T***T***U***U***U***U***U***U***U***U***U** U** U***U***U** U

Download Report

Transcript T***T***U***U***U***U***U***U***U***U***U** U** U***U***U** U

ปรากฏการณ์ ความสัมพันธ์
ของสื่อมวลชนกับเทคโนโลยี
ในโลกออนไลน์
ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
[email protected]
www.charm.au.edu
ประธานกรรมการและประธานผู้บริหาร
วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เอกสารประกอบการบรรยายในการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง
“สื่อมวลชนยุคใหม่ กระจกสะท้ อนสังคม...?” จัดโดยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคาแหง ในหัวข้ อสัมมนาเรื่อง “ปรากฏการณ์ ความสัมพันธ์ ในโลกออนไลน์ ”
ณ ห้ องพวงแสด ชัน้ 2 คณะมนุษย์ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง (หัวหมาก)
วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2552
ปรากฏการณ์ ความสัมพันธ์ ของสื่อมวลชน
กับเทคโนโลยีในโลกออนไลน์
1.
2.
3.
4.
บทนา
ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ต
วิวัฒนาการของเครื อข่ ายสังคมออนไลน์
เครื อข่ ายสังคมกับการสร้ างสัมพันธภาพในโลก
ออนไลน์
5. เครื อข่ ายสังคมกับสื่อมวลชน
6. เครื อข่ ายสังคมกับเยาวชนและวัยรุ่ น
7. เครื อข่ ายสังคมกับคนวัยทางาน
2
ปรากฏการณ์ ความสัมพันธ์ ของสื่อมวลชน
กับเทคโนโลยีในโลกออนไลน์
8.เครื อข่ ายสังคมกับผู้สูงวัย
9.เครื อข่ ายสังคมกับการศึกษา
10. เครื อข่ ายสังคมในแง่ ของการเป็ นสื่อให้ ความบันเทิง
11. ผลกระทบของเครื อข่ ายสังคมต่ อสังคมไทย
12. ตัวอย่ างกรณีศกึ ษาและคดีต่างๆ ที่เกี่ยวกับเครื อข่ าย
สังคม
13. สรุ ป
3
1. บทนา

ถึงมิถุนายน 2552 มีผ้ ูใช้ อนิ เทอร์ เน็ตทั่วโลก
ประมาณ 1,600 ล้ านคน
และหนึ่งในกิจกรรมที่ผ้ ูใช้ อนิ เทอร์ เน็ตนิยมทากัน
ก็คือติดตามข้ อมูลข่ าวสารจากสื่อมวลชน
4
บทนา (ต่ อ)

อาจกล่ าวได้ ว่าปี พ.ศ. 2552
เป็ นยุคแห่ งเครื อข่ ายสังคมเพราะมีผ้ ูคนมากมาย
ที่ไม่ จากัดเฉพาะกลุ่มเยาวชนคนวัยรุ่ น
ก็สามารถเข้ าไปใช้ ส่ ือที่มีอยู่บนอินเทอร์ เน็ต
และเครื อข่ ายสังคมเพื่อสร้ างความสัมพันธ์
ในด้ านต่ างๆ ได้
5
บทนา (ต่ อ)

สาหรั บเครื อข่ ายสังคมที่ได้ รับความนิยม
เป็ นอันดับหนึ่งจากทั่วโลกนัน้ คือ เว็บเฟซบุค
โดยในสหรั ฐอเมริกาเมื่อเดือนสิงหาคม 2552
มีชาวอเมริกันเข้ าไปใช้ เฟซบุคได้ ประมาณ
ร้ อยละ 39 ของชาวอเมริกันที่ใช้ อินเทอร์ เน็ต
6
ค้ น “เครือข่ ายสังคม (Define: Social Network)”
จากกูเกิล
7
บทนา (ต่ อ)

ค้ น “เครื อข่ ายสังคม (Social Network)”
จากวิกพ
ิ ีเดีย หมายถึง โครงสร้ างทางสังคมของบุคคล
หรื อหน่ วยงานที่ประกอบด้ วย จุดเชื่อมต่ อ (Node)
ซึ่งอาจจะเป็ นบุคคล หน่ วยงาน
ซึ่งมีความสนใจคล้ ายคลึงกัน
8
ค้ นหา “เครือข่ ายสังคม” จากวิกิพีเดีย
9
การจัดประเภทเว็บเครือข่ ายสังคม
1)
2)
3)
4)
ประเภทเน้ นที่คน (People Focus)
ประเภทเน้ นที่งานอดิเรก (Hobby Focus)
ประเภทพบกันในเว็บเท่ านัน้ (In Web Only)
ประเภทพบกันต่ อหน้ าต่ อตา (Face-to-Face)
10
1) ประเภทเน้ นที่คน (People Focus)

แล้ วแต่ ใครอยากจะคบกับใคร
โดยแต่ ละคนกาหนดว่ าอยากคบคนแบบใด
อาทิ
• อยากคบผู้หญิง หรื อ ผู้ชาย หรื อทัง้ สองเพศ
• อยากคบนักร้ อง และดารา
• อยากคบนักการศึกษา
เป็ นต้ น
11
ประเภทเน้ นที่คน (ต่ อ)

ตัวอย่ างเว็บเครื อข่ ายสังคมที่เน้ นคน
• มายสเปซ (www.MySpace.com)
• เฟซบุค (www.FaceBook.com)
• เบโบ (www.Bebo.com)
โดยทุกคนต้ องประกาศ
“ประวัตแิ ละความสนใจ (Profile)” ของตน
12
2) ประเภทเน้ นที่งานอดิเรก

อาทิ
• ถ่ ายภาพ (Photography)
• อ่ านหนังสือ (Reading)
เป็ นต้ น
13
ประเภทเน้ นที่งานอดิเรก (ต่ อ)

ตัวอย่ างเว็บเครื อข่ ายสังคมเน้ นการถ่ ายภาพ
• ฟลิกเกอร์ (www.Flickr.com)
• โกดัก แกลอรี (www.KodakGallery.com)
• โฟโต บัคเกต (PhotoBucket.com)
เป็ นต้ น
14
3) ประเภทพบกันในเว็บเท่ านัน้

ประเภทนีไ้ ม่ ต้องการพบหน้ าแบบต่ อหน้ าต่ อตา
ตัวอย่ างในฟลิคเกอร์ (www.Frickr.com)
คือ ดูรูปภาพและวิพากษ์ วจิ ารณ์ รูปภาพ
15
4) ประเภทพบกันแบบต่ อหน้ าต่ อตา

ประเภทนีม้ ักจะเป็ นนักเรี ยนและนักศึกษา
ในสถานศึกษาเดียวกัน
ตัวอย่ าง คือ เฟชบุค
ซึ่งเริ่มจากนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด
(Harvard University)
16
2. ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ต
2.1 ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ตโลก
2.2 คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย
17
2.1 ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ตโลก

อินเทอร์ เน็ตเกิดขึน้ ครั ง้ แรกเมื่อปี พ.ศ. 2512
ในประเทศสหรั ฐอเมริกา ในโครงการของ “อาร์ ปาเน็ต
(ARPANET = Advanced Research Project Agency
Network)” ซึ่งได้ รับการสนับสนุน
จากกระทรวงกลาโหมของประเทศสหรั ฐอเมริกา
และมูลนิธิวทิ ยาศาสตร์ แห่ งชาติ
หรื อ “เอ็นเอสเอฟ
(NSF = National Science Foundation)”
18
ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ตโลก (ต่ อ)

เอ็นเอสเอฟได้ มอบหมายให้
“มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์ เนีย
(University of Southern California)”
โดย “จอน พอสเทล (Jon Postel)”
เป็ นผู้ดูแลแม่ ข่ายรากอินเทอร์ เน็ต
(Internet Root Servers)
19
ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ตโลก (ต่ อ)

ในปี พ.ศ. 2515 จึงได้ มีการเสนอระบบไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ หรื อ “อีเมล์ (e-mail = Electronic Mail)”
ทาให้ ในปี พ.ศ. 2516 “วินท์ เซิร์ฟ (Vint Cerf)”
และ “บ๊ อบ คาห์ น (Bob Kahn)”
ได้ นาเสนอโปรโตคอล
สาหรั บการเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตขึน้
20
ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ตโลก (ต่ อ)


นอกจากนี ้ ในปี พ.ศ. 2517 วินท์ เซิร์ฟ
และ บ๊ อบ คาห์ น ยังได้ บัญญัตคิ าว่ า
“อินเทอร์ เน็ต (Internet)” ขึน้ ใช้ เป็ นครั ง้ แรกด้ วย
ต่ อมาก็มีการเรี ยกขาน วินท์ เซิร์ฟ
ว่ าเป็ น “บิดาอินเทอร์ เน็ต”
21
ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ตโลก (ต่ อ)

ในปี พ.ศ. 2526
จอน พอสเทล และคณะได้ ประกาศใช้
ระบบชื่ออาณาเขตอินเทอร์ เน็ต
หรื อ “ดีเอนเอส (DNS = Domain Name System)”
22
ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ตโลก (ต่ อ)

มีช่ ืออาณาเขตระดับสูงสุด (Top-Level Domain Name)
อาทิ
- ดอตคอม (.com) สาหรั บธุรกิจ
- ดอตเน็ต (.net) สาหรั บเครื อข่ าย
- ดอตออร์ ก (.org) สาหรั บองค์ กร
- ดอตอีดียู (.edu) สาหรั บการศึกษา
เป็ นต้ น
23
ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ตโลก (ต่ อ)

ศ. ศรี ศักดิ์ จามรมาน เป็ นผู้จดทะเบียน
“เอยูดอตอีดียู (au.edu)”
ทาให้ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (AU)
เป็ นสถานศึกษาแห่ งแรกในเมืองไทย
ที่ใช้ ดอตอีดียู
24
ประวัตวิ ิวัฒนาการอินเทอร์ เน็ตโลก (ต่ อ)

ปี พ.ศ. 2532 เอ็นเอสเอฟ (NSF)
อนุญาตให้ ใช้ อีเมล์ ได้ กับธุรกิจ
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2534
จึงอนุญาตให้ ใช้ อินเทอร์ เน็ตเพื่อการค้ าได้
25
2.2 คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต
ในประเทศไทย

วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต
ในประเทศไทยนัน้ อาจจะแบ่ งเป็ น 7 ยุค
26
วิวัฒนาการ 7 ยุคของคอมพิวเตอร์
และอินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย

ยุคที่ 1 เริ่มตัง้ แต่ มีการใช้ ลูกคิด
(ซึ่งอาจจะเรี ยกว่ าเป็ นคอมพิวเตอร์ แบบดิจทิ ัล)
ในประเทศไทย ยุคนีจ้ บลงเมื่อ พ.ศ. 2480
ที่มีการนาเครื่ องประมวลผลตาราง
(Tabulating Machine) เข้ ามาในประเทศไทย
27
วิวัฒนาการ 7 ยุค (ต่ อ)

ยุคที่ 2 เริ่มขึน้ เมื่อ พ.ศ. 2480
โดยกระทรวงมหาดไทยติดตัง้ เครื่ องเจาะบัตร
เครื่ องจัดลาดับและนับบัตร
และเครื่ องทาตารางเพื่อสารวจสามะโนครั ว
ในปี พ.ศ. 2490 และ พ.ศ. 2500
28
วิวัฒนาการ 7 ยุค (ต่ อ)

ยุคที่ 3 ซึ่งอาจจะนับได้ ว่าเป็ นยุคที่สาคัญที่สุด
สาหรั บเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย
เริ่มขึน้ เมื่อ พ.ศ. 2503
เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั
เสด็จประพาสซิลิกอน วอลเลย์ (Silicon Valley)
สหรั ฐอเมริกา
29
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั
เสด็จประพาสไอบีเอ็มที่ซานโฮเซ แคลิฟอร์ เนีย
30
ยุคที่ 3 (ต่ อ)

พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ผู้ทรงพระปรี ชา
สามารถได้ ทรงแสดงพระวิสัยทัศน์ ความเป็ นพระผู้นา
และทรงเป็ นแรงบันดาลใจแก่ ชาวไทยทัง้ หลาย
ให้ เห็นถึงความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ซึ่งรวมทัง้ การศึกษา
31
ยุคที่ 3 (ต่ อ)

ในปี พ.ศ. 2507 มีการติดตัง้ คอมพิวเตอร์
2 เครื่ องแรกในประเทศไทย
โดยเครื่ องหนึ่งติดตัง้ อยู่ท่ จี ุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
และอีกเครื่ องที่สานักงานสถิตแิ ห่ งชาติ
32
ยุคที่ 3 (ต่ อ)

ในปี นัน้ สิงคโปร์ ตดิ ตัง้ คอมพิวเตอร์
เครื่ องแรกเพียง 1 เครื่ อง
และมาเลเซียยังไม่ ได้ ตดิ ตัง้ คอมพิวเตอร์ เลย
นับได้ ว่าเมื่อ พ.ศ. 2507 ในด้ านคอมพิวเตอร์ นัน้
ไทยนาหน้ าทัง้ สิงคโปร์ และมาเลเซีย
33
วิวัฒนาการ 7 ยุค (ต่ อ)

ยุคที่ 4 อาจจะกล่ าวได้ ว่าเริ่มขึน้ เมื่อ พ.ศ. 2521
เมื่อมีการนาไมโครคอมพิวเตอร์ เข้ ามา
ในประเทศไทย เครื่ องแรกๆ ที่นาเข้ ามา
ก็คือเครื่ อง เรดิโอแชค ทีอาร์ เอส 80
(Radio Shack TRS 80)
ซึ่ง ศ. ศรี ศักดิ์ เป็ นผู้หวิ ้ ขึน้ เครื่ องบินจากอเมริกา
เข้ ามาที่เอแบค
34
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ เสด็จทรงเปิ ดงาน
คอมพิวเตอร์ ในกรุ งรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2525
35
วิวัฒนาการ 7 ยุค (ต่ อ)

ยุคที่ 5 เริ่มขึน้ เมื่อ พ.ศ. 2530
เมื่อได้ มีการนาอินเทอร์ เน็ตเข้ ามาในประเทศไทย
เป็ นครั ง้ แรกที่เอไอที โดยได้ ตกลงทาสัญญา
กับภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัย
เมลเบอร์ น (Melbourne) ออสเตรเลีย
เพื่อที่จะให้ บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรื ออีเมล์
โดยออสเตรเลียจะเรี ยกมาที่เอไอทีวันละ 3 ครั ง้
เพื่อที่จะรั บส่ งถุงไปรษณีย์ (Mail Bag)
36
ยุคที่ 5 (ต่ อ)

พ.ศ. 2535 ศูนย์ เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ และ
คอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ (เนคเทค) จัดตัง้ “ไทยสาร
(ThaiSarn= Thai Social/Scientific Academic and
Research Network)” เป็ นเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ เพื่อ
สังคม วิทยาศาสตร์ การศึกษา และวิจัยของประเทศ
ไทยโดยใช้ อินเทอร์ เน็ต
37
ยุคที่ 5 (ต่ อ)

พ.ศ. 2538 เนคเทค ตัง้ “โครงการเครื อข่ าย
คอมพิวเตอร์ เพื่อโรงเรี ยนไทย” หรื อ “สคูลเน็ต
(SchoolNet)” เป็ นโครงการเปิ ดโอกาสให้ โรงเรี ยน
มัธยมศึกษาไทยได้ มีโอกาสเข้ าเครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ต
38
ยุคที่ 5 (ต่ อ)

ในปี พ.ศ. 2538 สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
เสนอเครื อข่ ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาต่ อ
คณะรั ฐมนตรี และได้ รับอนุมัตใิ ห้ จัดตัง้ วิทยาเขต
สารสนเทศ 37 แห่ ง โดยใช้ “เครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ต
มหาวิทยาลัย (UniNet)”
39
ยุคที่ 5 (ต่ อ)

เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2541 หนังสือพิมพ์ บางกอก
โพสต์ ขนานนาม ศ. ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
ว่ าเป็ น “บิดาอินเทอร์ เน็ตไทย
(Father of the Thai Internet)”
ตามด้ วยนิตยสารต่ างๆ อาทิ จีเอ็ม อิมเมจ ยับปี ้
สมาร์ ทจ๊ อบ และ เนชั่น เป็ นต้ น
40
“บิดาอินเทอร์ เน็ตไทย
(Father of the Thai Internet)”
41
วิวัฒนาการ 7 ยุค (ต่ อ)

ยุคที่ 6 ยุครั ฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 2543
โดยรั ฐบาลได้ ประกาศเริ่มโครงการนาบริการต่ างๆ
ของรั ฐบาลมาให้ ประชาชนได้ ใช้ ผ่านทางอินเทอร์ เน็ต
เช่ น บริการยื่นภาษีเงินได้ ผ่านทางอินเทอร์ เน็ต
และบริการด้ านทะเบียนต่ างๆ ผ่ านทางอินเทอร์ เน็ต
เป็ นต้ น
42
ยุคที่ 6 (ต่ อ)

มีคณะกรรมการปฏิรูปและบูรณาการ
ระบบทะเบียนแห่ งชาติ
ซึ่งนายกรั ฐมนตรี เป็ นประธาน
และมี ศ. ศรี ศักดิ์ จามรมาน เป็ นผู้เชี่ยวชาญ
43
วิวัฒนาการ 7 ยุค (ต่ อ)

