5.3 ระบบการจัดการลูกค้ าสัมพันธ์




การจัดการลูกค้ าสัมพันธ์ หรื อ “ซีอาร์ เอ็ม
(CRM = Customer Relationship Management)”
เป็ นกลยุทธ์ ท่ ไี ด้ รับความนิยม
จากผู้ประกอบการในการสร้ างความสัมพันธ์
กับลูกค้ าในระยะยาว
ควบคุมองค์ กรทุกวิถีทางในการรั กษาฐานลูกเดิมไว้
และหาลูกค้ ารายใหม่
นาหลักการทางธุรกิจและเทคโนโลยีมาใช้
179
ประโยชน์ ของซีอาร์ เอ็มต่ อองค์ กร (ต่ อ)


ระบบซีอาร์ เอ็มจะช่ วยเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการบริการลูกค้ าที่รวดเร็ว
สามารถประมวลผลความต้ องการของลูกค้ า
ที่มีความต่ างกัน
ทาให้ องค์ กรสามารถนาเสนอสินค้ าและการบริการ
ที่ตรงกับความต้ องการของลูกค้ าให้ มากที่สุด
180
การจัดการลูกค้ าสัมพันธ์
ระบบการสามารถสารวจลูกค้ าจากหลายมุมมอง
แต่ ระบบนีไ้ ด้ รวมทุกมุมมองของระบบลูกค้ าสัมพันธ์ ไว้
โดยรวมถึงการบริการลูกค้ า การขาย และการตลาด
181
3.5.4 ระบบการจัดการองค์ ความรู้



ระบบการจัดการองค์ ความรู้ หรื อ “เคเอ็มเอส
(KMS = Knowledge Management System)”
รวบรวมองค์ ความรู้ ท่ เี กี่ยวข้ อง
และนามาใช้ ประโยชน์ ในยามจาเป็ น
จะที่ไหนและเวลาใดก็ได้
สนับสนุนกระบวนการทางธุรกิจ
และการตัดสินใจในการจัดการ
182
เคเอ็มเอสในองค์ กร
กระบวนการในองค์ กร: การเพิ่มพูนความรู้
บทบาทของระบบการจัดการองค์ ความรู้ :
 ระบบการเรี ยนรู้ สามารถค้ นหาได้
ในรู ปแบบหรื อความสัมพันธ์ ของข้ อมูล
จานวนมากมาย
ในขณะที่เทคนิคพิเศษอื่นๆ
สามารถค้ นหาได้ จากการแก้ ปัญหาที่ซับซ้ อน
เกินกว่ ามนุษย์ จะสามารถแก้ ไขได้
183
เคเอ็มเอสในองค์ กร (ต่ อ)


ระบบงานการเรี ยนรู้ ทาให้ ผ้ ูท่ ที างานทางด้ านกราฟิ ก
การวิเคราะห์ การติดต่ อสื่อสาร
และการจัดการเกี่ยวกับเอกสารต่ างๆ
รวมถึงการเข้ าไปค้ นหาข้ อมูล
ทัง้ จากภายในและภายนอก
เพื่อให้ เกิดความคิดสร้ างสรรค์
จัดให้ มีเครื อข่ ายการเรี ยนรู้ ออนไลน์
เพื่อลูกจ้ างสามารถเข้ าไปศึกษาดูรายละเอียดได้
184
เคเอ็มเอสในองค์ กร (ต่ อ)
กระบวนการในองค์ กร: การเก็บรั กษาความรู้
บทบาทของระบบการจัดการองค์ ความรู้ :
 คลังความรู้ จะรวบรวมเอกสารและในสื่อดิจท
ิ ลั
ทัง้ จากแหล่ งภายในและภายนอก
 การนาระบบมาใช้ โดยการเพิ่มทักษะต่ างๆ ลงไป
และนาเข้ าไปไว้ ในระบบซอฟต์ แวร์
เพื่อสมาชิกขององค์ กรสามารถเข้ าไปศึกษา
ดูรายละเอียดได้
185
เคเอ็มเอสในองค์ กร (ต่ อ)
กระบวนการในองค์ กร: ความรู้ ด้านการกระจายสินค้ า
บทบาทของระบบการจัดการองค์ ความรู้ :
 ระบบในสานักงานและเครื่ องมือในการติดต่ อสื่อสาร
สามารถจัดประเภทเอกสาร
และรู ปแบบการสื่อสารอื่นๆ
นอกจากนี ้ ยังสามารถเชื่อมโยงไปยังกลุ่มธุรกิจอื่น
ทัง้ ภายในและภายนอกองค์ กรได้
186
เคเอ็มเอสในองค์ กร (ต่ อ)

ระบบการทางานกลุ่มร่ วมกัน
ช่ วยให้ ลูกจ้ างสามารถเข้ าถึง
และร่ วมกันทางานพร้ อมกันได้
ในเอกสารเดียวกัน
187
4. การนาไอทีไปปรับใช้ ในชีวิตประจาวัน
4.1
4.2
4.3
4.4
กล่ าวนา
สถิตกิ ารใช้ ไอทีของวัยรุ่ น
วัยรุ่ นกับเครื อข่ ายสังคม
วัยรุ่ นกับการเรี ยนผ่ านโลกเสมือนจริงชีวิตที่สอง
188
4.1 กล่ าวนา

ถึงปี พ.ศ. 2553 มีการใช้ ไอทีในทุกวงการ อาทิ
- ในบริการ “รั ฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (eGovernment)”
ก็ให้ ย่ นื ภาษีได้ โดยผ่ านอินเทอร์ เน็ต
- ในธนาคารทุกธนาคารก็มีบริการ
“อีแบงค์ กงิ ้ (eBanking)”
- ในการค้ าขายก็ใช้ อินเทอร์ เน็ตใน
“พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ (eCommerce)”
เป็ นต้ น
189
กล่ าวนา (ต่ อ)

ขอยกตัวอย่ าง
- สถิตกิ ารใช้ ไอทีของวัยรุ่ น
- วัยรุ่ นกับเครื อข่ ายสังคม
- วัยรุ่ นกับการเรี ยนผ่ านโลกเสมือนจริงชีวิตที่สอง
190
4.2 การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ น
4.2.1 การใช้ อินเทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นไทย
4.2.2 การใช้ อินเทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นต่ างประเทศ
191
4.2.1 การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นไทย

พ.ศ. 2552 ผลสารวจจากอินเทอร์ เน็ตเวิล์ดสแทตส์
พบว่ ามีผ้ ูใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
- ทั่วโลกประมาณ 1,700 ล้ านคน
- เอเชียประมาณ 738 ล้ านคน
- ไทยประมาณ 16 ล้ านคน
192
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นไทย (ต่ อ)

สิงหาคม 2551 – สิงหาคม 2552 จากเว็บทรู ฮติ ส์
สารวจคนไทยเข้ าชมเว็บต่ างๆ 24,975 คน พบว่ า
- ร้ อยละ 57.7 เป็ นเพศชาย
- ร้ อยละ 42.2 เป็ นเพศหญิง
193
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นไทย (ต่ อ)


ระดับอายุ
- ร้ อยละ 32.2 อายุ 24-35 ปี
- ร้ อยละ 22.0 อายุ 18-23 ปี
- ร้ อยละ 21.6 อายุ 12-17 ปี
- ร้ อยละ 18.6 อายุ 36-55 ปี
- ร้ อยละ 2.0 อายุ 55 ปี ขึน้ ไป
อาจกล่ าวได้ ว่ากลุ่มนิสิตนักศึกษา
เป็ นกลุ่มที่ใช้ อินเทอร์ เน็ตมากที่สุดในไทย
194
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นไทย (ต่ อ)

สาขาอาชีพ
- ร้ อยละ 31.3 นักเรี ยน นักศึกษา
- ร้ อยละ 23.3 อื่นๆ
- ร้ อยละ 9.0 คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต
- ร้ อยละ 5.8 อุตสาหกรรม
- ร้ อยละ 5.3 การศึกษา วิจัย
195
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นไทย (ต่ อ)

ระดับการศึกษา
- ร้ อยละ 34.4 ปริญญาตรี
- ร้ อยละ 22.8 มัธยมปลาย หรื อ ปวช.
- ร้ อยละ 15.2 มัธยมต้ น
- ร้ อยละ 12.7 ปวส. หรื อ อนุปริญญา
- ร้ อยละ 8.0 สูงกว่ าปริญญาตรี
- ร้ อยละ 6.7 ประถม
196
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นไทย (ต่ อ)

ความสนใจ
- ร้ อยละ 53.5 เพลง หรื อ ภาพยนต์
- ร้ อยละ 46.3 คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต
- ร้ อยละ 40.1 หนังสือ
- ร้ อยละ 31.4 กล้ อง หรื อ โทรศัพท์ มือถือ
- ร้ อยละ 27.8 กีฬา
- ร้ อยละ 27.1 การ์ ตูนและนวนิยาย
197
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นไทย (ต่ อ)

มกราคม 2553 เว็บเครื่ องมือค้ นหาสามอันดับแรก
คนไทยนิยมเข้ าใช้
อันดับที่หนึ่ง คือ กูเกิล
ร้ อยละ 98.25
อันดับที่สอง คือ สนุกดอตคอม ร้ อยละ 0.84
อันดับที่สาม คือ บิงดอตคอม ร้ อยละ 0.56
198
4.2.2 การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นต่ างประเทศ