ยุคที่ 7 คือ ยุคการศึกษาทางไกลทางอินเทอร์ เน็ต
หรื อยุคอีเลิร์นนิ่ง ซึ่งอาจกล่ าวได้ ว่าเริ่ มขึน้
ในปี พ.ศ. 2548 เมื่อรั ฐบาลไทยนาประกาศ
ด้ านอีเลิร์นนิ่งที่ ศ. ศรี ศักดิ์ จามรมาน เป็ นผู้ยกร่ าง
ไปลงพิมพ์ ในราชกิจานุเบกษา วันที่ 26 ตุลาคม 2548
อนุญาตให้ มหาวิทยาลัยไทยทัง้ ของรั ฐและเอกชน
นาหลักสูตรระดับปริญญาที่เปิ ดสอนในห้ องเรี ยน
อยู่แล้ วไปเปิ ดสอนทางอินเทอร์ เน็ต
44
ยุคที่ 7 (ต่ อ)

ในปี พ.ศ. 2549 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เป็ นแห่ งแรกที่นาหลักสูตรปริญญาทัง้ หลักสูตร
ไปเปิ ดสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง
ตัง้ แต่ มกราคม 2549
45
ยุคที่ 7 (ต่ อ)

เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2549
ศูนย์ ชีวประวัตนิ านาชาติ
(International Biographical Center) ที่เคมบริจ
สหราชอาณาจักร มอบใบประกาศเกียรติคุณ
(Diploma of Honour) ให้ ศ. ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เป็ น “บิดาอีเลิร์นนิ่งไทย (Father of Thai E-learning)”
46
ยุคที่ 7 (ต่ อ)

ในแง่ ของสมาคมวิชาชีพนัน้ เมื่อปี พ.ศ. 2535
มีการจัดตัง้ สมาคมอินเทอร์ เน็ตนานาชาติ
หรื อ “ไอซอค (ISOC = Internet Society)
ที่สหรั ฐอเมริกา โดยมีมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เป็ นสมาชิกก่ อตัง้ รายเดียวจากเอเชียอาคเนย์
ทาให้ ศ. ศรี ศักดิ์ จามรมาน ได้ เป็ นกรรมการ
ที่ปรึกษา (Member of the Advisory Council)
ของไอซอคมาตัง้ แต่ ไอซอคเกิดขึน้ จนถึงปั จจุบัน
47
ยุคที่ 7 (ต่ อ)

ต่ อมาในปี พ.ศ. 2539
ไอซอคอนุมัตใิ ห้ ตัง้ สมาคมอินเทอร์ เน็ตนานาชาติ
สาขาประเทศไทย
โดย ศ.ดร. ศรี ศักดิ์ จามรมาน
เป็ นนายกก่ อตัง้ มีกรรมการชุดแรก
48
คณะกรรมการบริหาร สมาคมอินเทอร์ เน็ตนานาชาติ
สาขาประเทศไทย
49
ยุคที่ 7 (ต่ อ)

ในปี พ.ศ. 2540 ศ. ศรี ศักดิ์ ในฐานะนายก
สมาคมอินเทอร์ เน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทย
แต่ งตัง้ คณะกรรมการยกร่ างพระราชบัญญัติ
ส่ งเสริมกิจการอินเทอร์ เน็ต
โดยมี นายเหรี ยญชัย เรี ยววิไลสุข
ซึ่งเป็ นอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข
และกรรมการโทรคมนาคมแห่ งชาติขณะนัน้
เป็ นประธานการทาสัมมนาประชาพิจารณ์
50
การสัมมนาประชาพิจารณ์
“ร่ าง พรบ. ส่ งเสริมกิจการอินเทอร์ เน็ต”
51
ยุคที่ 7 (ต่ อ)

มีการสัมภาษณ์ ศ. ศรี ศักดิ์ ออกรอยเตอร์
และซีเอ็นเอ็นทั่วโลก
ปรากฏว่ า วินท์ เซิร์ฟ ไม่ เห็นด้ วย
โดยอ้ างว่ าอินเทอร์ เน็ตเป็ นเสรี ไม่ ควรมีกฎหมาย
บังคับ นั่นคือ ไทยยกร่ างกฎหมายเร็วไป
แต่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2551
ทุกประเทศก็ต้องออกกฎหมาย
ดูแลการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตในทางที่ผิด
52
ยุคที่ 7 (ต่ อ)

ส่ วนในปี พ.ศ. 2540 นัน้
วินท์ เซิร์ฟ เสนอและคณะกรรมการไอซอค
มีมติให้ นายกสาขาประเทศไทยหยุดปฏิบัตหิ น้ าที่
ชั่วคราว ศ. ศรี ศักดิ์ จึงสมัครรั บเลือกตัง้
และได้ รับเลือกตัง้ เป็ นหนึ่งใน 15 กรรมการ
บริหารไอซอค ทาให้ กรรมการไอซอคอนุญาต
ให้ ปฏิบัตหิ น้ าที่นายกสาขาประเทศไทยต่ อไปได้
53
3. วิวัฒนาการของเครือข่ ายสังคมออนไลน์

จากวิกพ
ิ ีเดีย เครื อข่ ายสังคมออนไลน์
เกิดจากการคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล
แต่ ละเครื่ องเชื่อมโยงถึงกันในรู ปแบบ
ของการมีปฏิสัมพันธ์ และเป็ นเครื อข่ ายสังคม
โดยมีการติดต่ อสื่อสารกันผ่ านอินเทอร์ เน็ต
54
วิวัฒนาการของเครือข่ ายสังคมออนไลน์ (ต่ อ)

อาจกล่ าวได้ ว่าเครื อข่ ายสังคมออนไลน์
เกิดขึน้ พร้ อมกับอินเทอร์ เน็ตเมื่อ พ.ศ. 2512
ที่อินเทอร์ เน็ตถือกาเนิดขึน้ ในสหรั ฐอเมริ กา
ในชื่อของ “อาร์ ปาเน็ต (ARPANET = Advanced
Research Project Agency Network)”
เพราะเมื่อมีอินเทอร์ เน็ตใช้
แล้ วใช้ อินเทอร์ เน็ตในการติดต่ อสื่อสารกัน
ก็ถือว่ าเกิดเครื อข่ ายสังคมออนไลน์ ขนึ ้ แล้ ว
55
วิวัฒนาการของเครือข่ ายสังคมออนไลน์ (ต่ อ)

มีการสร้ างเว็บเครื อข่ ายสังคมขึน้ มา
เป็ นชุมชนออนไลน์ ครั ง้ แรกเมื่อ พ.ศ. 2528
คือเว็บ “เดอะเวลล์ (The WELL)”
ต่ อมาเมื่อ พ.ศ. 2537 ก็มีการสร้ างเว็บเครื อข่ ายสังคม
“เดอะโกลบ (Theglobe.com)”
และ “จีโอซิตี ้ (Geocities)” แล้ วในปี พ.ศ. 2538
ก็มีเว็บ “ไทรพอด (Tripod)”
56
วิวัฒนาการของเครือข่ ายสังคมออนไลน์ (ต่ อ)

เว็บเครื อข่ ายสังคมทัง้ สี่เว็บข้ างต้ น
เน้ นเชื่อมโยงผู้คนทั่วโลกให้ มีการสร้ างปฏิสัมพันธ์
ซึ่งกันและกันผ่ านห้ องสนทนาและการแบ่ งปั นข้ อมูล
ส่ วนตัว และความคิดเห็นในประเด็นต่ างๆ ร่ วมกัน
ผ่ านหน้ าเว็บส่ วนตัวที่มีส่ ือประเภทสิ่งพิมพ์ ออนไลน์
สนับสนุนให้ เกิดปรากฎการณ์ ความสัมพันธ์
ขึน้ ในรู ปแบบบล็อก
57
วิวัฒนาการของเครือข่ ายสังคมออนไลน์ (ต่ อ)

นอกจากนี ้ เครื อข่ ายสังคมบางเว็บ
เน้ นการสร้ างปฏิสัมพันธ์ ผ่านอีเมล์ อาทิ
- เว็บคลาสเมตส์ (Classmates.com)
มีขนึ ้ เมื่อ พ.ศ. 2538
- เว็บ “ซิกซ์ ดีกรี ส์ (SixDegree.com)”
มีขนึ ้ เมื่อ พ.ศ. 2540
เป็ นต้ น
58
วิวัฒนาการของเครือข่ ายสังคมออนไลน์ (ต่ อ)

ในช่ วงปี พ.ศ. 2545-2547 มีการเปิ ดตัวของเว็บ
- “เฟรนด์ สเทอร์ (Friendster.com)”
- “มายสเปซ (Myspace.com)”
- “เบโบ (Bebo.com)”
และทัง้ 3 เว็บนัน้ ก็กลายเป็ นรู ปแบบของเว็บ
เครื อข่ ายสังคมที่ได้ รับความนิยมมากที่สุด
59
วิวัฒนาการของเครือข่ ายสังคมออนไลน์ (ต่ อ)

ต่ อมาเมื่อ พ.ศ. 2548 มายสเปซ
เป็ นเว็บเครื อข่ ายสังคมที่ใหญ่ ท่ สี ุด
และในขณะนัน้ ก็มีเว็บเฟซบุค
ที่เกิดขึน้ เมื่อ พ.ศ. 2547
เป็ นคู่แข่ งที่สาคัญของมายสเปซ
60
วิวัฒนาการของเครือข่ ายสังคมออนไลน์ (ต่ อ)

เครื อข่ ายสังคมเริ่มเจริญรุ่ งเรื อง
ในแง่ ของการเป็ นเครื อข่ ายสังคมเชิงธุรกิจ
เมื่อประมาณมีนาคม 2548 เมื่อยะฮูเปิ ดตัว
“ยะฮู 360 องศา (Yahoo! 360o)”
แล้ วเมื่อกรกฎาคม 2548 หน่ วยงานข่ าว
ก็ซือ้ กิจการของยะฮู ส่ วนไอทีวีของสหราชอาณาจักร
ซือ้ กิจการเว็บ “เฟรนด์ สรี ยูไนเต็ด (FriendsReunited)”
61
วิวัฒนาการของเครือข่ ายสังคมออนไลน์ (ต่ อ)

ถึงปี พ.ศ. 2552 เว็บทวิตเทอร์
เป็ นเครื อข่ ายสังคมที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก
และมีเว็บเฟซบุคเป็ นเครื อข่ ายสังคม
ที่มีผ้ ูเข้ าใช้ มากที่สุดในโลก
62
วิวัฒนาการของเครือข่ ายสังคมออนไลน์ (ต่ อ)

สาหรั บประเทศไทย
ก็มีเว็บเครื อข่ ายสังคม “ไฮไฟว์ (Hi5)“
ที่ได้ รับความนิยมเป็ นอันดับหนึ่งในเมืองไทย
โดยไฮไฟว์ เกิดขึน้ เมื่อ พ.ศ. 2547
63
4. เครือข่ ายสังคม
กับการสร้ างสัมพันธภาพในโลกออนไลน์

เดิมทีการสร้ างสัมพันธภาพในโลกออนไลน์
เริ่มจากการส่ งอีเมล์ ถงึ กันซึ่งผู้ส่งก็ต้องรอให้ ผ้ ูรับ
เปิ ดอีเมล์ อ่านแล้ วตอบกลับ
แต่ กน็ ับว่ าเร็วกว่ าการติดต่ อสื่อสารแบบส่ งไปรษณีย์
64
เครือข่ ายสังคมกับสัมพันธภาพโลกออนไลน์ (ต่ อ)

ต่ อมาก็มีการพัฒนาคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต
ให้ มีความสามารถมากขึน้ โดยมีการโต้ ตอบกัน
ผ่ านกระทู้หรื อกระดานสนทนา
แต่ กต็ ้ องรอให้ เจ้ าของกระทู้ไปตอบ
ต่ อมาก็พัฒนาให้ สามารถโต้ ตอบกันได้
แบบทันทีทนั ใด (Instant Messaging)
แล้ วต่ อมาก็เพิ่มให้ สามารถเห็นหน้ าเห็นตากันได้
ผ่ านกล้ องเว็บแคม (Web Camera) ตัวอย่ างเช่ น
สไคป์ เป็ นต้ น
65
เครือข่ ายสังคมกับสัมพันธภาพโลกออนไลน์ (ต่ อ)

คาว่ า “สัมพันธภาพในโลกออนไลน์
(Online Relationship)” อาจเรี ยกได้ อีกอย่ างหนึ่งว่ า
“สัมพันธภาพทางอินเทอร์ เน็ต
(Internet Relationship)”
หรื อ “การสร้ างปฏิสัมพันธ์ ในโลกออนไลน์
(Online Interaction)”
66
เครือข่ ายสังคมกับสัมพันธภาพโลกออนไลน์ (ต่ อ)

คาว่ า “สัมพันธภาพ” นัน้ อาจมองได้ หลายแง่ อาทิ
- สัมพันธภาพในแง่ ของสื่อมวลชนออนไลน์
(eMassMedia)
- สัมพันธภาพในแง่ ธุรกิจออนไลน์
หรื อ “อีคอมเมิร์ซ (eCommerce)”
- สัมพันธภาพในแง่ การเมือง (ePolitics)
- สัมพันธภาพในแง่ การศึกษา (eLearning)
- สัมพันธภาพในแง่ ความบันเทิง (eEntertainment)
เป็ นต้ น
67
เครือข่ ายสังคมกับสัมพันธภาพโลกออนไลน์ (ต่ อ)

คาจากัดความของคาว่ า
“สัมพันธภาพทางอินเทอร์ เน็ต
(Internet Relationship)” จากวิกพ
ิ ีเดีย
สัมพันธภาพทางอินเทอร์ เน็ต หมายความว่ า
สัมพันธภาพระหว่ างผู้คนที่พบปะกันในโลกออนไลน์
รวมถึงกรณีท่ ที งั ้ สองฝ่ ายพบปะกันเฉพาะใน
อินเทอร์ เน็ตเท่ านัน้ โดยไม่ เคยพบปะกัน
แบบเห็นหน้ าเห็นตากันมาก่ อน
68
เครือข่ ายสังคมกับสัมพันธภาพโลกออนไลน์ (ต่ อ)

ทัง้ นี ้ มีเว็บเครื อข่ ายสังคมที่น่าสนใจอีกแบบหนึ่ง
ที่ต้องสร้ างปฏิสัมพันธ์ ผ่านตัวอวตาร
เพื่อเข้ าไปท่ องโลกออนไลน์ นั่นคือ
เว็บ “โลกเสมือนจริงชีวิตที่สอง (SecondLife.com)”
ซึ่งนักท่ องอินเทอร์ เน็ตที่เข้ าไปนัน้
สามารถทาอะไรก็ได้ ท่ ใี นโลกจริงๆ ทาไม่ ได้
แต่ ต้องเป็ นสิ่งที่ไม่ ผิดศีลธรรม
อาทิ สามารถเหาะเหินเดินอากาศได้ เป็ นต้ น
69
เครือข่ ายสังคมกับสัมพันธภาพโลกออนไลน์ (ต่ อ)

เว็บโลกเสมือนจริงชีวิตที่สอง (SecondLife.com)
ตัง้ ขึน้ เมื่อ 23 มิถุนายน 2545
ให้ ผ้ ูใช้ สร้ างร่ างอวตาร (Avatar) เหาะเหินเดินอากาศ
และปฏิบัตกิ ารต่ างๆ ได้
ฉะนัน้ ในการสร้ างสัมพันธ์ ภาพ
ก็จะทาผ่ านร่ างอวตารเช่ นกัน
70
หน้ าแรกของเว็บโลกเสมือนจริงชีวิตที่สอง
(SecondLife.com)
71
เครือข่ ายสังคมกับสัมพันธภาพโลกออนไลน์ (ต่ อ)

เว็บโลกเสมือนจริงชีวิตที่สอง (SecondLife.com)
ตัง้ ขึน้ เมื่อ 23 มิถุนายน 2545
ให้ ผ้ ูใช้ สร้ างร่ างอวตาร (Avatar) เหาะเหินเดินอากาศ
และปฏิบัตกิ ารต่ างๆ ได้
ฉะนัน้ ในการสร้ างสัมพันธ์ ภาพ
ก็จะทาผ่ านร่ างอวตารเช่ นกัน
72
5. เครือข่ ายสังคมกับสื่อมวลชน
5.1 อิทธิพลของเครื อข่ ายสังคมต่ อสื่อมวลชน
5.2 เทคโนโลยีต่างๆ ด้ านสื่อมวลชนในเครื อข่ ายสังคม
73
5.1 อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมต่ อสื่อมวลชน

จากจานวนผู้ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตที่เพิ่มสูงขึน้ นัน้
ก็มีผลทาให้ ผ้ ูบริโภคสื่อในโลกจริงๆ
หันไปอยู่ในโลกออนไลน์ กันมากขึน้ เป็ นเงาตามตัว
ทาให้ ส่ ือมวลชนแขนงต่ างๆ
ต้ องหันเหไปสร้ างปรากฏการณ์ ความสัมพันธ์
โดยการนาเสนอสื่อต่ างๆ เป็ นแบบดิจทิ ลั
บนโลกออนไลน์ และสร้ างปฏิสัมพันธ์
กับสาธารณชนมากขึน้
74
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมต่ อสื่อมวลชน (ต่ อ)

เครื อข่ ายสังคมก็เป็ นสื่อออนไลน์
ที่ช่วยให้ หน่ วยงานด้ านสื่อมวลชนรวมถึงบุคคลทั่วไป
ลดต้ นทุนในการจัดทาสื่อเพื่อเผยแพร่ ส่ ูสาธารณะได้
มากกว่ าการจัดทาสื่อแบบเก่ า
โดยอาจจะสร้ างเว็บข่ าว เครื อข่ ายสังคมของตน
และบล็อก เป็ นต้ น บนเครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ตขึน้ มา
75
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมต่ อสื่อมวลชน (ต่ อ)

การนาเสนอข่ าวผ่ านสื่อหนังสือพิมพ์
ก็อาจจะหันไปทาหนังสือพิมพ์ ออนไลน์
หรื อกระทู้ข่าวขึน้ มาก็ได้ ซ่ งึ ไม่ ต้องเสียค่ ากระดาษ
ค่ าหมึกพิมพ์ และ ค่ าเครื่ องพิมพ์ เป็ นต้ น นอกจากนี ้
ยังช่ วยลดการปล่ อยก๊ าซ
คาร์ บอนไดออกไซต์ อีกด้ วย
76
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมต่ อสื่อมวลชน (ต่ อ)

สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ ข้อมูล
ข่ าวสารผ่ านวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์
ก็ได้ มีการนาไปเผยแพร่ บนอินเทอร์ เน็ตด้ วย
เพื่อให้ เข้ าถึงกลุ่มผู้บริโภคสื่อทัง้ ในโลกจริงๆ
และโลกอินเทอร์ เน็ต
77
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมต่ อสื่อมวลชน (ต่ อ)

มีผลสารวจเกี่ยวกับการบริโภคสื่อของชาวอเมริ กัน
จากนีลเซ่ น เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2552
- ชาวอเมริกัน 134 ล้ านคนชมวิดีโอออนไลน์
เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 46 จากปี พ.ศ. 2551
- ชาวอเมริกัน 15 ล้ านคนชมวิดีโอ
ผ่ านโทรศัพท์ มือถือ
- ชาวอเมริกัน 290 ล้ านคนชมโทรทัศน์ อยู่ท่ บี ้ าน
141.3 ชั่วโมงต่ อเดือน หรื อ 4.7 ชั่วโมงต่ อวัน
78
อิทธิพลของเครือข่ ายสังคมต่ อสื่อมวลชน (ต่ อ)

สื่อสิ่งพิมพ์ ต่างๆ ก็หนั ไปทาแบบออนไลน์ กันมากขึน้
เพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าในยุคไอที
มีรายงานจากเว็บไบรท์ โคฟ (blog.brightcove.com)
เมื่อเมษายน 2552 ว่ าเว็บหนังสือพิมพ์
อเมริกัน 187 แห่ งมีการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบ
การนาเสนอสื่อแบบเก่ าไปเป็ นแบบออนไลน์
โดยใช้ ส่ ือดิจทิ ลั และเป็ นไปในทิศทางที่ดีขึน้
หลังจากเปลี่ยนแปลง
79
5.2 เทคโนโลยีต่างๆ ด้ านสื่อมวลชน
ในเครือข่ ายสังคม
5.2.1 ตัวอย่ างเทคโนโลยีด้านสื่อมวลชนในปี พ.ศ. 2552
5.2.2 ตัวอย่ างเว็บสื่อสังคมของไทย
80
5.2.1 ตัวอย่ างเทคโนโลยีด้านสื่อมวลชน
ในปี พ.ศ. 2552
1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
บล็อก (Blog)
การนาเสนอทางเสียง (Podcast)
การหาข้ อมูลด้ วยอาร์ เอสเอส (RSS)
วิกิ (Wiki)
วิดีโอออนไลน์
เครื อข่ ายแทคกิง้
เครื อข่ ายสังคม
ชีวิตที่สอง
81
1) บล็อก (Blog)

บล็อกถูกนามาใช้ เป็ นครั ง้ แรก
โดย “จอร์ น บาร์ เกอร์ (Jorn Barger)”
เดือนธันวาคม พ.ศ. 2540
ซึ่งย่ อมาจาก “เว็บล็อก (Weblog)”
82
บล็อก (ต่ อ)

บล็อกเป็ นเว็บที่ผ้ ูใช้ สามารถเข้ าไปเขียน
หรื ออ่ านเรื่ องราวต่ างๆ ได้
โดยส่ วนใหญ่ จะมีการปรั บปรุ งข้ อความในบล็อก
ให้ ทนั สมัยอย่ างต่ อเนื่อง
83
บล็อก (ต่ อ)

ผู้เขียนสามารถเขียนแสดงความคิดเห็น
ประกาศข่ าว และเผยแพร่ ผลงานในด้ านต่ างๆ
- ด้ านการศึกษา
- ด้ านการเมือง
- ด้ านเศรษฐกิจ
เป็ นต้ น
84
บล็อก (ต่ อ)

ตัวอย่ างบล็อกซอฟต์ แวร์ อาทิ
- ดรู ปาล (Drupal)
- เวิร์ดเพรส์ (Wordpress)
- สแลช (Slash)
- ไลฟ์ไทป์ (Life Type)
เป็ นต้ น
85
บล็อก (ต่ อ)

เว็บ “มาร์ เก็ตติงชาร์ ตส์ (www.marketingcharts.com)”
จัดอันดับบล็อกในสหรั ฐอเมริกาที่มีผ้ ูเข้ าชมมาก
ที่สุด 5 อันดับแรก เมื่อมีนาคม พ.ศ. 2551
- บล็อกเกอร์ (Blogger)
มีผ้ ูเข้ าชมเว็บประมาณ 38.7 ล้ านคน
- เวิร์ดเพรสส์ ดอตคอม (WordPress.com)
มีผ้ ูเข้ าชมเว็บประมาณ 17.3 ล้ านคน
86
บล็อกที่มีผ้ ูเข้ าชมมากที่สุดในอเมริกา (ต่ อ)
-
ซิกซ์ อะพาร์ ตไทป์แพด (Six Apart Typepad)
มีผ้ ูเข้ าชมเว็บประมาณ 11 ล้ านคน
ทีเอ็มแซทดอตคอม (Tmz.com)
มีผ้ ูเข้ าชมเว็บประมาณ 8.9 ล้ านคน
เดอะฮัฟฟิ งทันโพสต์ ดอตคอม
(TheHuffingtonPost.com)
มีผ้ ูเข้ าชมเว็บประมาณ 5.3 ล้ านคน
87
เว็บบล็อก (ต่ อ)

ในไทย เว็บ “บล็อกแรงค์ ดอตทรู ฮติ ส์
(blogrank.truehits.net)” ได้ จัดอันดับบล็อก
ที่มีผ้ ูเข้ าชมมากที่สุด 5 อันดับ
เมื่อมกราคม พ.ศ. 2552
- บิก๊ โนสดอตเอ็กซ์ ทนี (bignose.exteen.com)
มีผ้ ูเข้ าชมเว็บ 117,883 คน
- ออล์ โฟร์ ยูดอตบล็อกแก๊ งค์ (all4u.bloggang.com)
มีผ้ ูเข้ าชมเว็บ 13,295 คน
88
บล็อกที่มีผ้ ูเข้ าชมมากที่สุดในไทย (ต่ อ)
- ไอมิวสิคเคิลอีดอตเอ็กซ์ ทนี (i-musicale.exteen.com)
มีผ้ ูเข้ าชมเว็บ 12,584 คน
- จีเอ็มเอ็มบล็อกดอตจีเมมเบอร์
(gmmblog.gmember.com) มีผ้ ูเข้ าชมเว็บ 11,572 คน
- ฟอรั มส์ ดอต 212 คาเฟ (forums.212cafe.com)
มีผ้ ูเข้ าชมเว็บ 10,261 คน
89
2) การนาเสนอทางเสียง (Podcast)

การนาเสนอทางเสียง หรื อ “พอดแคสต์ (Podcast)”
คือ การบันทึกเสียงแล้ วนาแฟ้มเสียงนัน้
ขึน้ ไปเก็บไว้ บนเว็บ
เพื่อให้ ผ้ ูสนใจหรื อผู้เข้ าชมเว็บ
สามารถดาวน์ โหลดมาฟั งกันได้
90
พอดแคสต์ (ต่ อ)

“พอดแคสต์ ” มาจากคาว่ า “พอด (Pod)”
ของเครื่ องเล่ นเพลงที่มีช่ ือว่ า “ไอพอด (iPod)”
ของแอปเปิ ลกับคาว่ า “แคสต์ (Cast)”
ที่มาจากคาว่ า “บรอดแคสต์ (Broadcast)”
ที่แปลว่ าการกระจายเสียง
91
พอดแคสต์ (ต่ อ)

พอดแคสต์ อาจเป็ นการบันทึกเสียงของครู ผ้ ูสอน
ในวิชาต่ างๆ แล้ วนาแฟ้มข้ อมูลเสียงนัน้
ไปเก็บไว้ บนเว็บของสถานศึกษา
เพื่อให้ นักศึกษาสามารถดาวน์ โหลด
รายวิชาต่ างๆ ฟรี จากเว็บ
92
พอดแคสต์ (ต่ อ)



พอดแคสต์ มีขนึ ้ เมื่อปี พ.ศ. 2543
พ.ศ. 2544 มีการผลิตซอฟต์ แวร์ ใช้
พ.ศ. 2546 ก็มีการเปิ ดตัวพอดแคสต์ ร่ ุ นแรก
ให้ เป็ นที่ร้ ู จักบนเว็บที่มีช่ ือเสียง
ทาให้ พอดแคสต์ เป็ นที่ร้ ู จัก
93
พอดแคสต์ (ต่ อ)

พ.ศ. 2547-2548
แอปเปิ ลได้ พฒ
ั นาพอดแคสต์ และบริการ
ให้ มีความทันสมัยใช้ ประโยชน์
ได้ อย่ างหลากหลาย
และอานวยความสะดวกมากขึน้
94
3) การหาข้ อมูลด้ วยอาร์ เอสเอส (RSS)


อาร์ เอสเอส คือ บริการที่อยู่บนอินเทอร์ เน็ต
จัดทาข้ อมูลข่ าวสารต่ างๆ
ให้ อยู่ในรู ปแบบ “เอ็กซ์ เอ็มแอล
(XML = Extensible Markup Language)”
ซึ่งเป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ ท่ ใี ช้ แลกเปลี่ยนข้ อมูล
และสื่อสารระหว่ างเว็บกับเว็บ
อาร์ เอสเอสเริ่มมีขนึ ้ เมื่อปี พ.ศ. 2542
95
อาร์ เอสเอส (ต่ อ)

อาร์ เอสเอสสามารถย่ อมาจากหลายรู ปแบบ อาทิ
- Really Simple Syndication (RSS 2.0)
- Rich Site Summary (RSS 0.91)
- RDF Site Summary (RSS 0.9 และ 1.0)
เป็ นต้ น
96
อาร์ เอสเอส (ต่ อ)

การใช้ งานของอาร์ เอสเอส คือ
การดึงข้ อมูลและข่ าวจากเว็บต่ างๆ
ไปแสดงบนเว็บของผู้ใช้ (Feed Reader)
ซึ่งโปรแกรมจะตรวจสอบ
การเปลี่ยนแปลงของข้ อมูล
และจะแสดงผลข้ อมูลล่ าสุดทันทีทนั ใด
97
อาร์ เอสเอส (ต่ อ)

สัญลักษณ์ สาหรั บดึงข้ อมูล
และข่ าวของอาร์ เอสเอสได้ รับนิยมเป็ นครั ง้ แรก
ระหว่ าง พ.ศ. 2548-2549
98
อาร์ เอสเอส (ต่ อ)

อาร์ เอสเอสจะส่ งข้ อมูลหรื อข่ าวจากเว็บต่ างๆ
แบบทันทีทนั ใดให้ กับผู้ใช้
โดยจะส่ งไปเฉพาะหัวข้ อข่ าวหรื อการสรุ ปข่ าวเท่ านัน้
แต่ ผ้ ูใช้ สามารถเชื่อมโยงไปยังหน้ าหลักของเว็บนัน้ ๆ
เพื่อดูรายละเอียดของข้ อมูลหรื อข่ าวต่ างๆ ได้
และไม่ จาเป็ นต้ องเข้ าไปค้ นหาข้ อมูลหรื อข่ าว
ในหน้ าหลักของเว็บให้ เสียเวลา
99
อาร์ เอสเอส (ต่ อ)

ข้ อดีของอาร์ เอสเอส คือ
ช่ วยลดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์หรื อคัดลอกข้ อมูล
ในเว็บโดยไม่ ได้ รับอนุญาต
และผู้ใช้ บริการไม่ จาเป็ นต้ องเข้ าไปยังเว็บต่ างๆ
เพื่อดูว่ามีข้อมูลข่ าวสารใหม่ ๆ หรื อไม่
100
อาร์ เอสเอส (ต่ อ)

สาหรั บประเทศก็มีเว็บอาร์ เอสเอส
ที่ให้ บริการดึงข้ อมูลและข่ าวต่ างๆ ที่น่าสนใจ
ประกอบด้ วย
- ข่ าวประจาวันที่ได้ รวบรวมมาจากเว็บต่ างๆ
- ข่ าวของสมาชิกที่สมาชิกเป็ นผู้เขียนขึน้ เอง
101
เว็บอาร์ เอสเอสไทย
102
การแสดงผลอาร์ เอสเอส
จากหน้ าปรับปรุ งล่ าสุดบนไออี 7
103
4) วิกิ (Wiki)
(1) วิกพ
ิ เี ดีย (Wikpedia)
(2) วิกมิ ีเดียคอมมอนส์ (Wikimedia Commons)
104
วิกิ (ต่ อ)


คาว่ า “วิกิ (Wiki)” มาจากภาษาฮาวาย
แปลว่ า “รวดเร็ว” หรื อ “เข้ าใจง่ าย”
วิกเิ ป็ นหน้ าเว็บที่ผ้ ูสนใจ
สามารถเข้ าไปปรั บปรุ งแก้ ไขได้
105
(1) วิกิพีเดีย (Wikpedia)


เป็ นสารานุกรมออนไลน์
ที่ให้ บริการข้ อมูลฟรี แก่ ผ้ ูใช้
พ.ศ. 2544 ก่ อตัง้ โดย “จิมมี่ เวลส์ (Jimmy Wales)”
106
ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน
และจิมมี่ เวลส์ (Jimmy Wales)
107
วิกิพีเดีย (ต่ อ)

ผู้เข้ าชมสามารถเข้ าไปเขียนข้ อความเพิ่มเติม
หรื อแก้ ไขข้ อความเดิมในสารานุกรมได้
ซึ่งเป็ นประโยชน์ สาหรั บสาหรั บนักเรี ยนและศึกษา
ในการค้ นหาข้ อมูลนอกตาราเรี ยน
และเป็ นแหล่ งข้ อมูลในการทารายงานอีกด้ วย
108
วิกิพีเดีย (ต่ อ)

วิกพ
ิ เี ดียประกอบด้ วยเนือ้ หาสาระน่ ารู้ แหล่ งข้ อมูล
และบทความมากกว่ า 13 ล้ านบทความ
จาก 271 ภาษาทั่วโลก อาทิ
- วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ
- วิกิพีเดียภาษาไทย
- วิกิพีเดียภาษาเยอรมัน
เป็ นต้ น
109
ตัวอย่ างวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ (en.wikipedia.org)

วิกพ
ิ เี ดียภาษาอังกฤษมีเนือ้ หาสาระน่ ารู้
แหล่ งข้ อมูล และบทความ
มากกว่ า 3 ล้ านบทความ
110
วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ (en.wikipedia.org)
111
ตัวอย่ างวิกิพีเดียภาษาไทย (th.wikipedia.org)

วิกพ
ิ เี ดียภาษาไทยมีเนือ้ หาสาระน่ ารู้
แหล่ งข้ อมูล และบทความ
มากกว่ า 50,234 บทความ
112
วิกิพีเดียภาษาไทย (th.wikipedia.org)
113
ตัวอย่ างวิกิพีเดียภาษาเยอรมัน (de.wikipedia.org)

วิกพ
ิ เี ดียภาษาเยอรมันมีเนือ้ หาสาระน่ ารู้
แหล่ งข้ อมูล และบทความ
มากกว่ า 670,000 บทความ
114
วิกิพีเดียภาษาเยอรมัน (de.wikipedia.org)
115
(2) วิกิมีเดียคอมมอนส์ (Wikimedia Commons)


เป็ นเว็บจัดเก็บเนือ้ หาที่เป็ นรู ปภาพ
แฟ้มข้ อมูลเสียง และแฟ้มวิดีโอ
โดยเนือ้ หาที่สามารถเก็บได้
จะเป็ นลิขสิทธิ์เสรี เท่ านัน้
มีฐานข้ อมูลภาพและเสียง 5 ล้ านรายการ
116
วิกิมีเดียคอมมอนส์ (commons.wikimedia.org)
117
5) วิดีโอออนไลน์