มีผลวิจัยจาก “อิพซอสเรด (Ipsos Reid)”
ร้ อยละ 75 ของวัยรุ่ นแคนาดา กล่ าวว่ า
อินเทอร์ เน็ตเปรี ยบเสมือนอากาศที่ใช้ หายใจ
“ถ้ าขาดอินเทอร์ เน็ต
ชีวิตนีก้ ไ็ ม่ มีความหมายและขอตายดีกว่ า”
199
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นต่ างประเทศ (ต่ อ)


คาค้ นหาที่นิยมมากที่สุดในสหรั ฐอเมริกา พ.ศ. 2552
คือ “เซ็กซ์ (Sex)”
เมื่อธันวาคม 2552 ไซแมนเทคระบุว่า
ผู้ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตอายุต่ากว่ า 18 ปี
นิยมค้ นหาคาว่ า “เซ็กซ์ (Sex)”
พบว่ าตัง้ แต่ 2 กุมภาพันธ์ – 4 ธันวาคม 2552
มีผลการค้ นหา 14.6 ล้ านครั ง้
200
ผลสารวจจากไซแมนเทค (ต่ อ)

คาค้ นหาที่วัยรุ่ นชายนิยมใช้ อาทิ
- เครื อข่ ายสังคม (Social Network)
- เกมส์ (Games)
- ชอปปิ ้ ง (Shopping)
เป็ นต้ น
201
ผลสารวจจากไซแมนเทค (ต่ อ)

คาค้ นหาที่วัยรุ่ นหญิงนิยมใช้ อาทิ
- เพลง (Music)
- ภาพยนตร์ (Movies)
- คนดัง (Celebrities)
เป็ นต้ น
202
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นต่ างประเทศ (ต่ อ)

มีรายงานการใช้ อินเทอร์ เน็ตของวันรุ่ นอเมริกัน
จาก “บิกนิวส์ เน็ตเวิร์ค (Bignewsnetwork.com)”
โดยสารวจความคิดเห็นของผู้ปกครอง
เมื่อพฤศจิกายน 2552 ว่ า
- ร้ อยละ 81 ของกลุ่มอายุ 9–17 ปี
ไม่ ได้ รับการดูแลการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
จากผู้ปกครองอย่ างใกล้ ชิด
203
บิกนิวส์ เน็ตเวิร์ค (ต่ อ)
- ร้ อยละ 46 ของกลุ่มอายุ 9–17 ปี
เป็ นสมาชิกเว็บเครื อข่ ายสังคม
- ร้ อยละ 66 ของกลุ่มอายุ 13–17 ปี
เป็ นสมาชิกเว็บเครื อข่ ายสังคม
204
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นต่ างประเทศ (ต่ อ)

เมื่อตุลาคม 2552 พิวอินเทอร์ เน็ต
สารวจวัยรุ่ นอเมริกัน 800 คน
เกี่ยวกับการใช้ โทรศัพท์ มือถือเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ต
ปรากฏว่ า
- ร้ อยละ 75 ของวัยรุ่ นมีโทรศัพท์ มือถือใช้
- ร้ อยละ 66 ของวัยรุ่ นใช้ โทรศัพท์ มือถือส่ งข้ อความ
205
การใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นต่ างประเทศ (ต่ อ)
- ร้ อยละ 4 ของวัยรุ่ นอายุ 12–17 ปี
ส่ งภาพหรื อวิดีโอเรื่ องเพศให้ กับเพื่อนสนิท
- ร้ อยละ 8 ของวัยรุ่ นอายุ 17 ปี
ส่ งข้ อความภาพเรื่ องเพศ
- ร้ อยละ 15 ของวัยรุ่ น
ได้ รับรู ปภาพที่มีลักษณะชักชวนเกี่ยวกับเรื่ องเพศ
- ร้ อยละ 30 ของวัยรุ่ นได้ รับข้ อความเรื่ องเพศ
206
4.3 วัยรุ่ นกับเครือข่ ายสังคม
4.3.1 อิทธิพลของเครื อข่ ายสังคมกับวัยรุ่ น
4.3.2 กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครื อข่ ายสังคม
207
4.3.1 อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมกับวัยรุ่ น

“เครื อข่ ายสังคม” เป็ นสังคมเสมือนจริง
ที่เชื่อมโยงให้ ผ้ ูใช้ อนิ เทอร์ เน็ตทั่วโลก
ให้ สามารถติดต่ อสื่อสาร
และสร้ างปฏิสัมพันธ์ กันได้ แม้ อยู่ห่างไกล
208
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมกับวัยรุ่ น (ต่ อ)

เครื อข่ ายสังคมทาให้ เกิดวงสังคมที่ขยายใหญ่ ขึน้
โดยเฉพาะเครื อข่ ายสังคมของวัยรุ่ น
เพราะวัยรุ่ นเป็ นวัยที่ต้องการเพื่อน
และอยากจะมีกลุ่มเพื่อน
ที่มีความสนใจแบบเดียวกัน
เพื่อสร้ างสังคมของตนขึน้ มา
209
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมกับวัยรุ่ น (ต่ อ)

ถึงปี พ.ศ. 2553 มีการนากิจกรรมและบริการต่ างๆ
บนอินเทอร์ เน็ตไปไว้ ในเครื อข่ ายสังคม
ให้ วัยรุ่ นสามารถทากิจกรรมและใช้ บริการได้
จากที่ท่ เี ดียวบนเครื อข่ ายสังคม
210
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมกับวัยรุ่ น (ต่ อ)

ในประเทศไทยเว็บเครื อข่ ายสังคมที่ได้ รับความนิยม
อันดับหนึ่ง คือ “ไฮไฟว์ (Hi5)”
อันดับที่สอง คือ “เฟซบุค (Facebook)”
อันดับที่สาม คือ “ทวิตเทอร์ (Twitter)”
211
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมกับวัยรุ่ น (ต่ อ)

เมื่อกุมภาพันธ์ 2552 มีรายงานจาก
“อีมาร์ เก็ตเตอร์ (eMarketer)”
- พ.ศ. 2552 มีการใช้ เว็บเครื อข่ ายสังคม
ของวัยรุ่ นอเมริกัน 15.5 ล้ านคน
- พ.ศ. 2553 น่ าจะมีการใช้ เว็บเครื อข่ ายสังคม
ของวัยรุ่ นอเมริกัน 16.2 ล้ านคน
212
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมกับวัยรุ่ น (ต่ อ)


เมื่อปี พ.ศ. 2551
วัยรุ่ นอเมริกันเข้ าใช้ เว็บโลกเสมือนจริง 3.4 ล้ านคน
ปี พ.ศ. 2553 คาดว่ า
วัยรุ่ นอเมริกันจะเข้ าใช้ เว็บโลกเสมือนจริง
4 ล้ านคน
213
พฤติกรรมวัยรุ่ นเอเชีย (ต่ อ)


วัยรุ่ นเอเชียใช้ เวลาออนไลน์ เฉลี่ย 2.7 ชั่วโมงต่ อวัน
วัยรุ่ นที่มีอายุ 15-24 ปี
ใช้ เวลาในการออนไลน์ มากที่สุด
นั่นคือ 6.3 ชั่วโมงต่ อวัน
214
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมกับวัยรุ่ น (ต่ อ)

ตุลาคม 2552 กรมสุขภาพจิตรายงานว่ า
วัยรุ่ นไทยใช้ เวลาอยู่ในโลกออนไลน์ วันละ 3 ชั่วโมง
- วัยรุ่ นชายนิยมดาวน์ โหลดไฟล์ ต่างๆ
และเล่ นเกมส์ ออนไลน์
- วัยรุ่ นหญิงนิยมเข้ าบล็อกต่ างๆ
และฟั งเพลง
215
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมกับวัยรุ่ น (ต่ อ)

สื่อที่มีอิทธิพลต่ อวัยรุ่ น
- ร้ อยละ 69 คือ โทรศัพท์ มือถือ
- ร้ อยละ 38 คือ อินเทอร์ เน็ต
- ร้ อยละ 31 คือ โทรทัศน์
216
4.3.2 กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครือข่ ายสังคม


กิจกรรมส่ วนใหญ่ ท่ วี ัยรุ่ นนิยมในเครื อข่ ายสังคม
คือ “แชต”
การแชตทาให้ ผ้ ูคนไม่ ร้ ู สึกโดดเดี่ยว
และยังทาให้ ได้ ร้ ู จักผู้คนหลากหลายขึน้
นอกจากนีย้ ังทาให้ มีโลกทัศน์ ท่ กี ว้ างขึน้
จากการแชตกับผู้คนเหล่ านัน้
217
กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

การหาคู่ทางอินเทอร์ เน็ต
หรื อ “อีเดตทิง (eDating)”
ก็เป็ นกิจกรรมที่วัยรุ่ นนิยมทาในเครื อข่ ายสังคม
218
กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)
นอกจากการแชตแล้ ว
มีกจิ กรรมมากมายที่วัยรุ่ นนิยมในเครื อข่ ายสังคม อาทิ
 ส่ งอีเมล์
 เข้ าใช้ บล็อก
 แบ่ งปั นรู ปภาพ
 ฟั งเพลง
 เล่ นเกม
เป็ นต้ น
219
กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

ส่ วนใหญ่ วัยรุ่ นจะสร้ างแฟ้มประวัติ
เพื่อนาเสนอตนเองตามบล็อกต่ างๆ
อนึ่ง หากวัยรุ่ นเปิ ดเผยข้ อมูลส่ วนตัวของตน
มากเกินไปก็อาจจะมีภยั ร้ ายตามมา
โดยไม่ ร้ ู ตัว
220
กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

อาจใช้ เครื อข่ ายสังคม
ในกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ เพื่อสังคม
อาทิ ให้ วัยรุ่ นช่ วยแจ้ งเบาะแสให้ กับเจ้ าหน้ าที่ตารวจ
หากเกิดเหตุร้ายผ่ านเครื อข่ ายสังคม เป็ นต้ น
221
4.4 วัยรุ่ นกับการเรียนผ่ านโลกเสมือนจริง
ชีวิตที่สอง
4.4.1 มหาวิทยาลัยที่เปิ ดสอนในโลกเสมือนจริง
4.4.2 ตัวอย่ างบุคคลที่ประสบความสาเร็จ
ในโลกเสมือนจริง
222
4.4.1 มหาวิทยาลัยที่เปิ ดสอน
ในโลกเสมือนจริงชีวิตที่สอง

ทั่วโลกกว่ า 200 มหาวิทยาลัย
ได้ ซือ้ เกาะในโลกเสมือนจริง อาทิ
- มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด
- มหาวิทยาลัยอินเดียน่ า
- มหาวิทยาลัยออกซ์ ฟอร์ ด
- มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เป็ นต้ น
223
มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด
224
มหาวิทยาลัยอินเดียน่ า
225
มหาวิทยาลัยออกฟอร์ ด
226
วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
227
4.4.2 ตัวอย่ างบุคคลที่ประสบความสาเร็จ
ในโลกเสมือนจริง
1) “ลีโอ นิวบอล จูเนียร์ (Leo Newball Jr.)”
2) “เกรซ บูฟอร์ ด Grace Buford)”
228
1) ลีโอ นิวบอล จูเนียร์

มกราคม 2552 “ลีโอ นิวบอล จูเนียร์
(Leo Newball Jr.)” อายุ 27 ปี ชาวอเมริกัน
มีอาชีพเป็ นดีเจเสมือนจริงที่จัดเพลงตามงานปาร์ ตี ้
และงานอีเวนต์ ต่างๆ ในโลกเสมือนจริงชีวิตที่สอง
โดยสร้ างรายได้ ช่ ัวโมงละ 25 - 50 เหรี ยญ
หรื อประมาณ 800 - 1,600 บาท
229
ลีโอ นิวบอล จูเนียร์
230
2) เกรซ บูฟอร์ ด

เมษายน 2552 “เกรซ บูฟอร์ ด Grace Buford”
อายุ 37 ปี ชาวอเมริกัน
มีอาชีพเป็ นนักดนตรี ท่ แี สดงสด
อยู่ในโลกเสมือนจริงชีวติ ที่สอง
สร้ างรายได้ ช่ ัวโมงละ 18 เหรี ยญ
หรื อประมาณ 590 บาท
231
เกรซ บูฟอร์ ด
232
5. แนวโน้ มด้ านไอทีและอนาคตบัณฑิตไทย
5.1 แนวโน้ มไอทีปี 2553
5.2 แนวโน้ มด้ านอาชีพการงานในสายไอที
5.3 แนวโน้ มตลาดอีเลิร์นนิ่ง
5.4 ตัวอย่ างนักอีเลิร์นนิ่ง
233
5.1 แนวโน้ มไอทีปี 2553
5.1.1 กลยุทธ์ เทคโนโลยีไอทีปี 2553
5.1.2 เทคโนโลยีไอทีปี 2553 ที่น่าจับตามอง
234
5.1.1 กลยุทธ์ เทคโนโลยีไอทีปี 2553

เว็บ “การ์ ตเนอร์ ดอตคอม (www.gartner.com)”
ได้ เปิ ดเผยและจัดอันดับกลยุทธ์ เทคโนโลยีไอที
ปี 2553 ไว้ สิบอันดับ คือ
1) การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
(Cloud Computing)
2) การวิเคราะห์ ชัน้ สูง
(Advanced Analytics)
235
กลยุทธ์ เทคโนโลยีไอทีปี 2553 (ต่ อ)
3) การประมวลผลผ่ านลูกข่ าย (Client Computing)
4) ไอทีสีเขียว (IT for Green)
5) ศูนย์ กลางข้ อมูล (Data Center)
6) การประมวลผลสังคม (Social Computing)
236
กลยุทธ์ เทคโนโลยีไอทีปี 2553 (ต่ อ)

7) ระบบรั กษาความปลอดภัย (Security)
8) หน่ วยความจาแฟลช (Flash Memory)
9) เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtualization)
10) ระบบปฏิบัตงิ านบนโทรศัพท์ มือถือ
(Mobile Application)
ขอเสนอเป็ นตัวอย่ างเพียง 4 ข้ อแรก
237
1) การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ

เป็ นเครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ตขนาดใหญ่
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ ท่ วั โลก
ที่ไม่ ได้ ใช้ งานครบวันละ 24 ชั่วโมง
โดยนาเวลาที่ไม่ ได้ ใช้ งานนัน้
มาประกาศให้ ผ้ ูอ่ ืนเข้ าไปใช้ ได้
238
การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (ต่ อ)


ตัวอย่ างผู้ท่ มี ีคอมพิวเตอร์ ท่ บี ้ าน
อาจใช้ งานวันละ 2-3 ชั่วโมง
แล้ วยอมให้ ผ้ ูอ่ ืนใช้ ได้ ผ่านเครื อข่ ายในเวลาที่เหลือ
ตัวอย่ างผู้มีคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่
แล้ วไม่ ได้ ใช้ ความสามารถทัง้ หมด
ของคอมพิวเตอร์ นัน้
ก็ยอมให้ ผ้ ูอ่ ืนเข้ าไปใช้ ในส่ วนที่ตนไม่ ได้ ใช้
239
การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (ต่ อ)

ข้ อดี คือ ช่ วยประหยัดค่ าใช้ จ่าย
โดยไม่ ต้องซือ้ เครื่ องใหม่
แต่ ไปเช่ าใช้ เฉพาะเวลาและอุปกรณ์
ที่เจ้ าของไม่ ได้ ใช้
240
การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
แหล่ งข้ อมูล:http://suntos.files.wordpress.com/2009/12/cloud-computing.png
241
2) การวิเคราะห์ ชัน้ สูง (Advanced Analytics)

คือ การใช้ ไอทีในการวิเคราะห์
เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
อาทิ
- แบบจาลอง
- การคาดการณ์
เป็ นต้ น
242
3) การประมวลผลผ่ านลูกข่ าย
(Client Computing)

การประมวลผลผ่ านลูกข่ ายสามารถใช้ ลูกข่ าย
ส่ งข้ อมูลให้ แม่ ข่ายช่ วยประมวลผล
โดยไม่ ต้องลงทุนขยายแม่ ข่ายเอง
ทัง้ นี ้ บริษัทควรจะวางแผนแม่ บท
ให้ สามารถดาเนินการได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ อาทิ
- แผนมาตรฐานเครื่ อง
- แผนการซือ้ เครื่ องและการสนับสนุน
- แผนระบบปฏิบัตกิ าร
เป็ นต้ น
243
4) ไอทีสีเขียว (IT for Green)

คือ ไอทีแบบเป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้ อม
อาทิ
- ใช้ พลังงานน้ อย
- ปล่ อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ น้อย
เป็ นต้ น
244
5.1.2 เทคโนโลยีไอทีปี 2553 ที่น่าจับตามอง

จากเว็บ “พีซีเวิลด์ (www.pcworld.com)”
เผยเทคโนโลยีท่ ไี ด้ รับความนิยมมากที่สุดในปี 2553
อาทิ
1) อีรีดเดอร์ (eReader)
2) แท็บเล็ต (Tablet)
3) เทคโนโลยีทรี ดี (3D)
4) ระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด์ (Android)
245
1) อีรีดเดอร์ (eReader)

อีรีดเดอร์ คือ
อุปกรณ์ สาหรั บอ่ านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ที่สามารถพกพาได้
ใช้ งานง่ าย ประหยัดพลังงาน
และสามารถรองรั บแฟ้มข้ อมูลได้ หลายรู ปแบบ
ซึ่งจะขึน้ อยู่กับรุ่ นของอีรีดเดอร์
246
อีรีดเดอร์
247
2) แท็บเล็ต (Tablet)


แท็บเล็ต คือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก
มีความพิเศษตรงหน้ าจอแบบสัมผัส
ซึ่งผู้ใช้ สามารถใช้ ปากกาดิจทิ ลั
สั่งการที่หน้ าจอได้ โดยตรง
มีนา้ หนักเบาพกพาสะดวก
และทางานโดยระบบปฏิบัตกิ ารวินโดวส์ เอ็กซ์ พี
(Windows XP)
248
แท็บเล็ต
249
3) เทคโนโลยีทรีดี (3D)