ถึงปี พ.ศ. 2552 ผู้คนไม่ จาเป็ นต้ องเดินทาง
ไปเช่ าวิดีโอตามห้ างสรรพสินค้ า
แต่ เพียงอยู่หน้ าจอคอมพิวเตอร์
หรื อโทรศัพท์ มือถือก็สามารถดาวน์ โหลดได้
118
วิดีโอออนไลน์ (ต่ อ)

เว็บที่ให้ บริการวิดีโอทางอินเทอร์ เน็ต อาทิ
- ยูทวิ บ์ (Youtube.com)
- ฮูลู (Hulu.com)
เป็ นต้ น
119
ยูทวิ บ์


เมื่อมีนาคม พ.ศ. 2552
มีผ้ ูเข้ าชมวิดีโอเป็ นร้ อยล้ านคน
และมีแฟ้มวิดีโอประมาณ 600 ล้ านแฟ้ม
กูเกิลซือ้ กิจการของยูทวิ บ์
และมีส่วนแบ่ งการตลาดวิดีโอทางอินเทอร์ เน็ต
ในสหรั ฐอเมริการ้ อยละ 41
120
ยูทวิ บ์ (ต่ อ)

มีตัวอย่ างการนาเสนอผลงานผ่ านยูทวิ บ์ อาทิ
- นักศึกษาปริญญาเอกสาขาการจัดการ
(Doctor of Management Program)
มหาวิทยาลัยออนไลน์ ฟินิกซ์
เป็ นต้ น
121
นักศึกษาปริญญาเอกนาเสนอผลงานผ่ านยูทวิ บ์
122
ฮูลู


เมื่อมีนาคม พ.ศ. 2552
มีผ้ ูเข้ าชมวิดีโอ 41.5 ล้ านคน
และมีแฟ้มวิดีโอประมาณ 380 ล้ านแฟ้ม
มีส่วนแบ่ งการตลาดวิดีโอทางอินเทอร์ เน็ต
ในสหรั ฐอเมริการ้ อยละ 2.6
123
ฮูลู (ต่ อ)

มีตัวอย่ างการนาเสนอบทสัมภาษณ์ ทางทีวี
ผ่ านฮูลู อาทิ
- ดร. เบอร์ แมน (Dr. Bernardo Huberman)
ให้ สัมภาษณ์ ผลงานวิจัยเรื่ องเครื อข่ ายสังคม
ของเอชพี
เป็ นต้ น
124
บทสัมภาษณ์ งานวิจัยทางทีวีผ่านฮูลู
125
6) เครือข่ ายแทคกิง้

“แทคกิง้ (Tagging)” คือ การติดป้ายชื่อ (Tag)
ให้ บทความในเว็บ เพื่อความสะดวก
ในการเรี ยกดูบทความที่มีป้ายชื่อเหมือนกัน
126
เครือข่ ายแทคกิง้ (ต่ อ)


เครื อข่ ายแทคกิง้ (Tagging Network)
คือ การเชื่อมโยงข้ อมูลของผู้คนในสังคมแทคกิง้
(Social Tagging) หนึ่งไปสู่สังคมของแทคกิง้ อื่นๆ
ผู้สนใจสามารถแลกเปลี่ยนเนือ้ หา
และกาหนดป้ายชื่อในเว็บ อาทิ บล็อก เป็ นต้ น
ได้ ด้วยตนเองคล้ ายการตัง้ กระทู้ขนึ ้ มาแล้ ว
ให้ ผ้ ูท่ สี นใจร่ วมตอบกระทู้
127
เครือข่ ายแทคกิง้ (ต่ อ)

การกาหนดป้ายชื่อมี 2 แบบ คือ
- การกาหนดป้ายชื่อโดยผู้เขียนเนือ้ หา
(Endo Tagging)
- การกาหนดป้ายชื่อโดยผู้อ่าน (Exo Tagging)
128
www.community.peachtree.com
129
7) เครือข่ ายสังคม

“เครื อข่ ายสังคม (Social Network)”
เป็ นสังคมเสมือนจริงที่เชื่อมโยงให้ ผ้ ูใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
ทั่วโลกให้ สามารถติดต่ อสื่อสาร สร้ างปฏิสัมพันธ์
ศึกษาหาความรู้ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
กันได้ แม้ อยู่ห่างไกล
130
เครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

เครื อข่ ายสังคมอาจแบ่ งเป็ น 6 กลุ่ม
- กลุ่มเผยแพร่ ตนเอง
- กลุ่มเผยแพร่ ผลงาน
- กลุ่มผู้สนใจในเรื่ องเดียวกัน
- กลุ่มร่ วมกันทางาน
- กลุ่มแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่ างผู้ใช้
- กลุ่มโลกเสมือนจริง
131
กลุ่มเผยแพร่ ตนเอง

ผู้ใช้ สามารถนาเรื่ องราวต่ างๆ ของตน
ไปเผยแพร่ ผ่านทางอินเทอร์ เน็ต อาทิ
- ข้ อมูลส่ วนตัว
- อัลบัม้ รู ป
- ความสนใจเฉพาะด้ าน
เป็ นต้ น
132
กลุ่มเผยแพร่ ตนเอง (ต่ อ)

ตัวอย่ างเว็บที่อยู่ในกลุ่มเผยแพร่ ตัวตน อาทิ
- มายสเปซ (MySpace)
- เฟซบุค (facebook)
- ไฮไฟว์ (Hi5)
เป็ นต้ น
133
กลุ่มเผยแพร่ ผลงาน

เป็ นเว็บที่ผ้ ูใช้ สามารถนาผลงานของผู้ใช้
ไปเสนอในรู ปแบบต่ างๆ อาทิ
- วิดีโอ
- รู ปภาพ
- เสียง
เป็ นต้ น
134
กลุ่มเผยแพร่ ผลงาน (ต่ อ)

ตัวอย่ างเว็บที่อยู่ในกลุ่มเผยแพร่ ผลงาน อาทิ
- ยูทวิ บ์ (YouTube)
- มัลติพลาย (Multiply)
- ฟลิคเกอร์ (Flickr)
เป็ นต้ น
135
กลุ่มผู้สนใจในเรื่องเดียวกัน

เป็ นการนาโฮมเพจที่ผ้ ูใช้ สนใจและเรี ยกใช้ บ่อย
ไปเก็บรวบรวมไว้ บนเว็บ
ผู้ใช้ คนอื่นๆ ที่สนใจในเรื่ องเดียวกัน
สามารถเข้ าไปชมและให้ คะแนนความนิยมได้
136
กลุ่มผู้สนใจในเรื่องเดียวกัน (ต่ อ)

ตัวอย่ างเว็บที่อยู่ในกลุ่มเผยแพร่ ตัวตน อาทิ
- ดิลิเชียส (del.icio.us)
- ซิคเคอร์ ดอตคอม (zickr.com)
- ดูโอคอร์ ดอตทีวี (duocore.tv)
เป็ นต้ น
137
กลุ่มร่ วมกันทางาน

เป็ นเว็บที่ผ้ ูใช้ อนุญาตให้ ผ้ ูเข้ าชมช่ วยกันเขียน
และแก้ ไขบทความต่ างๆ ได้
เรี ยกได้ ว่าเป็ นสารานุกรมออนไลน์ ขนาดใหญ่
138
กลุ่มร่ วมกันทางาน (ต่ อ)

ตัวอย่ างเว็บที่อยู่ในกลุ่มร่ วมกันทางาน อาทิ
- วิกิพีเดีย (Wikipedia)
- แผนที่กูเกิล (Google Maps)
- พันธ์ ทพ
ิ ย์ คลับ (Pantip Club)
เป็ นต้ น
139
แผนที่กูเกิล
140
กลุ่มแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่ างผู้ใช้


การแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่ างผู้ใช้
หรื อ “พีทพ
ู ี (P2P = Peer-to-Peer)”
เป็ นเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์
ที่มีการนาไปใช้ อย่ างแพร่ หลาย
ซึ่งเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้
เป็ นทัง้ เครื่ องแม่ ข่ายและเครื่ องลูกข่ าย
141
กลุ่มแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่ างผู้ใช้ (ต่ อ)

ตัวอย่ างเว็บที่อยู่ในกลุ่มแลกเปลี่ยนข้ อมูล
ระหว่ างผู้ใช้ อาทิ
- สไคป์ (Skype)
- บิตทอร์ เรนต์ (BitTorrent)
เป็ นต้ น
142
กลุ่มโลกเสมือนจริง


ชีวิตที่สองเป็ นชุมชนในโลกเสมือนจริง
ผู้ใช้ ต้องจาลองร่ างอวตารขึน้ มา
เพื่อท่ องโลกอินเทอร์ เน็ตและทากิจกรรมต่ างๆ
ที่ตนอยากทาในโลกจริงๆ แต่ ไม่ อาจจะทาได้
การกระทาต่ างๆ บนโลกเสมือนจริง
ต้ องไม่ เป็ นสิ่งที่ผิดกฎหมายหรื อผิดศีลธรรม
143
กลุ่มโลกเสมือนจริง (ต่ อ)

ตัวอย่ างเว็บที่อยู่ในกลุ่มโลกเสมือนจริง อาทิ
- ชีวิตที่สอง (SecondLife.com)
- เวิลด์ วอร์ คราฟต์ (WorldWarCraft.com)
เป็ นต้ น
144
เครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

ประเภทของเว็บเครื อข่ ายสังคม
- ประเภทเน้ นที่คน (People Focus)
- ประเภทเน้ นที่งานอดิเรก (Hobby Focus)
- ประเภทพบกันในเว็บเท่ านัน้ (In Web Only)
- ประเภทพบกันต่ อหน้ าต่ อตา (Face-to-Face)
145
ยี่สิบอันดับเครือข่ ายสังคมตามจานวนผู้ใช้
อันดับที่
ชื่อ
คาบรรยาย
จานวนผู้ลงทะเบียน
(ล้ านคน)
1.
FaceBook
ทั่วไป
300
2.
3.
4.
MySpace
Window Live
Habbo
ทั่วไป
สาหรั บทาบล็อก
เด็กอายุ 13-19 ปี
253
120
117
5.
Friendster
นิยมในเอเชียอาคเนย์
90
6.
Hi5
7.
Tagged
นิยมในเอเชีย อัฟริกา
และละตินอเมริกา
มหาวิทยาลัย
ในเยอรมนี
80
70
146
ยี่สิบอันดับเครือข่ ายสังคมตามจานวนผู้ใช้
ชื่อ
คาบรรยาย
จานวนผู้ลงทะเบียน
(ล้ านคน)
8.
Orkut
นิยมในอินเดีย
และบราซิล
67
9.
Flixster
ภาพยนตร์
63
อันดับที่
ใช้ ตามหาเพื่อน
และญาติ
นิยมในสหรั ฐที่ทางาน
และทหาร
10.
Reunion
51
11.
Classmates
12.
Twitter
ทั่วไป
44
13
LinkedIm
ทั่วไป
43
50
147
ยี่สิบอันดับเครือข่ ายสังคมตามจานวนผู้ใช้
อันดับที่
ชื่อ
คาบรรยาย
จานวนผู้ลงทะเบียน
(ล้ านคน)
14.
Nutlay
นิยมในยุโรป-ควีเบต
42
15.
Bebo
ทั่วไป
40
16.
17.
18.
Odnoklossnike
V Kontakte
Adult FriendFindes
นิยมในรั สเซีย
นิยมในรั สเซีย
หาคู่
34
33
33
19.
My Heritage
สาหรั บครอบครั ว
30
20.
Xanga
บล็อก
27
148
8) ชีวิตที่สอง



วันที่ 23 มิถุนายน 2546 เปิ ดตัวชีวิตที่สอง
สร้ างโดย “ลินเดนแลป (Linden Lab)”
ผู้ใช้ ตดิ ต่ อกับชีวติ ที่สองผ่ านอินเทอร์ เน็ต
โดยใช้ โปรแกรมที่สามารถดาวน์ โหลดได้ ฟรี
จากเว็บ “เซคเคินด์ ไลฟ์ดอตคอม (secondlife.com)”
149
ชีวิตที่สอง (Second Life)
150
ชีวิตที่สอง (ต่ อ)


ในชีวิตที่สองมีพนื ้ ที่ ร้ านค้ า และธุรกิจต่ างๆ
ให้ ทาการซือ้ ขายโดยสามารถใช้ จ่ายและได้ เงินจริง
มีสกุลเงิน คือ “ลินเดนดอลล่ าร์ ”
สามารถเปลี่ยนเป็ นดอลล่ าร์ สหรั ฐได้ ตลอดเวลา
151
ชีวิตที่สอง (ต่ อ)

ตัวอย่ างเด่ นในชีวิตที่สอง
- ศิลปวัฒนธรรม (Arts and Culture)
- แฟชั่น (Fashion)
- สถานที่น่าสนใจ (Hot Spot)
- ดนตรี (Music)
152
ชีวิตที่สอง (ต่ อ)

ชุมชนในชีวิตที่สอง
- พืน้ ที่แสดงความคิดเห็น (Forums)
- เหตุการณ์ สาคัญ (Events)
- อาสาสมัคร (Volunteer)
153
ชีวิตที่สอง (ต่ อ)

ในเว็บชีวิตที่สองมีเครื่ องมือช่ วยค้ นหาเรี ยกว่ า
“เซคเคินด์ ไลฟ์เสิร์ช (Second Life Search)”
154
ชีวิตที่สอง (ต่ อ)
155
ชีวิตที่สอง (ต่ อ)

ทั่วโลกกว่ า 200 มหาวิทยาลัย
เปิ ดให้ บริการโลกเสมือนจริง อาทิ
- มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด
- มหาวิทยาลัยอินเดียน่ า
- มหาวิทยาลัยออกซ์ ฟอร์ ด
เป็ นต้ น
156
5.2.2 ตัวอย่ างเว็บสื่อสังคมของไทย

มีส่ ือสังคมมากมายที่ส่ ือมวลชนรวมทัง้ ผู้คนทัง้ หลาย
สามารถใช้ เป็ นสื่อในการเผยแพร่ ข้อมูลข่ าวสาร
ดังตัวอย่ างจากเว็บ “เก่ งดอตคอม (keng.com)”
- เครื อข่ ายสังคม อาทิ
* แบ็งค็อกสเปซ (BangkokSpace)
* มายเฟรนด์ (myFri3nd)
เป็ นต้ น
157
ตัวอย่ างเว็บสื่อสังคมของไทย (ต่ อ)
- บล็อก อาทิ
* เอ็กซ์ ทนี (exteen)
* บล็อกแก๊ งค์ (BlogGang)
เป็ นต้ น
- ไมโครบล็อก อาทิ นกนก (NokNok) เป็ นต้ น
158
ตัวอย่ างเว็บสื่อสังคมของไทย (ต่ อ)
- โซเชี่ยลบุคมาร์ กกิง้ อาทิ
* ซิคเกอร์ (Zickr)
* ดูโอคอร์ (Duocore)
* สยามคอลเลคทีฟ (Siam Collective)
เป็ นต้ น
- โซเชี่ยลเมล์ บอ็ กซ์ (Social Mailbox)
อาทิ ฟอร์ เวิร์ดเดอร์ (Fwdder.com) เป็ นต้ น
159
ตัวอย่ างเว็บสื่อสังคมของไทย (ต่ อ)

อนึ่ง เครื อข่ ายสังคมที่เป็ นที่นิยมอันดับหนึ่ง
ในเมืองไทย คือ “ไฮไฟว์ (Hi5)”
ซึ่งอาจจะเป็ นเพราะมีเมนูรองรั บภาษาไทย
และใช้ งานง่ ายจึงเป็ นเหตุผลให้ ไฮไฟว์ ขยายตัวได้
อย่ างรวดเร็วในเมืองไทย
160
ตัวอย่ างเว็บสื่อสังคมของไทย (ต่ อ)

ทัง้ นี ้ ไฮไฟว์ เป็ นเว็บเครื อข่ ายสังคมจากต่ างประเทศ
ซึ่งเคยเป็ นเว็บที่นิยมในเอเชียและแอฟริกา
แต่ ในปี พ.ศ. 2552 ทางอเมริกาซึ่งเคยนิยมเฟซบุค
และมายสเปซก็หนั ไปนิยมไฮไฟว์ ด้วย
161
6. เครือข่ ายสังคมกับเยาวชนคนวัยรุ่ น
6.1 สถิตกิ ารใช้ อินเทอร์ เน็ตและเครื อข่ ายสังคมของ
เยาวชนคนวัยรุ่ น
6.2 เยาวชนคนวัยรุ่ นกับกิจกรรมในเครื อข่ ายสังคม
162
6.1 สถิตกิ ารใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
และเครือข่ ายสังคมของเยาวชนคนวัยรุ่ น

เมื่อกุมภาพันธ์ 2552 มีรายงานจาก
“อีมาร์ เก็ตเตอร์ (eMarketer)”
ว่ าในปี พ.ศ. 2552 น่ าจะมีการใช้ เว็บเครื อข่ ายสังคม
โดยวัยรุ่ นอเมริกัน 15.5 ล้ านคน
และในปี พ.ศ. 2553 น่ าจะมีการใช้ เว็บเครื อข่ าย
สังคมโดยวัยรุ่ นอเมริกันถึง 16.2 ล้ านคน
163
สถิตกิ ารใช้ อนิ เทอร์ เน็ตและเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

อนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2551 วัยรุ่ นอเมริกันเข้ าใช้ เว็บโลก
เสมือนจริง 3.4 ล้ านคน คิดเป็ นร้ อยละ 17
แล้ วในปี พ.ศ. 2552 คาดว่ าวัยรุ่ นอเมริกัน
จะเข้ าใช้ เว็บโลกเสมือนจริง 3.7 ล้ านคน
คิดเป็ นร้ อยละ 18
และในปี พ.ศ. 2553 คาดว่ าวัยรุ่ นอเมริกัน
จะเข้ าใช้ เว็บโลกเสมือนจริง 4 ล้ านคน
164
สถิตกิ ารใช้ อนิ เทอร์ เน็ตและเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

ผลสารวจจากไมโครซอฟต์ และชินโนเวท พ.ศ. 2551
ได้ สารวจถึงพฤติกรรมวัยรุ่ นเอเชีย (อายุ 8-24 ปี )
กว่ า 13,000 คน พบว่ า
- ร้ อยละ 30 ระบุว่า ดูทวี ีน้อยลง
- ร้ อยละ 35 ระบุว่า ใช้ เวลาออนไลน์ เพิ่มขึน้
- ร้ อยละ 55 ระบุว่า ใช้ เอ็มเอสเอ็น/วินโดว์ สไลฟ์
นานขึน้
- ใช้ เวลาออนไลน์ เฉลี่ย 2.7 ชั่วโมงต่ อ วัน
165
สถิตกิ ารใช้ อนิ เทอร์ เน็ตและเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

สาหรั บเยาวชนคนวัยรุ่ นที่มีอายุ 15-24 ปี ใช้ เวลาใน
การออนไลน์ มากที่สุด นั่นคือ 6.3 ชั่วโมงต่ อวัน
สาหรั บเยาวชนคนวัยรุ่ นเอเชียใช้ เอ็มเอสเอ็นและ
วินโดว์ สไลฟ์เฉลี่ย 7.1 ชั่วโมงต่ อวัน
166
สถิตกิ ารใช้ อนิ เทอร์ เน็ตและเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

นอกจากนีย้ ังมีรายงานข่ าวของเว็บโปรนิวส์ ระบุว่า
วัยรุ่ นชาวแคนาเดียน (อายุ 12-17 ปี )
- ร้ อยละ 76 มีแฟ้มประวัตใิ นเครื อข่ ายสังคม
- ร้ อยละ 93 มีแฟ้มประวัตใิ นเฟซบุค
- ร้ อยละ 29 เข้ าใช้ วินโดวส์ ไลฟ์สเปซ
- ร้ อยละ 19 เข้ าใช้ มายสเปซ
167
สถิตกิ ารใช้ อนิ เทอร์ เน็ตและเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

จากรายงานล่ าสุดของสานักงานสถิตแิ ห่ งชาติ
พ.ศ. 2551 ระบุว่าประเทศไทยมีผ้ ูใช้ คอมพิวเตอร์
17 ล้ านคน มีผ้ ูใช้ อนิ เทอร์ เน็ต 11 ล้ านคน
โดยเป็ นผู้ชายและผู้หญิงเท่ าๆ กัน
ทัง้ นี ้ หากพิจารณาตามกลุ่มอายุปรากฏว่ า
- ในกลุ่มอายุ 6-14 ปี
* ร้ อยละ 61.6 ใช้ คอมพิวเตอร์
* ร้ อยละ 23.6 ใช้ อินเทอร์ เน็ต
168
สถิตกิ ารใช้ อนิ เทอร์ เน็ตและเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)
- ในกลุ่มอายุ 15-24 ปี
* ร้ อยละ 54.7 ใช้ คอมพิวเตอร์
* ร้ อยละ 44.6 ใช้ อินเทอร์ เน็ต
- ในกลุ่มอายุ 25-34 ปี
* ร้ อยละ 26.5 ใช้ คอมพิวเตอร์
* ร้ อยละ 19.4 ใช้ อินเทอร์ เน็ต
169
สถิตกิ ารใช้ อนิ เทอร์ เน็ตและเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

สาหรั บสถิตกิ ารใช้ อินเทอร์ เน็ตของวัยรุ่ นอเมริกัน
จากรายงานการใช้ ส่ ือของวัยรุ่ น พ.ศ. 2552
(จาก พ.ศ. 2551 ถึง ไตรมาสแรก พ.ศ. 2552) ของ
เนลซัน ระบุว่า
- ร้ อยละ 37 ท่ องอินเทอร์ เน็ตผ่ านโทรศัพท์ มือถือ
- ร้ อยละ 35 ชอบดูทวี ีทางเน็ต
- ใช้ อินเทอร์ เน็ต 23 นาทีต่อวัน
และ 11 ชั่วโมง 32 นาทีต่อเดือน
- ใช้ คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลเฉลี่ย 52 นาทีต่อวัน 170
สถิตกิ ารใช้ อนิ เทอร์ เน็ตและเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

ส่ วนเว็บสามอันดับแรกที่วัยรุ่ นอเมริกันนิยมเข้ าใช้
เมื่อมีนาคม 2552
- อันดับที่หนึ่ง คือ กูเกิล
ร้ อยละ 76
- อันดับที่สอง คือ ยะฮู
ร้ อยละ 62
- อันดับที่สาม คือ ยูทวิ บ์
ร้ อยละ 57
171
สิบอันดับเว็บเครือข่ ายสังคมและฟอรัม
ในเดือนมิถุนายน 2552 จากฮิตไวส์
รายชื่อเว็บ
เฟซบุค
มายสเปซ
ยูทวิ บ์
แท็คเกค
ทวิตเทอร์
ส่ วนแบ่ งการตลาด
(ร้ อยละ)
32.19
29.01
9.26
1.91
1.70
172
สิบอันดับเว็บเครือข่ ายสังคมและฟอรัม
ในเดือนมิถุนายน 2552 จากฮิตไวส์
รายชื่อเว็บ
ยะฮูอานเซอร์ ส
ยะฮูกรุ๊ ปส์
มายเยียร์ บ๊ ุค
ยะฮูโปรไฟล์ ส
คลาสเมตส์
ส่ วนแบ่ งการตลาด
(ร้ อยละ)
1.37
0.92
0.80
0.58
0.45
173
6.2 เยาวชนคนวัยรุ่ นกับกิจกรรม
ในเครือข่ ายสังคม

รายงานจาก “พิวอินเทอร์ เน็ต” ปี พ.ศ. 2552 ระบุว่า
ผู้ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตชาวอเมริกันที่มีอายุ 18-32 ปี
เป็ นกลุ่มที่ใช้ อินเทอร์ เน็ตเพื่อความบันเทิง
และการติดต่ อสื่อสารมากที่สุด
- ท่ องอินเทอร์ เน็ตผ่ านพีซี 23 นาทีต่อวัน
- ท่ องเว็บผ่ านโทรศัพท์ มือถือร้ อยละ 10 ต่ อวัน
174
กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)


สาหรั บกิจกรรมที่เป็ นที่นิยมของวัยรุ่ นอเมริกันคือ
- ดูวดิ ีโอออนไลน์ ผ่านพีซี 6 นาทีต่อวัน
- ชมวิดีโอผ่ านโทรศัพท์ มือถือ 13 นาทีต่อวัน
วัยรุ่ นอเมริกัน
- ร้ อยละ10 ของเล่ นเกมผ่ านเครื่ องพีซี
- สนทนาผ่ านโทรศัพท์ 6 นาทีต่อวัน
- ส่ งข้ อความผ่ านโทรศัพท์ มือถือ 96 ข้ อความต่ อวัน
175
กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

อนึ่ง เมื่อมิถุนายน 2552 มีรายงานการวิจัยเรื่ อง
เครื อข่ ายสังคมของผู้ท่ มี ีอายุ 18-24 ปี จาก
“พีเอ็มเอ็น (PMN = Participatory Marketing
Network)” ระบุว่า ร้ อยละ 99 มีแฟ้มประวัตขิ องตน
อย่ างน้ อยหนึ่งแฟ้มในเครื อข่ ายสังคม
176
กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

นอกจากการท่ องเครื อข่ ายสังคมผ่ านเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ แล้ วก็มีการท่ องเครื อข่ ายสังคมผ่ าน
โทรศัพท์ มือถือด้ วยปรากฎว่ า ร้ อยละ 38 ท่ อง
เครื อข่ ายสังคมผ่ านไอโฟนและไอพอดทัช
177
กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

มีรายการต่ างๆ มากมายที่นักท่ องเครื อข่ ายสังคม
นิยมทา ดังนี ้
- เกม
ร้ อยละ 53
- สื่อความบันเทิง
ร้ อยละ 35
- ท่ องเครื อข่ ายสังคม
ร้ อยละ 31
- ทาธุรกรรมทางการเงิน
ร้ อยละ 28
- ชาระค่ าสินค้ าและบริการ ร้ อยละ 7
178
กิจกรรมของวัยรุ่ นในเครือข่ ายสังคม (ต่ อ)

จากผลสารวจ พ.ศ. 2551 พฤติกรรมเยาวชนคนวัยรุ่ น
เอเชียของไมโครซอฟต์ และชินโนเวทได้ ระบุว่า
- ร้ อยละ 24 แชตกับเพื่อนผ่ านบริการส่ งข้ อความ
แบบทันทีเฉลี่ย 2.2 ชั่วโมงต่ อวัน
- ทากิจกรรมอื่นๆ บนเครื อข่ ายสังคม 1.2 ชั่วโมง
ต่ อวัน
- รั บส่ งอีเมล์ 0.9 ชั่วโมงต่ อวัน
179
7. เครือข่ ายสังคมกับคนวัยทางาน
7.1 เครื อข่ ายสังคมกับการเป็ นอาจารย์ มืออาชีพ
7.2 เครื อข่ ายสังคมกับนักธุรกิจ
7.3 เครื อข่ ายสังคมกับนักการเมือง
180
7.1 เครือข่ ายกับการเป็ นอาจารย์ มืออาชีพ
7.1.1 เครื อข่ ายสังคมในการสอน
7.1.2 เครื อข่ ายสังคมในการวิจัย
7.1.3 เครื อข่ ายสังคมในการให้ บริการวิชาการ
7.1.4 เครื อข่ ายสังคมในการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม
181
7.1.1 เครือข่ ายสังคมในการสอน

การสอนอาจแบ่ งได้ เป็ นการสอนแบบในห้ องเรี ยน
และการสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง
อนึ่ง การจะเป็ นผู้สอนให้ ได้ ผลดีนัน้
จาเป็ นต้ องมีความรู้ ความสามารถและมีประสบการณ์
ในวิชาที่สอนมากพอ
182
เครือข่ ายสังคมในการสอน (ต่ อ)

ในปี พ.ศ. 2552 นี ้ ใครอยากเป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ านใด
ก็ให้ เข้ ากูเกิล ค้ นหาตาราต่ างๆ หรื ออาจจะเข้ าไป
ที่เว็บแอมะซอน (www.amazon.com) สั่งซือ้ ตารา
มาศึกษาก็เป็ นผู้เชี่ยวชาญได้
183
เครือข่ ายสังคมในการสอน (ต่ อ)

นอกจากใช้ คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต
ในการเตรี ยมการสอนแล้ ว
ยังสามารถใช้ ไอทีได้ อีกหลายทาง อาทิ สั่งการบ้ าน
และรั บการบ้ าน เป็ นต้ น
184
เครือข่ ายสังคมในการสอน (ต่ อ)

อนึ่ง มีการสอนแบบใหม่ ท่ คี วรทราบคือ
การสอนทางอินเทอร์ เน็ต หรื อ “อีเลิร์นนิ่ง
(eLearning)” ซึ่งการสอนแบบอีเลิร์นนิ่งนัน้
ยากกว่ าการสอนแบบในห้ องเรี ยน
เพราะทัง้ อาจารย์ และนักศึกษาต้ องมีระเบียบวินัยสูง
มากกว่ าอาจารย์ และนักศึกษาแบบในห้ องเรี ยน
185
เครือข่ ายสังคมในการสอน (ต่ อ)

ในแง่ ของเครื อข่ ายสังคมในการสอนนัน้
อาจารย์ อาจจะเข้ าไปยังกลุ่มผู้ท่ สี นใจ
มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรื อสอนในวิชาเดียวกัน
หรื อเกี่ยวข้ องกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
และปรึกษาหารื อเพื่อนาข้ อมูลเหล่ านัน้
ไปพัฒนาและประยุกต์ ใช้ กับการสอนของตน
186
เครือข่ ายสังคมในการสอน (ต่ อ)

อาจจะใช้ เครื อข่ ายสังคมเป็ นช่ องทางหนึ่ง
เป็ นสื่อการสอนโดยให้ นักเรี ยนเข้ าไปเรี ยน
แบบอีเลิร์นนิ่งในเว็บเครื อข่ ายสังคม
แล้ วทากิจกรรมการเรี ยนการสอนร่ วมกัน
ผ่ านเครื อข่ ายสังคมนัน้ ๆ
187
7.1.2 เครือข่ ายสังคมในการวิจัย

สมัยผมทาปริญญาเอกใช้ เวลา 3 เดือน
อยู่ห้องสมุดทุกวันเพื่อค้ นหาบทความวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
ถึงปี พ.ศ. 2552 ลูกศิษย์ ผมใช้ เวลาประมาณ 3 วัน
หาจากอินเทอร์ เน็ตได้ ผลเท่ าหรื อดีกว่ า
ที่ผมเคยใช้ เวลา 3 เดือน
188
เครือข่ ายสังคมในการวิจัย (ต่ อ)

นอกจากเครื่ องมือค้ นหาทั่วไป
แบบกูเกิลและยะฮูแล้ ว
มีเครื่ องมือค้ นหางานวิจัยโดยเฉพาะ
คือ “กูเกิลสกอลาร์ (Google Scholar)”
ตัวอย่ างเช่ นค้ นหา “จามรมาน (charmonman)”
จากกูเกิลสกอลาร์ พบ 359 รายการ
189
ค้ น “จามรมาน (charmonman)”
จากกูเกิลสกอลาร์ พบ 359 รายการ
190
เครือข่ ายสังคมในการวิจัย (ต่ อ)

อนึ่ง ในแง่ ของเครื อข่ ายสังคมในการวิจัยนัน้
ก็อาจจะเข้ าไปหาเพื่อนในกลุ่มที่ทาวิจัย
ในเรื่ องเดียวกันหรื อที่เกี่ยวข้ อง
เข้ าไปหาผู้เชี่ยวชาญเพื่อขอคาปรึกษา
หรื ออาจจะให้ ผ้ ูท่ เี ข้ าไปยังกระทู้ของตน
ทาแบบสอบถามหรื อแบบสารวจออนไลน์ ให้ เป็ นต้ น
191
7.1.3 เครือข่ ายสังคมในการให้ บริการวิชาการ

นอกจากจะสอนและทาวิจัยแล้ ว
อาจารย์ ควรให้ บริการวิชาการแก่ สังคม
อาทิ เอแบคโพลล์ ท่ ผี มก่ อตัง้ ขึน้ ทาวิจัยการตลาดได้
รายได้ ประมาณปี ละ 30 ล้ านบาท แบ่ งร้ อยละ 15
คือ ประมาณปี ละ 4.5 ล้ านบาททาวิจัยสาธารณะ
ประโยชน์
192
เครือข่ ายสังคมในการให้ บริการวิชาการ (ต่ อ)

นอกจากนี ้ อาจารย์ อาจจะสร้ างเว็บวิชาการขึน้ มา
เพื่อให้ ข้อมูลหรื อเผยแพร่ เกร็ดความรู้ ต่างๆ
หรื อ อาจสร้ างเนือ้ หาให้ เรี ยนฟรี
ตัวอย่ างเช่ น ที่วิทยาลัยการศึกษาทางไกล
อินเทอร์ เน็ตแห่ งมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ก็เปิ ดหลักสูตรสอนร้ องเพลงสาหรั บผู้ป่วย
ระยะสุดท้ าย
193
เครือข่ ายสังคมในการให้ บริการวิชาการ (ต่ อ)

อีกตัวอย่ างหนึ่งคือ วิทยาลัยฯ และ สสว.
ร่ วมกันเปิ ดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตร
การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม (eSMEs)
ฟรี ขนึ ้ ให้ กับผู้ประกอบธุรกิจทั่วประเทศ
และผู้สนใจทั่วไป มีทงั ้ หมด 18 รายวิชา
เมื่อเรี ยนจบก็ได้ รับใบประกาศนียบัตรฟรี
194
7.1.4 เครือข่ ายสังคม
ในการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม

อาจารย์ ควรจะร่ วมงานทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม
ทัง้ ที่มหาวิทยาลัยต้ นสังกัดและที่หน่ วยงานอื่นๆ จัด
อาทิ งานสงกรานต์ งานลอยกระทง
และงานเฉลิมพระชนม์ พรรษา เป็ นต้ น โดยอาจจะ
เข้ าไปทาหน้ าที่เป็ นสื่อมวลชนโฆษณาประชาสัมพันธ์
จัดกิจกรรม หรื อร่ วมกิจกรรมต่ างๆ
ผ่ านเครื อข่ ายสังคมก็ได้
195
เครือข่ ายสังคมกับศิลปวัฒนธรรม (ต่ อ)