เทคโนโลยีทรี ดี คือ การนาเสนอกราฟิ ก
ที่นาเสนอรู ปภาพสามมิตเิ สมือนจริง
มีคุณสมบัตพ
ิ เิ ศษแตกต่ างจากเทคโนโลยีทดู ี (2D)
นั่นคือ ภาพกราฟิ กแบบสามมิตมิ ีค่าความลึก
ที่สามารถนาไปเปลี่ยนแปลงซา้ ได้ อาทิ
การเปลี่ยนแปลงมุมมอง
และการหาระยะใกล้ ไกลจากในภาพ เป็ นต้ น
250
เทคโนโลยีทรีดี
251
4) ระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด์ (Android)

สถาบันการวิจัยตลาดของไต้ หวัน
(Taiwan's Market Intelligence & Consulting Institute)
คาดว่ าปี 2556 ตลาดโทรศัพท์ มือถือ
ที่ใช้ ระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด์
จะมีมูลค่ า 31.8 ล้ านเหรี ยญ
หรื อประมาณ 1,045 ล้ านบาท
252
โทรศัพท์ อัจฉริยะ
253
5.2 แนวโน้ มด้ านอาชีพการงานสายไอที
5.2.1 การขาดแรงงานด้ านไอทีในสหรั ฐอเมริกา
5.2.2 ความต้ องการผู้เชี่ยวชาญด้ านไอที
5.2.3 ค่ าตอบแทนอาชีพสายไอที พ.ศ. 2553
5.2.4 ฮ่ องกงจะจ้ างงานสายไอทีกว่ า 20,000 อัตรา
254
5.2.1 การขาดแรงงานด้ านไอทีในสหรัฐอเมริกา

มีข่าวจาก “เฟี รยซกัฟเวิร์นเมนต์
(Fierce Government)”
เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2552 ว่ า
แรงงานด้ านไอทีท่ รี ั ฐบาลอเมริกันขาดแคลน
คือ เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
ทาให้ หน่ วยงานต่ างๆ ต้ องขึน้ เงินเดือน
แย่ งเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยไอที
255
การขาดแรงงานด้ านไอทีในสหรัฐอเมริกา (ต่ อ)

ตัวอย่ างเช่ น เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยไอที
ที่มีประสบการณ์ เพียง 3 ปี
มีรายได้ ปีละ 100,000 เหรี ยญ
หรื อประมาณ 3.3 ล้ านบาท
256
การขาดแรงงานด้ านไอทีในสหรัฐอเมริกา (ต่ อ)

เฉพาะ “กระทรวงความมั่นคงภายใน
(Department of Homeland Security)” ประกาศว่ า
จะต้ องจ้ างเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยไอที
อีก 1,000 ตาแหน่ ง ภายใน พ.ศ. 2553-2555
257
5.2.2 ความต้ องการผู้เชี่ยวชาญด้ านไอที

ข่ าวจาก “คอมพิวเตอร์ เวิลด์ (Computerworld.com)”
เมื่อพฤศจิกายน 2552 รายงานว่ า
สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
(Computing Technology Industry Association)
สารวจพนักงานไอที 1,500 คน
ในสหรั ฐอเมริกา
258
ข่ าวจากคอมพิวเตอร์ เวิลด์ (ต่ อ)
- ร้ อยละ 37 ตัง้ ใจจะสอบให้ ได้ ประกาศนียบัตร
ด้ านการรั กษาความปลอดภัยไอทีในอีกห้ าปี
- ร้ อยละ 18 อยากเป็ นผู้เชี่ยวชาญไอที
ด้ านเจาะระบบข้ อมูลที่มีคุณธรรม
- ร้ อยละ 13 อยากเป็ นผู้เชี่ยวชาญไอที
ด้ านตรวจสอบหลักฐาน
259
5.2.3 ค่ าตอบแทนอาชีพสายไอที พ.ศ. 2553

โรเบิร์ตฮาล์ ฟอินเทอร์ เนชันนัล
(Robert Half International)
ได้ สารวจค่ าตอบแทนอาชีพสายไอที
ในสหรั ฐอเมริกา พ.ศ. 2553 ดังนี ้
1) ผู้ดูแลเครื อข่ าย (Network Administrator)
2) ผู้จัดการรั กษาความปลอดภัยระบบข้ อมูล
(Information Systems Security Manager)
3) วิศวกรระบบ (Systems Engineer)
260
1) ผู้ดแู ลเครือข่ าย

ผู้ดูแลเครื อข่ าย
มีค่าตอบแทน54,000-80,250 เหรี ยญ
หรื อประมาณ 1.7–2.6 ล้ านบาทต่ อปี
261
2) ผู้จัดการรักษาความปลอดภัยระบบข้ อมูล

ผู้จัดการรั กษาความปลอดภัยระบบข้ อมูล
มีค่าตอบแทน 96,500–130,750 เหรี ยญ
หรื อประมาณ 3.1–4.2 ล้ านบาทต่ อปี
262
3) วิศวกรระบบ

วิศวกรระบบ
มีค่าตอบแทน 64,250–93,250 เหรี ยญ
หรื อประมาณ 2.1–3.0 ล้ านบาทต่ อปี
263
5.2.4 ฮ่ องกงจะจ้ างงานสายไอทีกว่ า 20,000 อัตรา

เมื่อตุลาคม 2552
ไอดีซี คาดว่ า พ.ศ. 2553 – 2556
อุตสาหกรรมไอทีในฮ่ องกง
จะจ้ างพนักงานสายไอที 21,000 อัตรา
จากจานวนทัง้ สิน้ 5.8 ล้ านอัตรา
ที่จะเกิดขึน้ จากอุตสาหกรรมไอทีท่ วั โลก
โดยอัตราการจ้ างงานไอทีท่ วั โลกเฉลี่ยร้ อยละ 3 ต่ อปี
264
5.3 แนวโน้ มตลาดอีเลิร์นนิ่ง

ในอนาคตอีเลิร์นนิ่งจะเป็ นการศึกษาหลัก
และการเรี ยนแบบในห้ องเรี ยน
จะเป็ นเพียงการสอนเสริม
นั่นคือ มากกว่ าร้ อยละ 50 ของนักศึกษา
จะศึกษาแบบอีเลิร์นนิ่ง
265
แนวโน้ มตลาดอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)


จากผลสารวจ “แอมเบียนต์ อินไซต์ (AmbientInsight)”
พ.ศ. 2552 พบว่ า ตลาดอีเลิร์นนิ่งสหรั ฐอเมริกา
มีมูลค่ า 16.7 พันล้ านเหรี ยญ
หรื อประมาณ 553,000 ล้ านบาท
คาดว่ า พ.ศ. 2557 จะมีมูลค่ า 23.8 ล้ านเหรี ยญ
หรื อประมาณ 788,000 ล้ านบาท
อัตราการเติบโตร้ อยละ 7.4 ต่ อปี
266
แนวโน้ มตลาดอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)

ในเอเชียคาดว่ าอัตราการเจริญเติบโตของอีเลิร์นนิ่ง
จะเป็ นร้ อยละ 25-30 ต่ อปี
เพราะเอเชียมีประชากรจานวนมาก
267
แนวโน้ มตลาดอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)

ไอดีซีคาดว่ า พ.ศ. 2556 ตลาดอีเลิร์นนิ่งญี่ปุ่น
จะมีมูลค่ า 659 ล้ านเหรี ยญ
หรื อประมาณ 22,000 ล้ านบาท
เติบโตขึน้ ร้ อยละ 31.8 จาก พ.ศ. 2551
268
แนวโน้ มตลาดอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)


ผู้ท่ จี ะประกอบอาชีพด้ านอีเลิร์นนิ่ง
ควรเตรี ยมตัวให้ พร้ อมกับตลาดอีเลิร์นนิ่งทั่วโลก
ที่กาลังขยายตัวมากขึน้ ทุกปี
การเรี ยนรู้ เพิ่มเติมทัง้ ด้ านโครงสร้ างพืน้ ฐาน
ด้ านเครื อข่ าย หรื อด้ านนโยบายอีเลิร์นนิ่ง
จึงมีความจาเป็ นไม่ แพ้ กับการเรี ยนรู้
ด้ านการเรี ยนการสอนแบบในห้ องเรี ยน
269
5.4 ตัวอย่ างเจ้ าหน้ าที่อีเลิร์นนิ่ง

เจ้ าหน้ าที่อีเลิร์นนิ่งอาจมีตาแหน่ ง อาทิ
- ผู้บริหาร
- อาจารย์
- ผู้เชี่ยวชาญด้ านเนือ้ หา
- นักเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
- นักวัดผลการศึกษา
- เจ้ าหน้ าที่อินเทอร์ เน็ต
เป็ นต้ น
270
ตัวอย่ างเจ้ าหน้ าที่อีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)

ตัวอย่ างนักศึกษาปริญญาเอกอีเลิร์นนิ่ง
1) ดร. ฟิ รุ ส อนารากิ (Dr. Firouz Anaraki)
2) กูลดีฟ นากิ (Kuldeep Nagi)
271
1) ดร. ฟิ รุ ส อนารากิ