ผมเองก็ร่วมงานเฉลิมพระชนม์ พรรษา
โดยเป็ นประธานฝ่ ายพัฒนาเว็บไซต์
มูลนิธิ 5 ธันวามหาราช รั บผิดชอบ
เว็บ “บีเลิฟด์ คิง (www.BelovedKing.com)”
และ “บีเลิฟด์ ควีน ( www.BelovedQueen.com)”
โดยมีตัวอย่ างกิจกรรมผ่ านโลกออนไลน์
ที่เสมือนเป็ นสื่อมวลชนของคนอินเทอร์ เน็ต
196
เครือข่ ายสังคมกับศิลปวัฒนธรรม (ต่ อ)


อีกตัวอย่ างหนึ่ง ผมได้ จัดให้ มีอักขระคอมพิวเตอร์
โบราณแบบคล้ ายอาลักษณ์ ขนึ ้ 3 แบบ
- ฟอนต์ ศรี ศักดิ์ (Srisakdi Font)
- ฟอนต์ จามรมาน (Charmonman Font)
- ฟอนต์ ชาร์ มแอตเอยู (Charm@Au Font)
ทัง้ นี ้ ฟอนต์ ทงั ้ สามสามารถดาวน์ โหลด
และนาไปใช้ ได้ ฟรี ท่ เี ว็บ “ชาร์ ม (www.charm.au.edu)”
197
7.2 เครือข่ ายสังคมกับนักธุรกิจ

ในเครื อข่ ายสังคม มีหน่ วยงานมากมาย
รวมถึงประชาชนคนทั่วไปเข้ าไปทาธุรกิจ
ในโลกออนไลน์ เช่ นกันรวมถึงด้ านสื่อมวลชน
ทัง้ นี ้ ในเครื อข่ ายสังคมก็เป็ นการเปิ ดตลาดภาคธุรกิจ
ต่ างๆ ขึน้ ใหม่ นอกเหนือจากโลกจริงๆ
198
เครือข่ ายสังคมกับนักธุรกิจ (ต่ อ)

มีบริษัทผู้ให้ บริการศูนย์ กลางข้ อมูลหลายราย
ไปเปิ ดสานักงานและให้ บริการต่ างๆ อาทิ ให้ ข้อมูล
ให้ คาปรึกษา ให้ ชมอาคารสถานที่
และให้ ชมการสาธิตศูนย์ กลางข้ อมูล เป็ นต้ น
ได้ ตลอดวันละ 24 ชั่วโมง สัปดาห์ ละ 7 วัน
199
เครือข่ ายสังคมกับนักธุรกิจ (ต่ อ)

ไอบีเอ็มเป็ นบริษัทแรกที่เข้ าไปเปิ ดตัวศูนย์ กลาง
ข้ อมูลสีเขียวในโลกเสมือนจริงชีวติ ที่สองโดยเมื่อปี
พ.ศ. 2551 ไอบีเอ็มเปิ ดตัวศูนย์ กลางข้ อมูลสีเขียว
เสมือนจริงแบบสามมิตใิ นชีวิตที่สอง หรื อ “สามดีวีจี
ดีซี (3DVGDC = 3 Dimensional Virtual Green Data
Center)” โดยใช้ งบประมาณ 35,000 ล้ านบาท บน
เกาะของไอบีเอ็มที่มีช่ ือว่ า “ศูนย์ ธุรกิจเสมือนจริง
แห่ งไอบีเอ็ม (IBM Virtual Business Center Island)”
200
เครือข่ ายสังคมกับนักธุรกิจ (ต่ อ)

ผู้ท่ ตี ้ องการเข้ าชมศูนย์ กลางข้ อมูลสีเขียว
ของไอบีเอ็มในโลกเสมือนจริงชีวิตที่สอง
ก็ต้องเข้ าไปสมัครเป็ นสมาชิกของเว็บโลกเสมือนจริง
(Secondlife.com) เพื่อสร้ างร่ างอวตารของตน
เป็ นตัวแทนเข้ าไปท่ องโลกเสมือนจริง
201
เครือข่ ายสังคมกับนักธุรกิจ (ต่ อ)

ทัง้ นี ้ ไอบีเอ็มได้ จัดให้ พนักงานขายมีร่างอวตาร
เข้ าไปอยู่ในโลกเสมือนจริงเพื่อให้ บริการลูกค้ า
ในห้ าวันทาการ ส่ วนข้ อมูลต่ างๆ
ลูกค้ าสามารถเข้ าไปดูได้ ตลอดวันละ 24 ชั่วโมง
สัปดาห์ ละ 7 วัน โดยไอบีเอ็มจัดให้ มีการสาธิตระบบ
ศูนย์ กลางข้ อมูล รายละเอียดการให้ บริการ และ
กรณีศึกษาต่ างๆ ไว้ ให้
202
ภายในศูนย์ กลางข้ อมูลเสมือนจริงของไอบีเอ็ม
203
ร่ างอวตารเข้ าเยี่ยมชมศูนย์ กลางข้ อมูล
เสมือนจริงของไอบีเอ็ม
204
7.3 เครือข่ ายสังคมกับนักการเมือง

เครื อข่ ายสังคมที่บรรดานักการเมืองนิยมใช้ เป็ น
สื่อมวลชนและเป็ นกระบอกเสียงให้ กับตนเองที่กาลัง
มาแรงนัน้ ก็คือ เว็บ “ทวิตเทอร์ (Twitter)”
205
เครือข่ ายสังคมกับนักการเมือง (ต่ อ)

ทวิตเทอร์ เป็ นบริการเว็บเครื อข่ ายสังคมที่ให้ บริการ
แบบบล็อกสัน้ ๆ หรื อ “ไมโครบล็อก (Micro Blog)”
โดยผู้ใช้ สามารถส่ ง “ทวีต (Tweet)” หรื อข้ อความสัน้
ไม่ เกิน 140 ตัวอักษร คล้ ายกับการส่ งเอสเอ็มเอส
ทางโทรศัพท์ มือถือ เพื่อบอกว่ าผู้ใช้ กาลังทาอะไรหรื อ
คิดอะไรอยู่ หรื ออะไรก็ตามที่ผ้ ูใช้ ต้องการบอกให้
ผู้อ่ ืนได้ รับรู้ เกี่ยวกับตน
206
เครือข่ ายสังคมกับนักการเมือง (ต่ อ)

ถึงเดือนกรกฎาคม 2552 ทวิตเทอร์ มีสมาชิกอยู่
ประมาณ 14 ล้ านคน ซึ่งก็มีคนดังและผู้นาประเทศ
หลายท่ านได้ เข้ าไปใช้ ทวิตเทอร์ ให้ ประชาชนและคน
ทั่วโลกได้ ตดิ ตามตน อาทิ ประธานาธิบดีบารั ค โอ
บามา มีผ้ ูตดิ ตามในทวิตเทอร์ ประมาณ 1,755,000
ราย เป็ นต้ น
207
เครือข่ ายสังคมกับนักการเมือง (ต่ อ)

สาหรั บประเทศไทยนัน้ ท่ านนายกรั ฐมนตรี อภิสิทธิ์
เวชชาชีวะ รวมถึงนักการเมืองหลายท่ านก็หนั ไปใช้
ทวิตเทอร์
208
ทวิตเตอร์ ของบารัค โอบามา
(twitter.com/BARACKOBAMA)
209
ทวิตเตอร์ ของนายกฯอภิสิทธิ์
(twitter.com/PM_Abhisit)
210
8. เครือข่ ายสังคมกับผู้สูงวัย
8.1 กิจกรรมทางอินเทอร์ เน็ตของผู้สูงวัย
8.2 ข่ าวอินเทอร์ เน็ตกับผู้สูงวัย
8.3 ภัยอินเทอร์ เน็ตที่ผ้ ูสูงวัยควรทราบ
211
8.1 กิจกรรมทางอินเทอร์ เน็ตของผู้สูงวัย

เมื่อเดือนธันวาคม 2551 มีรายงานจากเว็บ
“พิวรี เสิร์ซ” เกี่ยวกับกิจกรรมที่ผ้ ูสูงวัยชาวอเมริกัน
ให้ ความสนใจในการใช้ อินเทอร์ เน็ต พบว่ า
- ร้ อยละ 91 ใช้ รับส่ งอีเมล์
- ร้ อยละ 55 ใช้ ธนาคารออนไลน์
- ร้ อยละ 47 หาข้ อมูลบนเว็บวิกพ
ิ เี ดีย
- ร้ อยละ 38 หาข้ อมูลทางการเงิน
- ร้ อยละ 35 ใช้ เว็บเครื อข่ ายสังคม
212
เปอร์ เซ็นต์ ผ้ ูใช้ อนิ เทอร์ เน็ตอเมริกัน
ในช่ วงอายุสูงวัยจาก “พิวรีเสิร์ซ (pewresearch.org)”
อายุ
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2551
เพิ่มขึน้ ร้ อยละ
55-59
60-64
65-69
70-75
75+
68
55
66
76
17
71
62
67
45
27
3
7
1
19
10
213
กิจกรรมทางอินเทอร์ เน็ตของผู้สูงวัย (ต่ อ)
ตัวอย่ าง กิจกรรมทางอินเทอร์ เน็ตของผู้สูงวัย
8.1.1 ใช้ อีเมล์
8.1.2 ใช้ เครื อข่ ายสังคม
214
8.1.1 ใช้ อีเมล์



การใช้ อีเมล์ ได้ รับความนิยมในหมู่ผ้ ูสูงวัย
- ใช้ ตดิ ต่ อสื่อสารกับเพื่อนและญาติพ่ นี ้ อง
- เป็ นการรั กษาความสัมพันธ์ ระหว่ างกัน
ผู้สูงวัยที่มีปัญหาในด้ านการได้ ยนิ
ก็สามารถใช้ อีเมล์ เป็ นช่ องทางในการสื่อสารได้
โดยไม่ ต้องใช้ วิธีการฟั ง
ข้ อความในอีเมล์ กส็ ามารถเก็บรั กษาไว้
เป็ นคุณค่ าทางจิตใจ
215
ใช้ อีเมล์ (ต่ อ)

ตัวอย่ างอีเมล์ สาหรั บผู้สูงวัย
ที่มีรูปแบบการใช้ งานที่ง่ายขึน้
คือ “พาว์ พาว์ เมล์ (Pawpawmail.com)”
216
พาว์ พาว์ เมล์ (ต่ อ)


รู ปแบบการให้ บริการของพาว์ พาว์ เมล์
เน้ นที่ความเรี ยบง่ ายต่ อการใช้ งานสาหรั บผู้สูงอายุ
ไม่ มีเมนูท่ ซี ับซ้ อนเหมือนอีเมล์ ท่ วั ๆ ไป แต่ จะเน้ น
- อ่ านเมล์ (Read Mail)
- ส่ งเมล์ (Sent Mail)
- ดูรูปภาพ (View Photo)
- ออกจากเว็บ (Exit)
217
ตัวอย่ างเมนูการใช้ งานของพาว์ พาว์ เมล์
218
พาว์ พาว์ เมล์ (ต่ อ)

ข้ อเสียของพาว์ พาว์ เมล์
คือ เสียค่ าใช้ จ่ายเดือนละ 5 เหรี ยญ
หรื อประมาณ 170 บาท
219
8.1.2 ใช้ เครือข่ ายสังคม

เว็บเครื อข่ ายสังคม นับว่ าเป็ นช่ องทาง
ที่เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูสูงวัยสามารถติดต่ อสื่อสาร
แบ่ งปั นข้ อมูลระหว่ างเพื่อนสมาชิก และหาเพื่อนใหม่
220
หาเพื่อน (ต่ อ)

เดือนมกราคม พ.ศ. 2552
มีผลสารวจจากเว็บ “ยูเอสเอทูเดย์ (USAtoday)”
โดยพิวรี เสิร์ซ เกี่ยวกับเหตุผลที่ผ้ ูสูงอายุ
ใช้ เว็บเครื อข่ ายสังคมพบว่ า
- ร้ อยละ 89 เพื่อรั กษาความสัมพันธ์ ระหว่ างเพื่อน
- ร้ อยละ 57 เพื่อพูดคุยสนทนากับเพื่อน
- ร้ อยละ 49 เพื่อหาเพื่อนใหม่
221
หาเพื่อน (ต่ อ)

ตัวอย่ างเว็บเครื อข่ ายสังคมสาหรั บผู้สูงวัย อาทิ
- เว็บอิออนส์ (www.Eons.com)
- เว็บเวอร์ ดูเรซ (Verdurez.com)
- เว็บซีเนียร์ แชทรู ม (www.Senior-Chatroom.com)
- เว็บชีวิตที่สอง (SecondLife.com)
เป็ นต้ น
222
8.2 ข่ าวอินเทอร์ เน็ตกับผู้สูงวัย
8.2.1 เอเชียมีผ้ ูสูงวัยใช้ อนิ เทอร์ เน็ต 32.9 ล้ านคน
8.2.2 ร้ อยละ 40 ของผู้สูงวัยชาวอเมริกัน
ใช้ อินเทอร์ เน็ตที่บ้าน
8.2.3 สหภาพยุโรปทุ่มงบเพื่อพัฒนาโครงการ
อินเทอร์ เน็ตสาหรั บผู้สูงวัย
223
8.2.1 เอเชียมีผ้ ูสูงวัยใช้ อนิ เทอร์ เน็ต 32.9 ล้ านคน

มีรายงานจาก “คอมสกอร์ (Comscore)”
ปี พ.ศ. 2551 ในเอเชียมีผ้ ูใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
ที่อายุ 55 ปี ขึน้ ไป จานวน 32.9 ล้ านคน
ซึ่งขยายตัวเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 35 จากปี พ.ศ. 2550
224
เอเชียมีผ้ ูสูงวัยใช้ อนิ เทอร์ เน็ต 32.9 ล้ านคน (ต่ อ)

นอกจากนี ้ เมื่อแยกอัตราการเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต
ของผู้สูงวัยในแต่ ละประเทศในเอเชีย พบว่ า
- ญี่ปุ่น มีอัตราการเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตของผู้สูงวัย
ร้ อยละ 21.1
- ออสเตรเลีย มีอัตราการเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต
ของผู้สูงวัย ร้ อยละ 18.6
- นิวซีแลนด์ มีอัตราการเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต
ของผู้สูงวัย ร้ อยละ 18
225
8.2.2 ร้ อยละ 40 ของผู้สูงวัยชาวอเมริกัน
ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตที่บ้าน

เดือนเมษายน 2552 มีรายงานจาก “บริษัทวิจัยตลาด
แฮร์ ริส (Harris Interactive)” จากกลุ่มผู้สารวจ
ที่เป็ นผู้สูงวัย 1,000 คน พบว่ า
- ร้ อยละ 35 ต้ องการใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์
ควบคุมการทางานของเครื่ องใช้ ไฟฟ้าภายในบ้ าน
- ร้ อยละ 20 ของผู้สูงวัย
ต้ องการซือ้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ใหม่
226
ผู้สูงวัยชาวอเมริกันใช้ อนิ เทอร์ เน็ตที่บ้าน (ต่ อ)

นอกจากนี ้ พบว่ า ผู้สูงวัยในสหรั ฐอเมริกา
ใช้ บริการอินเทอร์ เน็ตเพิ่มมากขึน้
- ร้ อยละ 40 ของผู้สูงวัยใช้ อนิ เทอร์ เน็ตที่บ้าน
- ร้ อยละ 30 ของผู้สูงวัยใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
เพื่อดาวน์ โหลดภาพ วิดีโอ และเพลง
227
8.2.3 สหภาพยุโรปทุ่มงบ
เพื่อพัฒนาโครงการอินเทอร์ เน็ตสาหรับผู้สูงวัย

เมื่อ พ.ศ. 2551 รั ฐสภายุโรปได้ อนุมัตงิ บประมาณ
234 ล้ านเหรี ยญ หรื อประมาณ 7,200 ล้ านบาท
เพื่อใช้ ในการศึกษาวิจัยการใช้ เทคโนโลยี
อินเทอร์ เน็ตสาหรั บผู้สูงวัย
228
เน็ตสาหรับผู้สูงวัยในสหภาพยุโรป (ต่ อ)

สหภาพยุโรปคาดว่ า จานวนผู้สูงอายุท่ มี ีอายุ 65 ปี
ขึน้ ไปจะขยายตัวร้ อยละ 40 จากพ.ศ. 2553 – 2573
ทางสหภาพยุโรปจึงต้ องการที่จะให้ อินเทอร์ เน็ต
สามารถเข้ าถึงผู้สูงวัยได้ มากขึน้ และจะฝึ กอบรม
เกี่ยวกับการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตแก่ ผ้ ูสูงวัย
เพื่อให้ ผ้ ูสูงวัยสามารถติดต่ อสื่อสารกับสังคมได้
อย่ างสะดวก
229
8.3 ภัยทางอินเทอร์ เน็ตที่ผ้ ูสูงวัยควรทราบ
8.3.1 เหตุใดผู้สูงวัยต้ องระวังการฉ้ อโกงทางอินเทอร์ เน็ต
8.3.2 การฉ้ อโกงเกี่ยวกับการประกันสุขภาพ
8.3.3 การป้องกันเกี่ยวกับยาปลอม
8.3.4 การป้องกันเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ชะลอความแก่
8.3.5 การฉ้ อโกงการค้ าทางอินเทอร์ เน็ต
8.3.6 การฉ้ อโกงทางอินเทอร์ เน็ตอื่นๆ
230
8.3.1 เหตุใดผู้สูงวัยต้ องระวังการฉ้ อโกง
ทางอินเทอร์ เน็ต

จากรายงานของสานักงานสืบสวนกลางสหรั ฐ
หรื อ “เอฟบีไอ (FBI = Federal Bureau of
Investigation)” ระบุว่า ผู้สูงวัยเป็ นกลุ่มเป้าหมาย
ของการฉ้ อโกงทางอินเทอร์ เน็ต เพราะ
- ผู้สูงวัยส่ วนใหญ่ มองโลกในแง่ ดี
และไม่ ค่อยกล้ าปฏิเสธ
231
เหตุใดผู้สูงวัยจึงต้ องระวังการฉ้ อโกง (ต่ อ)
- ผู้สูงวัยไม่ ร้ ู เท่ าทันวิธีฉ้อโกง
- เมื่อผู้สูงวัยถูกฉ้ อโกงไม่ กล้ าแจ้ งให้ บุตรหลานทราบ
- ผู้สูงวัยไม่ ร้ ู ข้อมูลมิจฉาชีพ อาทิ
* ไม่ ร้ ู ว่ามิจฉาชีพเป็ นใคร
* จาวันเวลาติดต่ อไม่ ได้
* จาที่อยู่ตดิ ต่ อกลับ
เป็ นต้ น
232
เหตุใดผู้สูงวัยจึงต้ องระวังการฉ้ อโกง (ต่ อ)

ตัวอย่ างเรื่ องที่ผ้ ูสูงวัยถูกฉ้ อโกง
- การประกันสุขภาพ
- การค้ ายาปลอม
- การขายผลิตภัณฑ์ ชะลอความแก่
233
8.3.2 การฉ้ อโกงเกี่ยวกับการประกันสุขภาพ

มีโฆษณาเกี่ยวกับผู้สูงวัยเรื่ องการประกันสุขภาพ
แอบแฝงมากับเว็บต่ างๆ อาทิ
- เว็บบริษัทประกันชีวิต
- เว็บชมรมคนรั กสุขภาพ
- เว็บบ้ านพักผู้สูงวัย
เป็ นต้ น
234
การฉ้ อโกงเกี่ยวกับการประกันสุขภาพ (ต่ อ)

การฉ้ อโกงมีหลายรู ปแบบ อาทิ
- ให้ กรอกแบบฟอร์ มผลสารวจด้ านสุขภาพผู้สูงวัย
แลกกับของรางวัล
- ให้ เซ็นสัญญาเกี่ยวกับการประกันสุขภาพ
โดยอ้ างว่ าจะได้ รับคาปรึกษาสุขภาพฟรี จากแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญหลังจากนัน้ ก็มีใบเสร็จเรี ยกเก็บเงิน
ส่ งมาที่บ้าน
235
การป้องกันการฉ้ อโกงการประกันสุขภาพ

การเซ็นสัญญาที่มีข้อผูกมัดต่ างๆ ต้ อง
- ไม่ เซ็นธุรกรรมใดใดทางอินเทอร์ เน็ต
- ไม่ ตกลงมอบอานาจให้ ผ้ ูอ่ ืนเซ็นแทน
- สอบถามให้ แน่ ใจว่ าสิ่งที่ส่งมานัน้
ต้ องชาระเงินหรื อไม่
- โทรสอบถามรายละเอียดโดยตรง
กับบริษัททาประกัน
ดีกว่ าติดต่ อสอบถามทางอินเทอร์ เน็ต
236
การป้องกันการฉ้ อโกงการประกันสุขภาพ (ต่ อ)
- เก็บหลักฐานวันเวลาที่ตดิ ต่ อไว้ ให้ ดี
- โทรศัพท์ สอบถามรายละเอียดโดยตรง
กับบริษัทประกันดีกว่ าติดต่ อสอบถาม
ทางอินเทอร์ เน็ต
- เก็บหลักฐานวันเวลาที่ตดิ ต่ อไว้ ให้ ดี
237
การป้องกันการฉ้ อโกงการประกันสุขภาพ (ต่ อ)



ต้ องระลึกเสมอว่ าแพทย์ เท่ านัน้ ที่สามารถสั่งยา
หรื ออุปกรณ์ ทางการแพทย์ แก่ ผ้ ูป่วยได้
กล้ าที่จะถามรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ให้ ชัดเจน
การซือ้ ผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพ
ควรค้ นหาข้ อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ด้วยตัวเอง
ให้ ได้ รายละเอียดก่ อนตัดสินใจสั่งซือ้
238
8.3.3 การป้องกันการสั่งซือ้ ยาปลอม



ตรวจสอบข้ อมูลจากบรรจุภณ
ั ฑ์ วิธีการส่ ง
และเงื่อนไขการชาระเงินก่ อนสั่งซือ้
ปรึกษาเภสัชกรทันทีเมื่อสงสัยว่ าได้ รับยาปลอม
ซือ้ ยาที่มีการรั บรองมาตรฐาน
จากหน่ วยงานที่น่าเชื่อถือ
239
8.3.4 การป้องกันเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ชะลอความแก่

ระวังโฆษณาที่ใช้ ข้อความ อาทิ
- สูตรที่เป็ นความลับเฉพาะ
- การค้ นพบที่ย่ งิ ใหญ่
- พิเศษเวลานีเ้ ท่ านัน้
- คุณคือผู้โชคดีได้ รับผลิตภัณฑ์ ไปใช้ ฟรี
เป็ นต้ น
240
วิธีป้องกันเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ชะลอความแก่ (ต่ อ)



สอบถามวิธีการใช้ และผลที่ได้ รับ
จากผลิตภัณฑ์ ชะลอความแก่ อย่ างละเอียดก่ อนสั่งซือ้
ตรวจสอบให้ แน่ ชัดจากผู้ขาย
ว่ าผลิตภัณฑ์ ท่ สี ่ ังซือ้ ไม่ มีผลข้ างเคียงต่ อร่ างกาย
ควรปรึกษาแพทย์
เมื่อต้ องซือ้ ผลิตภัณฑ์ ชะลอความแก่
241
8.3.5 การฉ้ อโกงเกี่ยวกับการค้ าทางอินเทอร์ เน็ต

ผู้สูงวัยที่ตกเป็ นเหยื่อของการฉ้ อโกง
เกี่ยวกับการค้ าทางอินเทอร์ เน็ตมากที่สุด
คือ กลุ่มผู้หญิงที่มีอายุ 60 ปี ขึน้ ไป
242
การฉ้ อโกงเกี่ยวกับการค้ าทางอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)

มีสินค้ าและบริการมากมาย
ที่กลุ่มมิจฉาชีพใช้ ฉ้อโกงผู้สูงอายุ อาทิ
- ของรางวัล
- สินค้ าราคาถูก
- ผลิตภัณฑ์ ด้านสุขภาพ
- โปรแกรมท่ องเที่ยว
เป็ นต้ น
243
การฉ้ อโกงเกี่ยวกับการค้ าทางอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)


ข้ อความโฆษณาบนอินเทอร์ เน็ตที่ควรระวัง อาทิ
- สินค้ าให้ ทดลองใช้ ฟรี
- สินค้ าราคาต่า
เป็ นต้ น
ข้ อความที่กลุ่มมิจฉาชีพใช้ ในการฉ้ อโกง อาทิ
- เป็ นผู้โชคดีได้ รับของขวัญฟรี
- ได้ ต๋ วั ท่ องเที่ยวฟรี
เป็ นต้ น
244
การฉ้ อโกงเกี่ยวกับการค้ าทางอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)

มีเงื่อนไขทางการค้ าที่ควรระวัง อาทิ
- ต้ องจ่ ายค่ าบริการเพิ่ม
- ต้ องบอกข้ อมูลบัตรเครดิตและเลขบัญชีธนาคาร
- ให้ ตัดสินใจซือ้ ทันทีหลังอ่ านเงื่อนไขแล้ ว
เป็ นต้ น
245
การป้องกันการฉ้ อโกงการค้ าทางอินเทอร์ เน็ต




ไม่ ซือ้ สินค้ าและบริการจากหน่ วยงานที่ไม่ น่าเชื่อถือ
ตรวจสอบประวัตขิ องผู้ขายสินค้ าและบริการ
ก่ อนตัดสินใจซือ้ จากหน่ วยงานคุ้มครองผู้บริโภค
ในกรณีท่ ไี ด้ รับเอกสารหรื อบัตรสมนาคุณ
ด้ านการลงทุนที่ได้ ผลตอบแทนสูง
ผู้สูงวัยควรปรึกษาผู้ท่ มี ีความรู้ ด้านการเงินก่ อน
ไม่ ควรเชื่อข้ อความหรื อเอกสารต่ างๆ
ที่ไม่ บอกแหล่ งที่มาเพราะอาจเป็ นเอกสารปลอม
246
การป้องกันการฉ้ อโกงการค้ า (ต่ อ)

ต้ องทราบข้ อมูลเกี่ยวกับผู้ขาย อาทิ
- ชื่อบริษัท
- หมายเลขโทรศัพท์ และที่อยู่
- อีเมล์
- เลขที่ใบอนุญาต
เป็ นต้ น
247
การป้องกันการฉ้ อโกงการค้ า (ต่ อ)
ไม่ ให้ ข้อมูลด้ านการเงินทางโทรศัพท์
 ต้ องศึกษาข้ อมูลให้ ละเอียดก่ อนตอบตกลงข้ อเสนอ
หากไม่ แน่ ใจยังไม่ ควรตอบตกลง

248
8.3.6 การฉ้ อโกงทางอินเทอร์ เน็ตอื่นๆ

มีการฉ้ อโกงทางอินเทอร์ เน็ตอื่นๆ
ที่มิจฉาชีพใช้ อาทิ
- การทาธุรกรรมธนาคารทางอินเทอร์ เน็ต
- การซือ้ ตั๋วทางอินเทอร์ เน็ต
- การล่ อลวงทางเว็บเครื อข่ ายสังคม
เพื่อรู้ ข้อมูลบัตรเครดิต
- การกู้ยืมเงินทางอินเทอร์ เน็ต
เป็ นต้ น
249
9. เครือข่ ายสังคมกับการศึกษา

สื่อมวลชนทางการศึกษาทัง้ หลาย
ก็อาจจะใช้ เครื อข่ ายสังคมในการเผยแพร่ ความรู้
ทางวิชาการและนาเสนอข่ าวสาร
รวมถึงใช้ เครื อข่ ายสังคมเป็ นสื่อการเรี ยนการสอน
250
เครือข่ ายสังคมกับการศึกษา (ต่ อ)

ถึงปี พ.ศ. 2552 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ
อินเทอร์ เน็ตทาให้ เกิดปรากฎการณ์ ความสัมพันธ์ ใน
ด้ านต่ างๆ มากมายเกิดขึน้ ในโลกออนไลน์ ซ่ งึ อาจ
กล่ าวได้ ว่าในแง่ ของความสัมพันธ์ ทางการศึกษานัน้
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ตทาให้
เกิดปรากฎการณ์ อีเลิร์นนิ่ง เอ็มเลิร์นนิ่ง ยูเลิร์
นนิ่ง และกูเลิร์นนิ่ง
251
เครือข่ ายสังคมกับการศึกษา (ต่ อ)

อีเลิร์นนิ่งเป็ นการเรี ยนผ่ านทางอินเทอร์ เน็ตซึ่งตาม
คาจากัดความของสมาคมสโลนนัน้ กล่ าวว่ า
“อีเลิร์นนิ่งคือการเรี ยนการสอนที่ใช้ อินเทอร์ เน็ต
ร้ อยละ 80-100 นั่นคือ อาจจะใช้ อินเทอร์ เน็ต
ร้ อยละ 100 ก็ได้ ”
252
เครือข่ ายสังคมกับการศึกษา (ต่ อ)


จากผลการสารวจของสโลนซี (Sloan-C) ร้ อยละ 96
ของมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ ในอเมริกา (15,000 คน
ขึน้ ไป) เปิ ดสอนแบบอีเลิร์นนิ่งแล้ ว
แต่ ถ้าใช้ อินเทอร์ เน็ตผ่ านโทรศัพท์ มือถือ
จะเรี ยกว่ า “เอ็มเลิร์นนิ่ง (mLearning)”
253
เครือข่ ายสังคมกับการศึกษา (ต่ อ)

ถ้ าใช้ ทงั ้ อินเทอร์ เน็ต หนังสือ และสื่อสนับสนุน
การเรี ยนอื่นๆ ก็อาจเรี ยกว่ า “ยูเลิร์นนิ่ง (uLearning)”
และถ้ าใช้ กูเกิลเป็ นสื่อในการเรี ยนก็อาจจะเรี ยกว่ า
“กูเลิร์นนิ่ง (gooLearning)”
254
เครือข่ ายสังคมกับการศึกษา (ต่ อ)

มีมหาวิทยาลัยในไทยใช้ โลกออนไลน์ เป็ นสื่อมวลชน
ทางการศึกษาให้ กับสถาบันของตน อาทิ
- มหาวิทยาลัยไซเบอร์ ไทย (www.thaicyberu.go.th)
- จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (www.chulaonline.com)
- มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (e-learning.tu.ac.th)
- มหาวิทยาลัยรามคาแหง (www.ram.edu)
- วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์ เน็ต
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (www.elearning.au.edu)
255
เป็ นต้ น
เครือข่ ายสังคมกับการศึกษา (ต่ อ)

ส่ วนในโลกเสมือนจริงชีวิตที่สองทั่วโลก
มีมหาวิทยาลัยกว่ า 200 แห่ งเปิ ดให้ บริการ
ในโลกเสมือนจริง อาทิ
- มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด
- มหาวิทยาลัยอินเดียน่ า
- มหาวิทยาลัยออกซ์ ฟอร์ ด
เป็ นต้ น
256
เครือข่ ายสังคมกับการศึกษา (ต่ อ)

อนึ่ง ในประเทศไทย “วิทยาลัยการศึกษาทางไกล
อินเทอร์ เน็ตมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ซีไอดีอี)”
เป็ นมหาวิทยาลัยแห่ งแรกที่เปิ ดให้ บริการ
และเป็ นสื่อมวลชนโฆษณาประชาสัมพันธ์ ซีไอดีอี
ในโลกเสมือนจริงและมีสานักงานอยู่ ณ อาคาร
“ศรี ศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”
257
เครือข่ ายสังคมกับการศึกษา (ต่ อ)

ซีไอดีอีเปิ ดสอนปริญญา 4 หลักสูตร คือ
- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการจัดการ
- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
- หลักสูตรปรั ชญาดุษฏีบัณฑิต
สาขาวิชาวิธีวิทยาการเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์
258
เครือข่ ายสังคมกับการศึกษา (ต่ อ)

นอกจากนีย้ ังเปิ ดสอนประกาศนียบัตร 3 หลักสูตร
คือ
- หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
- หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการธุรกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่ อม
หรื อ “เอสเอ็มอี (SMEs)”
- หลักสูตรทัศนศิลป์
259
10. เครือข่ ายสังคมในแง่ ของการเป็ นสื่อ
ให้ ความบันเทิง
10.1 สถิตแิ ละภาพรวมของการใช้ ส่ ือเพื่อความบันเทิง
บนโลกออนไลน์
10.2 สื่อความบันเทิงทางอินเทอร์ เน็ต
260
10.1 สถิตแิ ละภาพรวมของการใช้ ส่ ือ
เพื่อความบันเทิงบนโลกออนไลน์

ในโลกออนไลน์ นัน้ มีส่ ือที่มีประโยชน์ อยู่ร้อยละ 99
และมีส่ ือที่ไม่ มีประโยชน์ อยู่เพียงร้ อยละ 1
ซึ่งก็ขนึ ้ อยู่กับผู้ท่องอินเทอร์ เน็ต
ว่ าจะเลือกใช้ ส่ ือแบบใด
261
สถิตแิ ละภาพรวมของสื่อด้ านบันเทิง (ต่ อ)

สาหรั บคนวัยทางานหรื อผู้สูงวัยก็คงไม่ น่าเป็ นห่ วง
เท่ าใดนักเนื่องจากมีวุฒภิ าวะมากพอ
ที่จะควบคุมตนเองไม่ ให้ ตกเป็ นเหยื่อสื่อด้ านลบ
ที่มีอยู่เพียงร้ อยละ 1 ส่ วนกลุ่มเยาวชนคนวัยรุ่ นนัน้
บางคนอาจจะยังไม่ มีวุฒภิ าวะมากพอที่จะแยกแยะ
หรื อยับยัง้ ชั่งใจควบคุมตนเองไม่ ให้ ล่ ุมหลงมัวเมาไป
กับสื่อที่ไม่ มีประโยชน์
262
สถิตแิ ละภาพรวมของสื่อด้ านบันเทิง (ต่ อ)