ดร. ฟิ รุ ส อนารากิ ชาวอิหร่ าน
จบหลักสูตรปรั ชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
เมื่อ พ.ศ. 2551 เป็ นคนแรก
พ.ศ. 2552 ดารงตาแหน่ งประธานฝ่ ายเทคโนโลยี
หรื อ “ซีทโี อ (CTO = Chief Technology Officer)”
ของวิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
272
ดร. ฟิ รุ ส อนารากิ
273
2) กูลดีฟ นากิ


เป็ น Fullbright Fellow จากสหรั ฐอเมริกา
มาอยู่ท่ มี หาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
แล้ วขออยู่ต่อเมื่อจบการเป็ น Fullbright Fellow
นากิได้ ร่วมเขียนบทความไปเสนอต่ างประเทศ
กับ ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
274
กูลดีฟ นากิ (ต่ อ)

คาดว่ าจะจบการศึกษา
หลักสูตรปรั ชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
ภายใน พ.ศ. 2553
275
กูลดีฟ นากิ
276
6. อีเลิร์นนิ่งที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
6.1 ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที
6.2 วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
6.3 หลักสูตรด้ านอีเลิร์นนิ่งระดับปริญญา
ที่เปิ ดสอนที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
6.4 หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการเอสเอ็มอี
277
อีเลิร์นนิ่งที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ต่ อ)
6.5 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
6.6 หลักสูตรทัศนศิลป์
6.7 หลักสูตรสอนร้ องเพลงสาหรั บผู้ป่วยระยะสุดท้ าย
และผู้สนใจทั่วไป
6.8 อีเลิร์นนิ่งในชีวิตที่สอง
278
6.1 ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที

ภราดา ดร.ประทีป มาร์ ตนิ โกมลมาศ
อธิการบดีกติ ติคุณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ได้ มีโครงการก่ อสร้ างอาคารเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพราะอยากจะให้ นักศึกษามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
มีศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
แข่ งขันกับมหาวิทยาลัยในต่ างประเทศได้
279
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)

ชื่ออาคาร
“ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
ได้ มาจากความกรุ ณาของ บราเดอร์ มาร์ ตนิ
ให้ ใช้ ช่ ือเป็ นที่ระลึกในการสร้ างคุณงามความดี
ของ ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
280
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)

27 มิถุนายน พ.ศ. 2545
สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงเจิมแผ่ นศิลาฤกษ์ อาคาร
“ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ"
ที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ
281
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)

20 สิงหาคม พ.ศ. 2547
สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงเสด็จพระราชดาเนินทรงเปิ ดอาคาร
“ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
282
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงเจิมแผ่ นศิลาฤกษ์ อาคาร
“ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
283
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิ ดอาคาร
“ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
284
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงเจิมแผ่ นจารึกการทรงเปิ ดอาคาร
“ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
285
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านการศึกษาไอที (ต่ อ)
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จพระราชดาเนินทรงเยี่ยมชมนิทรรศการในงานเปิ ดอาคาร
“ศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
286
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านการศึกษาไอที (ต่ อ)
ด้ านหน้ าอาคารก่ อนและหลังเปิ ดแพรคลุมป้าย
287
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านการศึกษาไอที (ต่ อ)
พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเติมหัวเสา
และติดทองคาเปลวที่หวั เสาและชื่ออาคาร
288
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)

รั ฐมนตรี ไอซีทกี ราบบังคมทูล
สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ว่ าให้ อาคาร
“ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
เป็ น “ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านการศึกษาไอที
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร”
289
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)

อาคาร “ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยี
สารสนเทศ” 12 ชัน้ มีพนื ้ ที่ 12,000 ตารางเมตร
ประกอบด้ วย
- คอมพิวเตอร์ กว่ า 1,000 เครื่ อง
- ห้ องประชุมทางไกลอินเทอร์ เน็ต
สาหรั บประชุมกับผู้เชี่ยวชาญต่ างประเทศ
- ห้ องอินเทอร์ เน็ตขนาดใหญ่
จุเครื่ องคอมพิวเตอร์ ถงึ 408 เครื่ องในห้ องเดียว
290
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)



ศูนย์ คอมพิวเตอร์ และศูนย์ อนิ เทอร์ เน็ต
พร้ อมไฟฟ้าสารองทัง้ แบบแบตเตอรี
และแบบเครื่ องกาเนิดไฟฟ้า
เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
สาหรั บคนตาบอด คนตามัว คนหูหนวก และคนหูตงึ
ห้ องคอมพิวเตอร์ สาหรั บเด็กเล็ก เด็กอัจฉริ ยะ
และผู้สูงอายุ
291
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)

ที่ตัง้ สมาคมวิชาการด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ
- สมาคมอินเทอร์ เน็ต
- สมาคมอินเทอร์ เน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทย
- สมาคมคอมพิวเตอร์ แห่ งสถาบันวิศวกรไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์ สาขาประเทศไทย
- สมาคมคอมพิวเตอร์ นานาชาติเอซีเอ็ม
สาขาประเทศไทย
เป็ นต้ น
292
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)
อาคาร “ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
293
ศูนย์ แห่ งความเป็ นเลิศด้ านไอที (ต่ อ)
ห้ องฝึ กไอที 408 เครื่ อง
294
6.2 วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต



พ.ศ. 2536 เริ่มโครงการอินเทอร์ เน็ต
ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญให้ บริการแก่ นักศึกษา
อาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ของมหาวิทยาลัย
นักศึกษาสามารถตรวจสอบผลการเรี ยนของตน
ผ่ านทางเว็บของมหาวิทยาลัย (www.au.edu)
สามารถลงทะเบียนผ่ านทางอินเทอร์ เน็ต
ส่ งงาน และคาถามต่ างๆ ถึงอาจารย์ ผ้ ูสอน
295
วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)

คณะต่ างๆ ของมหาวิทยาลัย
จะมีโฮมเพจเป็ นของตนเอง
เพื่อประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่ าวสาร
ให้ นักศึกษาและผู้ท่ สี นใจ
296
วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)

มหาวิทยาลัยได้ จัดตัง้ วิทยาลัยการศึกษาทางไกล
อินเทอร์ เน็ต
และเปิ ดเว็บวิทยาลัยการศึกษาทางไกล
(www.eLearning.au.edu)
เพื่อตอบสนองนโยบายของรั ฐบาล
ในการสนับสนุนให้ มีการศึกษาผ่ านทางอินเทอร์ เน็ต
เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
ให้ กับประชาชนและเยาวชนไทย
297
เว็บวิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
www.eLearning.au.edu
298
วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)

วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
ได้ รับอนุมัตโิ ดยสภามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญให้ เป็ น
“บริการจบครบถ้ วน ณ จุดเดียว สาหรั บการศึกษา
ทางอินเทอร์ เน็ตจากทั่วโลก
(One-Stop Services for Worldwide eEducation)”
ตัง้ อยู่ท่ อี าคาร
“ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
299
6.3 หลักสูตรปริญญาแบบอีเลิร์นนิ่ง
ที่เปิ ดสอนที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
6.3.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ
6.3.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
6.3.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
300
อีเลิร์นนิ่งที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ต่ อ)
6.3.4 หลักสูตรปรั ชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
6.3.5 หลักสูตรปรั ชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา
301
6.3.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการจัดการ

วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เป็ นมหาวิทยาลัยไทยแห่ งแรก
ที่นาหลักสูตรระดับปริญญามาเปิ ดสอน
แบบอีเลิร์นนิ่ง นั่นคือ หลักสูตรวิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ
(Master of Science in Management)
เปิ ดเป็ นครั ง้ แรกเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2549
302
หลักสูตรมหาบัณฑิตสาขาการจัดการ (ต่ อ)

ระหว่ างธันวาคม 2548 ถึง พฤษภาคม 2549 นัน้
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ได้ แต่ งตัง้ ให้ ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ดารงตาแหน่ งผู้อานวยการหลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ
โดยเหตุผลว่ าเป็ นผู้เหมาะสม
มีประสบการณ์ ทงั ้ ด้ านการบริหารการศึกษา
และด้ านการจัดการธุรกิจ
303
หลักสูตรมหาบัณฑิตสาขาการจัดการ (ต่ อ)

มี 5 สาขาวิชาเอก
1) การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม
(Small and Medium Enterprise Management)
2) การจัดการทรั พยากรบุคคล
(Human Resource Management)
304
ห้ าสาขาวิชาเอกของหลักสูตรการจัดการ (ต่ อ)
3) การจัดการเทคโนโลยีเพื่อการประกอบการ
(Technology Management)
4) การจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์
(Strategic Marketing Management)
5) การจัดการภาคธุรกิจ
(Business Management)
305
หลักสูตรมหาบัณฑิตสาขาการจัดการ (ต่ อ)

ถึงปี การศึกษา 2552
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
มีนักศึกษาที่จบหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการจัดการไปแล้ ว 219 คน
306
6.3.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร



หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(Master of Science in Information
and Communication Technology)
เปิ ดสอนตัง้ แต่ เดือนพฤษภาคม 2548
เพื่อศึกษาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการพัฒนาในสายงาน
พัฒนาและส่ งเสริมทักษะการจัดการ
307
มหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร (ต่ อ)

มี 3 สาขาวิชาเอก
1) ระบบสารสนเทศ (Information Systems)
2) การสื่อสารและเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์
(Computer Communication and Network)
3) เทคโนโลยีกราฟิ กและเกมคอมพิวเตอร์
(Graphic and Gaming Technology)
308
มหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร (ต่ อ)

ถึงปี การศึกษา 2552
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
มีนักศึกษาที่จบหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ไปแล้ ว 42 คน
309
6.3.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์


หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
(Master of Science in eLearning Methodology)
หรื ออาจจะเรี ยกว่ า
“หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการอีเลิร์นนิ่ง”
โครงการเริ่มในเดือนพฤษภาคม 2552
310
มหาบัณฑิตสาขาวิธีวิทยาการอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)

ถึงปี การศึกษา 2552
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ยังไม่ มีผ้ ูจบการศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
311
6.3.4 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์

วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
เป็ นแห่ งแรกของโลก
ที่เปิ ดหลักสูตรปรั ชญาดุษฎีบัณฑิต
“สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
(Doctor of Philosophy in eLearning Methodology)”
หรื ออาจจะเรี ยกว่ า
“หลักสูตรปรั ชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการอีเลิร์นนิ่ง”
312
ดุษฎีบัณฑิตสาขาวิธีวิทยาการอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)


สามารถเริ่มงานวิจัยได้ ทนั ที
โดยมีผ้ ูเชี่ยวชาญให้ คาแนะนาอย่ างใกล้ ชิด
มีผ้ ูสมัครจาก 30 ประเทศ อาทิ
- สหรั ฐอเมริกา - แคนาดา
- อังกฤษ
- ออสเตรเลีย
- นิวซีแลนด์
- เยอรมนี
เป็ นต้ น
313
ดุษฎีบัณฑิตสาขาวิธีวิทยาการอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)

หากค้ น “Ph.D. in eLearning methodology”
ในกูเกิล จะพบ 4-5 รายการแรก
เป็ นของวิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
314
ค้ น “Ph.D. in eLearning Methodology”
ในกูเกิล พบ 4-5 รายการแรกเป็ นของวิทยาลัยฯ
315
ดุษฎีบัณฑิตสาขาวิธีวิทยาการอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)

ผู้จะจบดุษฎีบัณฑิต
- ต้ องสอบผ่ าน Qualifying Examination
- ต้ องสอบผ่ าน Dissertation Proposal Defense
- ต้ องสอบผ่ าน Dissertation Final Defense
- ต้ องมีคะแนน TOEFL ไม่ ต่ากว่ า 550
- ตีพมิ พ์ หรื อมีบันทึกรั บ
จะตีพมิ พ์ จากวารสารวิชาการ
ที่มีผ้ ูตรวจสอบอย่ างน้ อย 3 คน
316
ดุษฎีบัณฑิตสาขาวิธีวิทยาการอีเลิร์นนิ่ง (ต่ อ)

ตัง้ แต่ มิถุนายน 2549 ถึง กรกฎาคม 2552
มีนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรี ยน 42 คน
และมีนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาไปแล้ ว 1 คน
เป็ นชาวอิหร่ านคือ
“ดร. ฟี รุ ส อนารากิ (Dr. Firouz Anaraki)”
317
6.3.5 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา

หลักสูตรปรั ชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา
(Doctor of Philosophy in Education Administration)
คาดว่ าจะเปิ ดสอนในเดือนมิถุนายน 2553
318
6.4 หลักสูตรประกาศนียบัตร
การจัดการเอสเอ็มอี

เมื่อมกราคม 2550
ผู้บริหารสานักงานส่ งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่ อม (สสว.) ได้ ไปเยี่ยมชม
“วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต”
ที่ “ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
319
ความสาคัญของเอสเอ็มอี

ความสาคัญของเอสเอ็มอี คือ
- ประมาณร้ อยละ 99 ของหน่ วยงานธุรกิจไทย
เป็ นเอสเอ็มอี
- แรงงานไทยประมาณร้ อยละ 76 อยู่ในเอสเอ็มอี
- ร้ อยละ 39 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศไทย
มาจากเอสเอ็มอี
320
ความสาคัญของเอสเอ็มอี (ต่ อ)
- ร้ อยละ 29 ของการส่ งออกไทย มาจากเอสเอ็มอี
ฉะนัน้ สมควรอย่ างยิ่งที่จะทา
“หลักสูตรการเรี ยนแบบอีเลิร์นนิ่ง”
สาหรั บเอสเอ็มอีไทย
321
หลักสูตรการจัดการเอสเอ็มอี (ต่ อ)

ตกลง สสว. จ้ างวิทยาลัยการศึกษาทางไกล
อินเทอร์ เน็ต ด้ วยงบประมาณ 7.5 ล้ านบาท
จัดทาหลักสูตรเอสเอ็มอี
- ทาคอร์ สแวร์ 18 วิชา
- รั บสมัครนักศึกษาฟรี
- จัดทาการเรี ยนการสอนฟรี
- จัดการสอบฟรี
- จัดพิธีแจกประกาศนียบัตรและเลีย้ งฉลองฟรี
322
เว็บของหลักสูตรประกาศนียบัตร
การจัดการเอสเอ็มอี
323
หลักสูตรการจัดการเอสเอ็มอี (ต่ อ)

บทเรี ยน 18 วิชา แบ่ งเป็ น
- หลักสูตรการจัดการเอสเอ็มอี 12 วิชา
- หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพเอสเอ็มอี 6 วิชา
324
ตัวอย่ างหลักสูตรการจัดการเอสเอ็มอี 12 วิชา

หลักสูตรการจัดการเอสเอ็มอี 12 วิชา อาทิ
- SME 101 แนวคิดในการเริ่มธุรกิจ SMEs
- SME 102 การจัดการการตลาดเบือ้ งต้ น
สาหรั บ SMEs
- SME 103 การบริหารการเงินสาหรั บ SME
- SME 104 การบัญชีและการจัดทาประมาณการ
ทางการเงินสาหรั บ SMEs
เป็ นต้ น
325
ตัวอย่ างหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพเอสเอ็มอี 6 วิชา

หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพเอสเอ็มอี 6 วิชา อาทิ
- SME 201 บทบาทหน้ าที่ของสานักงาน
ส่ งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม
- SME 202 การสร้ างตราสินค้ า
- SME 203 การจัดการองค์ ความรู้
เพื่อสร้ างขีดความสามารถในการแข่ งขัน
ให้ กับวิสาหกิจขนาดลางและขนาดย่ อม
เป็ นต้ น
326
สถิตกิ ารเรียนหลักสูตรเอสเอ็มอี


ถึงมกราคม พ.ศ. 2553
มีนักศึกษา 60,000 คน
และเพิ่มประมาณเดือนละ 2,000 คน
ประมาณ 36,000 คน เข้ าศึกษา
อย่ างน้ อยคนละ 8 วิชา
327
สถิตกิ ารเรียนหลักสูตรเอสเอ็มอี (ต่ อ)




วิทยาลัยฯ จัดการสอบปี ละ 3 ครั ง้
จะ “สอบได้ ” ต้ องได้ อย่ างน้ อยร้ อยละ 50
ผู้ใดสนใจสอบวิชาใดต้ องลงทะเบียนล่ วงหน้ า
ใช้ ระบบความไว้ เนือ้ เชื่อใจกัน
แบบที่ในภาษาอังกฤษ
ใช้ “ระบบออนเนอร์ (Honour System)”
คือ จะสอบจากที่ใดก็ได้ ไม่ ต้องมีการคุมสอบ
328
สถิตกิ ารเรียนหลักสูตรเอสเอ็มอี (ต่ อ)



ปรากฏว่ านักศึกษาส่ วนมากสนใจได้ ความรู้
แต่ ไม่ สนใจสอบ
เพียงประมาณร้ อยละ 10 เข้ าสอบ
วิทยาลัยฯ จัดสารวจความคิดเห็นนักศึกษา
เป็ นระยะๆ
329
สถิตกิ ารเรียนหลักสูตรเอสเอ็มอี (ต่ อ)

ผลการสารวจความคิดเห็นเมื่อ พ.ศ. 2551
- ร้ อยละ 62 ของนักศึกษา เป็ นชาย
- ร้ อยละ 28 ของนักศึกษา เป็ นหญิง
- ร้ อยละ 43 อายุ 26 - 35
- ร้ อยละ 35 อายุ 36 - 45
- ร้ อยละ 12 อายุ 19 - 25
330
สถิตกิ ารเรียนหลักสูตรเอสเอ็มอี (ต่ อ)
-
ร้ อยละ 9 อายุ 46 - 55
ร้ อยละ 2 อายุ 56 - 65
ร้ อยละ 59 จบปริญญาตรี
ร้ อยละ 34 จบปริญญาโท
331
สถิตกิ ารเรียนหลักสูตรเอสเอ็มอี (ต่ อ)

อัตราส่ วนนักศึกษาจากกรุ งเทพมหานครและภาค
ต่ างๆ
- ร้ อยละ 38 กรุ งเทพมหานคร
- ร้ อยละ 30 ภาคกลาง
- ร้ อยละ 14 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ร้ อยละ 10 ภาคใต้
- ร้ อยละ 7 ภาคเหนือ
332
สถิตกิ ารเรียนหลักสูตรเอสเอ็มอี (ต่ อ)

ผู้ทาธุรกิจเอสเอ็มอีในประเทศไทย
มีประมาณ 9 ล้ านคน
จึงหวังว่ าจานวนผู้เข้ าเรี ยน
จากเว็บมหาวิทยาลัยอีเอมเอ็มอี
จะเพิ่มเป็ นล้ านคน
333
6.5 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู


หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
(Graduate Diploma Program in Teaching
Profession) มีระบบการเรี ยนการสอนเป็ นภาษาไทย
ประกอบด้ วย 11 วิชา 30 หน่ วยกิต
334
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู (ต่ อ)



ตรงตามมาตรฐานความรู้
และประสบการณ์ วิชาชีพของคุรุสภา
เรี ยนผ่ านอินเทอร์ เน็ต
สามารถเรี ยนจบได้ ภายใน 1 ปี ครึ่ง
335
วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร

เพื่อผลิตบัณฑิตให้ มีคุณสมบัตสิ อดคล้ อง
กับพระราชบัญญัตสิ ภาครู และบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 49
ว่ าด้ วยมาตรฐานวิชาชีพ
โดยเป็ นผู้มีความรู้ และประสบการณ์ วชิ าชีพ
มีความพร้ อมในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มีมาตรฐานการปฏิบัตติ นตามกาหนดข้ อบังคับ
ว่ าด้ วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ซึ่งประกอบด้ วยจรรยาบรรณ 5 ประการ
336
จรรยาบรรณ 5 ประการ

จรรยาบรรณ 5 ประการ ประกอบด้ วย
* จรรยาบรรณต่ อตนเอง
* จรรยาบรรณต่ อวิชาชีพ
* จรรยาบรรณต่ อผู้รับบริการ
* จรรยาบรรณต่ อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
* จรรยาบรรณต่ อสังคม
337
วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร (ต่ อ)

เพื่อให้ บัณฑิตเป็ นผู้มีความรู้
ทางด้ านการจัดการความรู้
มีความเข้ าใจในนักศึกษา
มีคุณธรรม จริยธรรม ตามมาตรฐานวิชาชีพ
338
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู (ต่ อ)

ตัง้ แต่ กันยายน ถึง ธันวาคม 2552
มีนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรี ยนหลักสูตร
ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
ทัง้ หมด 10 คน
339
เว็บของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู
(www.elearning.au.edu/graddip/)
340
6.6 หลักสูตรทัศนศิลป์

วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
ได้ เปิ ดสอนหลักสูตรระยะสัน้
เกี่ยวกับการออกแบบเว็บ (Web Design)
และแอนิเมชันแฟลช (Flash Animation)
341
หลักสูตรทัศนศิลป์ (ต่ อ)

หลักสูตรทัศนศิลป์ที่เปิ ดสอน ได้ แก่
- โปรแกรมจาวาสาหรั บผู้เริ่มต้ น
(Java Programming for Beginners)
- การออกแบบกราฟิ กด้ วยโปรแกรมโฟโตชอป
และอิลลัสเทรเทอร์
(Graphics Design with Photoshop & Illustrator)
342
หลักสูตรทัศนศิลป์ที่เปิ ดสอน (ต่ อ)
- การออกแบบเว็บและแอนิเมชันแฟลช
(Web Design and Flash Animation)
- ข้ อแนะนาเกี่ยวกับแบบจาลอง 3 มิติ
และแอนิเมชัน
(Introduction to 3D Modeling and Animation)
343
หลักสูตรทัศนศิลป์ (ต่ อ)
344
6.7 หลักสูตรสอนร้ องเพลง
สาหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ ายและผู้สนใจทั่วไป

เปิ ดหลักสูตรสอนร้ องเพลง
ให้ กับผู้ป่วยระยะสุดท้ ายและผู้สนใจทั่วไป
ในโครงการ
“ศาสตร์ และศิลป์เพื่อคุณภาพชีวิตผ่ านอีเลิร์นนิ่ง
(Science and Arts for Quality of Life
Through eLearning)”
345
หลักสูตรสอนร้ องเพลง (ต่ อ)

เป็ นความร่ วมมือระหว่ าง
- วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
- มูลนิธิชีวันตารั กษ์
- กองดุริยางค์ ทหารเรื อ
346
หลักสูตรสอนร้ องเพลง (ต่ อ)

หลักสูตรสอนร้ องเพลง
ประกอบด้ วย
- เนือ้ หาพืน้ ฐานในการขับร้ องเพลงประสานเสียง
- เพลงที่สอน ทัง้ หมด 20 บทเพลง
347
หลักสูตรสอนร้ องเพลง (ต่ อ)

ตัวอย่ างเพลงที่เปิ ดสอน อาทิ
- อิ่มอุ่น
- หนึ่งในร้ อย
- เรามีเรา
- วิมานดิน
- ชั่วฟ้าดินสลาย
- รั กไม่ ร้ ู ดับ
เป็ นต้ น
348
เว็บของหลักสูตรสอนร้ องเพลง
(oscar.cide.au.edu/music/course/view.phd?id=2)
349
6.8 อีเลิร์นนิ่งในชีวิตที่สอง

วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
เป็ นแห่ งแรกของไทย
ที่เข้ าไปอยู่ในในโลกเสมือนจริงชีวติ ที่สอง
(Second Life)
350
อีเลิร์นนิ่งในชีวิตที่สอง (ต่ อ)

ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน เข้ าไปซือ้ เกาะ
และตัง้ ชื่อเกาะว่ า “เกาะชาร์ มมิง (Charming Island)”
มีเนือ้ ที่ประมาณ 65,536 ตารางเมตร
หรื อประมาณ 40 ไร่
351
ร่ างอวตารของ ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน
352
มุมมองบริเวณด้ านหน้ าของ
อาคารศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ
353
7. อนาคตของบัณฑิตไทยบนเส้ นทางไอที
7.1 กล่ าวนา
7.2 อนาคตบัณฑิตด้ านไอที
7.3 อนาคตบัณฑิตด้ านที่ไม่ ใช่ ไอที
354
7.1 กล่ าวนา

มกราคม 2552 ศูนย์ คอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ
ของสหราชอาณาจักร
(NCC = National Computing Centre, UK)
สารวจเรื่ อง ความต้ องการบุคลากรด้ านไอที
จาก 6,461 คน 202 องค์ กร
ในสหราชอาณาจักร
355
ความต้ องการบุคลากรด้ านไอที (ต่ อ)

ร้ อยละ 33.7 ต้ องการผู้เชี่ยวชาญในด้ าน
- พัฒนาระบบ
- พัฒนาเว็บ
- สนับสนุนเครื อข่ าย
- วิเคราะห์ ข้อมูลธุรกิจ
356
ความต้ องการบุคลากรด้ านไอที (ต่ อ)

ร้ อยละ 7.9 ต้ องการผู้เชี่ยวชาญด้ าน
- วีเอ็มแวร์
- ภาษาซีชาร์ บ
- เทคโนโลยีเสมือนจริง
- ความปลอดภัยไอที
- โครงสร้ างพืน้ ฐานไอที
357
ความต้ องการบุคลากรด้ านไอที (ต่ อ)

ผลสารวจยังคาดว่ า พ.ศ. 2554
มีความต้ องการบุคลากร
- ร้ อยละ 20 เจ้ าหน้ าที่ด้านบริการไอที
- ร้ อยละ 10 เจ้ าหน้ าที่ดูแลระบบ
และสนับสนุนเครื อข่ าย
- ร้ อยละ 13 เจ้ าหน้ าที่พัฒนาระบบ
358
กล่ าวนา (ต่ อ)

ประเทศไทยเมื่อปลายปี พ.ศ. 2551
ได้ เปิ ดแผนไทยแลนด์ ไอที 2.0
ซึ่งมีสานักงานส่ งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์ แวร์
ประเทศไทยหรื อ “ซิป้า (SIPA)”
และอีก 7 หน่ วยงานไอทีให้ การสนับสนุน
โดยมีจุดประสงค์ เพื่อพัฒนาบุคลากรด้ านไอที
ทัง้ นี ้ ได้ สร้ างนักพัฒนาด้ านไอทีไปแล้ ว 500 ราย
359
กล่ าวนา (ต่ อ)

ในการพัฒนาบัณฑิตไทยนัน้
อาจใช้ อีเลิร์นนิ่งเป็ นส่ วนช่ วยสาคัญ
โดยถึงปี พ.ศ. 2553
อีเลิร์นนิ่งเป็ นแนวโน้ ม
ที่คาดว่ าจะเป็ นการศึกษาหลักในอนาคต
360
กล่ าวนา (ต่ อ)

วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
ก็ได้ เปิ ดหลักสูตรสาขาวิธีวทิ ยาการเรี ยน
ทางอิเล็กทรอนิกส์ ขนึ ้
เพื่อพัฒนาบัณฑิตไทย
ให้ เป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ านอีเลิร์นนิ่ง
และเป็ นบุคลากรไอทีทางการศึกษา
361
กล่ าวนา (ต่ อ)

หลักสูตรสาขาวิธีวทิ ยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
ที่วิทยาลัยฯ เปิ ดสอน คือ
- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
- หลักสูตรปรั ชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
362
กล่ าวนา (ต่ อ)

วิทยาลัยฯ ได้ ส่งเสริมให้ ผ้ ูท่ สี นใจ
ได้ เรี ยนรู้ และฝึ กอบรม อาทิ
- ฝึ กอบรมอีเลิร์นนิ่งให้ มหาวิทยาลัยเปิ ดฮานอย
(Hanoi Open University)
โดยคิดค่ าอบรมคนละประมาณ 70,000 บาท
เป็ นเวลา 5 วัน
363
กล่ าวนา (ต่ อ)
- เจรจากับสมาคมพยาบาลฟิ ลิปปิ นส์
จะให้ บริการอบรมพยาบาลฟิ ลิปปิ นส์ ท่ วั โลก
ประมาณ 2 ล้ านคน
- จัดฝึ กอบรมให้ ยูเนสโก สาหรั บ 5 ประเทศ
ได้ แก่ กัมพูชา ลาว พม่ า ไทย และเวียตนาม
เป็ นเวลา 5 วัน ใช้ งบประมาณ 800,000 บาท
เป็ นต้ น
364
วิทยาลัยฯ จัดฝึ กอบรมให้ ยูเนสโก
วิทยาลัยฯ จัดฝึ กอบรมให้ ยูเนสโก สาหรั บ 5 ประเทศ
ได้ แก่ กัมพูชา ลาว พม่ า ไทย และเวียตนาม
365
7.2 อนาคตบัณฑิตด้ านไอที

มหาวิทยาลัยไทยทุกมหาวิทยาลัย
ล้ วนมีหลักสูตรไอที
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมีหลักสูตรไอทีมากที่สุด
จานวน 25 หลักสูตร
366
หลักสูตรไอทีท่ อี ัสสัมชัญ

Bachelor of Science and Technology
- Bachelor in Computer Science
- Bachelor in Information Technology
- Bachelor in Telecommunications Science
- Bachelor in Business Data Analysis
367
หลักสูตรไอทีท่ อี ัสสัมชัญ (ต่ อ)


Bachelor of Engineering
- Bachelor in Electrical and Electronics
Engineering
- Bachelor in Computer and Network Engineering
- Bachelor in Telecommunication and Electronics
Engineering Mechatronics Engineering
Bachelor of Business Administration
- Business Information Systems
368
หลักสูตรไอทีท่ อี ัสสัมชัญ (ต่ อ)


Bachelor of Communication Arts
- Bachelor in New Media Communication
Master of Information Technology
- Master in Computer Information System
- Master in Computer and Engineering
Management
- Master in Internet and E-commerce Technology
- Master in Software Engineering
369
หลักสูตรไอทีท่ อี ัสสัมชัญ (ต่ อ)


Master of Science and Technology
- Master in Information Technology
- Master in Computer Science
- Master in Telecommunications Science
Master of Engineering
- Master in Broadband Telecommunications
370
หลักสูตรไอทีท่ อี ัสสัมชัญ (ต่ อ)


Doctor of Philosophy in Information Technology
- Ph.D. in Computer Information Systems
- Ph.D. in Computer and Engineering
Management
Doctor of Philosophy in Science and Technology
- Ph.D. in Computer Science
- Ph.D. in Information Technology
- Ph.D. in Telecommunications Science
371
หลักสูตรไอทีท่ อี ัสสัมชัญ (ต่ อ)

College of Internet Distance Education
- M.S. in Information and Communacation
Technology (eLearning)
- M.S. in eLearning Methodology (eLearning)
- Ph.D. in eLearning Methodology (eLearning)
372
7.3 อนาคตบัณฑิตด้ านที่ไม่ ใช่ ไอที

บัณฑิตไทยทุกระดับ ทุกสาขา ใน พ.ศ. 2553
จาเป็ นต้ องมีความรู้ ด้านไอที
ไม่ ว่าจะเป็ นศึกษาหาความรู้ โดยตรง
หรื อศึกษาด้ วยตนเอง
373
อนาคตบัณฑิตด้ านที่ไม่ ใช่ ไอที (ต่ อ)

ความรู้ พนื ้ ฐานด้ านไอทีท่ บี ัณฑิตไทย
ควรจะศึกษาหาความรู้ อาทิ
- อินเทอร์ เน็ต
- ไมโครซอฟต์ ออฟฟิ ศ
- เครื อข่ ายสังคม
เป็ นต้ น
374
อนาคตบัณฑิตด้ านที่ไม่ ใช่ ไอที (ต่ อ)

บัณฑิตไทยสามารถใช้ อินเทอร์ เน็ตในด้ านต่ างๆ
อาทิ
- หาความรู้ เพิ่มเติม
- หากิจกรรมฝึ กอบรม
- หางาน
เป็ นต้ น
375
อนาคตบัณฑิตด้ านที่ไม่ ใช่ ไอที (ต่ อ)

บัณฑิตไทยสามารถใช้ ไมโครซอฟต์ ในการทางาน
อาทิ
- พิมพ์ เอกสารโดยใช้ ไมโครซอฟต์ เวิร์ด
- ตารางคานวณโดยใช้ ไมโครซอฟต์ เอ็กซ์ เซล
- นาเสนอการบรรยาย
โดยใช้ ไมโครซอฟต์ พาวเวอร์ พอยต์
เป็ นต้ น
376
อนาคตบัณฑิตด้ านที่ไม่ ใช่ ไอที (ต่ อ)

บัณฑิตไทยสามารถใช้ เครื อข่ ายสังคม อาทิ
- แสดงประวัตหิ รื อข้ อมูลของตนเอง
- แสดงผลงานของตนเอง
- หากิจกรรมที่น่าสนใจ
- หาเพื่อนที่มีความสนใจในเรื่ องเดียวกัน
เป็ นต้ น
377
อนาคตบัณฑิตด้ านที่ไม่ ใช่ ไอที (ต่ อ)

มีรายงานจากเว็บ
“บิก๊ นิวส์ เน็ตเวิร์ก (feeds.bignewsnetwork.com)”
ระบุว่า นายจ้ างจานวนมากนิยมใช้ เครื อข่ ายสังคม
เพื่อตรวจสอบประวัตแิ ละภูมหิ ลังของผู้สมัครงาน
ข้ อความและเนือ้ หาต่ างๆ
ที่ผ้ ูสมัครงานเคยลงไว้ ในเว็บเครื อข่ ายสังคมนัน้
อาจจะส่ งผลให้ นายจ้ างปฏิเสธไม่ รับผู้สมัครงาน
ที่มีพฤติกรรมไม่ ดีเข้ าทางาน
378
รายงานจากบิก๊ นิวส์ เน็ตเวิร์ก (ต่ อ)

จากการสารวจ พบว่ า
- ร้ อยละ 10 ของผู้ถูกปฏิเสธเข้ าทางาน
มีสาเหตุมาจากการพูดคุยกัน
ในเรื่ องการดื่มสุรา ของมึนเมา หรื อยาเสพติด
379
รายงานจากบิก๊ นิวส์ เน็ตเวิร์ก (ต่ อ)
- ร้ อยละ 13 ของผู้ถูกปฏิเสธเข้ าทางาน
มีสาเหตุมาจากการพูดคุยกัน
ในเรื่ องการแบ่ งแยกสีผิวหรื อการแบ่ งแยกชนชัน้
- ร้ อยละ 9 ของผู้ถูกปฏิเสธเข้ าทางาน
มีสาเหตุมาจาก
การเผยแพร่ ภาพที่ส่อไปในทางลามกอนาจาร
380
8. สรุ ป



ถึงปี พ.ศ. 2553 ถ้ าใครไม่ ร้ ู จักใช้ ไอที
ก็คงหางานไม่ ได้
ส่ วนหนึ่งอาจจะศึกษาประกาศนียบัตร
และปริญญาด้ านไอทีโดยตรง
ซึ่งมีสาขาวิชาให้ เลือกมากมาย อาทิ
ที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมีกว่ า 25 หลักสูตร เป็ นต้ น
ส่ วนผู้ท่ ไี ม่ ได้ ศกึ ษาปริญญาด้ านไอทีโดยตรง
ก็จาเป็ นต้ องมีความรู้ ความสามารถด้ านไอที
381
สรุ ป (ต่ อ)


หลายหลักสูตรที่ไม่ ใช่ หลักสูตรด้ านไอทีโดยตรง
ก็มีวิชาด้ านไอทีให้ เลือกศึกษามากมาย
ผู้ท่ ไี ม่ ได้ ศกึ ษาระดับมหาวิทยาลัย
ก็อาจหาความรู้ ด้านไอทีได้ จากอินเทอร์ เน็ต
382
สรุ ป (ต่ อ)


ตัวอย่ างที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
มีหลักสูตรระยะสัน้ 18 วิชาให้ เรี ยนฟรี
สอบฟรี และรั บประกาศนียบัตรฟรี
ฉะนัน้ อาจสรุ ปได้ ว่า ทุกคนก็อยู่บนเส้ นทางไอที
ไม่ ว่าจะโดยทางตรงหรื อทางอ้ อม
383
สรุ ป (ต่ อ)

สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ฯ
เคยมีกระแสพระราชดารั สว่ า
“อยากรู้ อะไรก็ไปถามพระอาจารย์ กู (Google)”
ฉะนัน้ ทุกคนจึงควรสนใจใฝ่ หาความรู้ ด้านไอที
จากกูเกิลและแหล่ งอื่นๆ
เพื่อนาไปใช้ ให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ตนเอง
หน่ วยงานที่ตนทางานอยู่
และประเทศชาติในที่สุด
384