มีรายงานจาก “พิวอินเทอร์ เน็ต” ปี พ.ศ. 2552
ว่ าผู้ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตชาวอเมริกันที่มีอายุ 18-32 ปี
เป็ นกลุ่มที่ใช้ อินเทอร์ เน็ตเพื่อความบันเทิง
และการติดต่ อสื่อสารมากที่สุด
263
สถิตแิ ละภาพรวมของสื่อด้ านบันเทิง (ต่ อ)

มีตัวอย่ างสถิตกิ ารบริโภคสื่อทางอินเทอร์ เน็ต
ของวัยรุ่ นอเมริกัน ระบุว่า วัยรุ่ นอเมริกัน
- ท่ องอินเทอร์ เน็ตผ่ านพีซี 23 นาทีต่อวัน
- ดูวดิ ีโอออนไลน์ ผ่านพีซี 6 นาทีต่อวัน
- 1 ใน 10 ของวัยรุ่ นเล่ นเกมผ่ านเครื่ องพีซี
- สนทนาผ่ านโทรศัพท์ 6 นาทีต่อวัน
- ส่ งข้ อความผ่ านโทรศัพท์ มือถือ 96 ข้ อความต่ อวัน
- ชมวิดีโอผ่ านโทรศัพท์ มือถือ 13 นาทีต่อวัน
- ท่ องเว็บผ่ านโทรศัพท์ มือถือร้ อยละ 10 ต่ อวัน 264
10.2 สื่อความบันเทิงทางอินเทอร์ เน็ต
10.2.1 วิดีโอทางอินเทอร์ เน็ต
10.2.2 เล่ นเกมทางอินเทอร์ เน็ต
10.2.3 แชตทางอินเทอร์ เน็ต
265
10.2.1 วิดีโอทางอินเทอร์ เน็ต

จากรายงานของเนลซัน ระบุว่า เมื่อพฤษภาคม 2552
- วัยรุ่ นชาวอเมริกัน 12 ล้ านคน หรื อคิดเป็ นร้ อยละ
66 ชมวิดีโอทางอินเทอร์ เน็ตซึ่งเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 10
ต่ อปี
- วัยรุ่ นอเมริกันร้ อยละ 20 ชมวิดีโอผ่ าน
โทรศัพท์ มือถือ
266
วิดีโอทางอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)
- ชาวอเมริกันที่มีอายุ 18-24 ปี เป็ นกลุ่มที่ชมวิดีโอทาง
อินเทอร์ เน็ตมากที่สุด เฉลี่ย 5 ชั่วโมง 35 นาที 58
วินาทีต่อเดือน
- วัยรุ่ นชาวอเมริกัน (12-17 ปี ) ชมวิดีโอทาง
อินเทอร์ เน็ต เฉลี่ย 3 ชั่วโมง 5 นาที 57 วินาทีต่อ
เดือน
267
วิดีโอทางอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)

ประเภทวิดีโอที่วัยรุ่ นอเมริกันนิยมเข้ าชมผ่ าน
โทรศัพท์ มือถือ
- เพลง
ร้ อยละ 54
- รายการตลก
ร้ อยละ 48
- ผลงานที่ผ้ ูใช้ เน็ตทาขึน้ เอง ร้ อยละ 39
- กีฬา
ร้ อยละ 37
- ภาพเคลื่อนไหว
ร้ อยละ 36
268
10.2.2 เล่ นเกมทางอินเทอร์ เน็ต

มีรายงานการจัดอันดับเว็บเกมส์ เดือนมิถุนายน 2552
จากมาร์ เกตทิงชาร์ ตส (www.marketingchart.com)
ปรากฏว่ า
- อันดับที่หนึ่ง คือ เว็บโปโก (www.pogo.com)
มีส่วนแบ่ งทางการตลาดร้ อยละ 16.78
- อันดับที่สอง คือ เว็บยะฮูเกมส์ (Yahoo! Games)
มีส่วนแบ่ งทางการตลาดร้ อยละ 4.87
269
เล่ นเกมทางอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)
- อันดับที่สาม คือ รู นสเคป (RuneScape)
มีส่วนแบ่ งทางการตลาดร้ อยละ 4.83
- อันดับที่ส่ ี คือ เอ็มเอสเอ็น (MSN Games)
มีส่วนแบ่ งทางการตลาดร้ อยละ 2.30
- อันดับที่ห้า คือ เกมเบสบอลของยะฮู
(Yahoo! Sports Fantasy Baseball)
มีส่วนแบ่ งทางการตลาด ร้ อยละ 2.16
270
เล่ นเกมทางอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)

ประเทศไทยติดอันดับสองของเอเชียที่มีผ้ ูเล่ นเกม
ออนไลน์ มากที่สุด เมื่อมกราคม 2552
มีข้อมูลจากโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ระบุว่า มีร้านเกมคาเฟ่ ที่จดทะเบียนในไทย
23,000 ร้ าน ถ้ ารวมที่ไม่ จดทะเบียนด้ วย
ก็มีประมาณ 60,000 ร้ าน
271
เล่ นเกมทางอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)

ส่ วนใหญ่ เกมที่วัยรุ่ นนิยมเล่ นจะเน้ นการใช้ ความ
รุ นแรงซึ่งเป็ นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ วัยรุ่ นมีพฤติกรรม
ก้ าวร้ าวในสังคมมากขึน้ เพราะวัยรุ่ นเป็ นวัยที่มีการ
เลียนแบบพฤติกรรมมากที่สุด
272
10.2.3 แชตทางอินเทอร์ เน็ต


การแชตเป็ นกิจกรรมที่ทาในเครื อข่ ายสังคมมากที่สุด
เพราะแชตก็คือการติดต่ อสื่อสารโดยการสนทนา
ฉะนัน้ ที่ใดก็ตามที่มีบุคคลตัง้ แต่ สองคนขึน้ ไปย่ อม
จะต้ องมีการสนทนาเกิดขึน้
ทัง้ นี ้ การแชตเพื่อออกเดต หรื อ “อีเดตทิง (eDating)”
ก็เป็ นกิจกรรมที่วัยรุ่ นนิยมทาในเครื อข่ ายสังคม
273
แชตทางอินเทอร์ เน็ต (ต่ อ)

จากผลสารวจ พ.ศ. 2551 พฤติกรรมวัยรุ่ นเอเชียของ
ไมโครซอฟต์ และชินโนเวทได้ ระบุว่า ร้ อยละ 24
- แชตกับเพื่อนผ่ านบริการส่ งข้ อความแบบทันที
เฉลี่ย 2.2 ชั่วโมงต่ อวัน
- ทากิจกรรมอื่นๆ บนเครื อข่ ายสังคม 1.2 ชั่วโมง
ต่ อวัน
- รั บส่ งอีเมล์ 0.9 ชั่วโมงต่ อวัน
274
11. ผลกระทบของเครือข่ ายสังคมต่ อสังคมไทย
11.1 ผลกระทบต่ อประชาชน
11.2 ผลกระทบต่ อการเมือง
11.3 ผลกระทบต่ อการศึกษาหาความรู้
11.4 ผลกระทบต่ อธุรกิจสื่อมวลชน
11.5 ผลกระทบต่ อเยาวชนคนวัยรุ่ น
275
11.1 ผลกระทบต่ อประชาชน

ในแง่ ของการซือ้ ขายนัน้ เจ้ าของธุรกิจบางกลุ่มเชื่อว่ า
การโฆษณาประชาสัมพันธ์ สินค้ าและบริการผ่ าน
สื่อมวลชนนัน้ จะทาให้ ประชาชนเกิดความสนใจใน
สินค้ าและบริการมากขึน้ และจดจายี่ห้อของสินค้ า
และบริการ (Brand Recognition) นัน้ ๆ ได้ ง่าย
276
ผลกระทบต่ อประชาชน (ต่ อ)

ในแง่ ของโลกออนไลน์ ท่ เี กี่ยวข้ องกับธุรกิจนัน้
ก็มีหน่ วยงานธุรกิจรวมถึงหน่ วยงานอื่นๆ สร้ างเว็บ
ของตนขึน้ มาโฆษณาประชาสัมพันธ์ และสร้ าง
ปฏิสัมพันธ์ กับลูกค้ า
277
ผลกระทบต่ อประชาชน (ต่ อ)

ถึงปี พ.ศ. 2552 เครื อข่ ายสังคมเป็ นแนวโน้ ม
ที่นับว่ ามาแรงอย่ างมากโดยมีหน่ วยงานธุรกิจ
มากมายทัง้ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก
หันไปติดตามลูกค้ าเดิมและเพิ่มฐานลูกค้ าใหม่ ใน
เครื อข่ ายสังคมกันมากขึน้
278
ผลกระทบต่ อประชาชน (ต่ อ)


ตัวอย่ างของ “เป๊ปซี่ (Pepsi)” ก็เข้ าไปอยู่ในเครื อข่ าย
สังคมมากมายหลายแห่ งตัวอย่ างเช่ นทวิตเตอร์ ของ
เป๊ปซี่
ตัวอย่ างของ “สตาร์ บัคส์ ” ก็เข้ าไปโฆษณา
ประชาสัมพันธ์ ผ่านเครื อข่ ายสังคมเฟซบุคเช่ นกัน
279
ผลกระทบต่ อประชาชน (ต่ อ)

ทัง้ นี ้ เมื่อสิงหาคม 2552 มีรายงานข่ าวจาก “เอ็นเอ็ม
เอ (www.nma.co.uk)” ว่ ามีผ้ ูเข้ าไปในเครื อข่ ายสังคม
ของสตาร์ บัคส์ แล้ วมากกว่ า 3.7 ล้ านราย ส่ วนโคคา
โคลานัน้ มีมากกว่ า 3.5 ล้ านราย
280
ผลกระทบต่ อประชาชน (ต่ อ)

ในแง่ ของรสนิยมนัน้ สื่อมวลชนช่ วยยกระดับ
รสนิยมของผู้บริโภคโดยการนาเสนอศิลปะด้ านต่ างๆ
อาทิ ในสมัยก่ อนการเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมไทย
อาจทาได้ ในวงจากัดแต่ ในปั จจุบันสามารถเผยแพร่
ไปได้ ท่ วั ทุกมุมโลกผ่ านเครื อข่ ายสังคม เป็ นต้ น
281
11.2 ผลกระทบต่ อการเมือง

ถึงปี พ.ศ. 2552 นักการเมืองและหน่ วยงานต่ างๆ
ก็หนั ไปใช้ คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต
ในการเป็ นสื่อมวลชนให้ กับตนเองมากขึน้
ซึ่งก็มีทงั ้ ที่ทาเว็บของตนขึน้ มาเพื่อให้ ข้อมูลข่ าวสาร
และบริการต่ างๆ แก่ ประชาชน
282
ผลกระทบต่ อการเมือง (ต่ อ)

ในแง่ ของเครื อข่ ายสังคมก็มีการนาไปใช้ เช่ นกัน
ตัวอย่ างเช่ นใช้ ในการรณรงค์ หาเสียงเลือกตัง้
เผยแพร่ ทศั นคติและการทางานของผู้บริหารประเทศ
และบุคคลสาคัญทางการเมืองต่ างๆ เป็ นต้ น
283
ผลกระทบต่ อการเมือง (ต่ อ)

ตัวอย่ างแรก ที่ซานฟรานซิสโกเปิ ดศูนย์ ให้ บริการ
ประชาชนผ่ านเว็บเครื อข่ ายสังคมทวิตเทอร์ เมื่อ
มิถุนายน 2552 โดยให้ บริการต่ างๆ อาทิ ให้
ประชาชนสามารถยื่นคาร้ องต่ างๆ ได้ ตลอดวันละ 24
ชั่วโมง สัปดาห์ ละ 7 วัน เป็ นต้ น
284
ผลกระทบต่ อการเมือง (ต่ อ)

ตัวอย่ างที่สองคือ ที่สหราชอาณาจักรให้ ข้าราชการใช้
ทวิตเทอร์ รับส่ งข้ อความผ่ านทวิตเตอร์ เพื่อเป็ น
กระบอกเสียงสะท้ อนความคิดเห็นจากประชาชนไป
ยังรั ฐบาล
285
11.3 ผลกระทบต่ อการศึกษาหาความรู้

ถึงปี พ.ศ. 2552 โลกออนไลน์ ทาให้ ทุกคนทั่วโลก
ทุกเพศทุกวัย ได้ มีโอกาสศึกษาหาความรู้ และเรี ยน
ทันกันหมด สื่อมวลชนทางการศึกษาก็หนั ไป
เผยแพร่ ข้อมูลข่ าวสารทางวิชาการมากมายในโลก
ออนไลน์ ท่ อี าจจะเผยแพร่ ผ่านบล็อกรวมถึงเครื อข่ าย
สังคม
286
ผลกระทบต่ อการศึกษาหาความรู้ (ต่ อ)

เนือ้ หาที่ส่ ือมวลชนจะนาเสนอผ่ านโลกออนไลน์ จงึ
ควรทบทวนและคัดกรองถึงความเหมาะสมในการ
นาเสนอสื่อด้ วยเพราะอาจมีส่ ืออันไม่ พงึ ประสงค์ แอบ
แฝงมากับโลกออนไลน์
287
ผลกระทบต่ อการศึกษาหาความรู้ (ต่ อ)

มีกระแสมากมายที่สนับสนุนในการศึกษาหาความรู้
สื่อมวลชนบนโลกออนไลน์ ตัวอย่ างเช่ น ที่รัฐมิชิแกน
สหรั ฐอเมริกา ออกกฎหมายบังคับให้ นักเรี ยนที่จะจบ
มัธยมปลายต้ องเรี ยนวิชาแบบอีเลิร์นนิ่งอย่ างน้ อย 1
วิชา
288
ผลกระทบต่ อการศึกษาหาความรู้ (ต่ อ)

อย่ างไรก็ตาม สื่อมวลชนทางการศึกษาก็มีส่วนช่ วย
ขับเคลื่อนวงการการศึกษาได้ เป็ นอย่ างดีโดยการ
โฆษณาประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่ าวสารที่เกี่ยวข้ อง
รวมถึงสถาบันการศึกษาต่ างๆ ก็ต้องเป็ นสื่อมวลชน
ทางการศึกษาด้ วยเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์
หลักสูตรต่ างๆ ของตนและรณรงค์ ให้ ผ้ ูคนทั่วโลกหัน
ไปสร้ างปรากฏการณ์ ทางศึกษาในโลกออนไลน์
ร่ วมกันให้ มากขึน้
289
11.4 ผลกระทบต่ อธุรกิจสื่อมวลชน

ตัง้ แต่ มีโลกออนไลน์ เกิดขึน้ ก็ทาให้ ธุรกิจสื่อมวลชน
แบบเดิมที่เคยรุ่ งโรจน์ นัน้ ต้ องเร่ งรั ดพัฒนาธุรกิจของ
ตนไปอยู่ในโลกออนไลน์ มากขึน้ เพราะหากไม่
เปลี่ยนทัศนคติและกลยุทธ์ ทางธุรกิจให้ เข้ ากับการ
เปลี่ยนแปลงของยุคสมัยไอทีกอ็ าจจะทาให้ ธุรกิจ
สื่อมวลชนนัน้ ๆ ดับสลายไปในที่สุด
290
11.5 ผลกระทบต่ อเยาวชนคนวัยรุ่ น

อิทธิพลของสื่อมวลชนที่ส่งผลกระทบต่ อเยาวชนคน
วัยรุ่ นในสังคมไทยอย่ างมากเพราะเยาวชนคนวัยรุ่ น
เป็ นวัยที่มีการลอกเลียนแบบพฤติกรรมจากสื่อสูง
มากและยังไม่ มีวุฒภิ าวะมากพอที่จะคัดกรองสื่อและ
ยับยัง้ ชั่งใจไม่ ให้ หลงใหลไปกับสื่อยั่วยุ
291
ผลกระทบต่ อเยาวชนคนวัยรุ่ น (ต่ อ)

ทัง้ นี ้ สื่อที่มีอิทธิพลอย่ างมากและเสี่ยงต่ อการ
เบี่ยงเบนให้ เยาวชนคนวัยรุ่ นมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไป
ในทางที่ไม่ ดีกค็ ือ “สื่อที่มีความก้ าวร้ าวรุ นแรง”
เพราะนอกจากจะมีอิทธิพลต่ อการเลียนแบบแล้ ว
ยังมีอิทธิพลต่ อสิ่งต่ างๆ มากมาย อาทิ การ
เปลี่ยนแปลงทัศนคติ สภาวะทางกายภาพ และ
กระบวนการคิดอย่ างถูกต้ องด้ วย
292
ผลกระทบต่ อเยาวชนคนวัยรุ่ น (ต่ อ)

หากวัยรุ่ นจัดสรรเวลาการใช้ อินเทอร์ เน็ตสลับกับการ
ทากิจกรรมอื่นๆ ในชีวิตประจาวันได้ อย่ างเหมาะก็จะ
ช่ วยให้ ได้ ประโยชน์ มากกว่ าโทษ ตัวอย่ างเช่ น ใช้
เครื อข่ ายสังคมในกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ เพื่อสังคม
อาทิ ให้ วัยรุ่ นช่ วยแจ้ งเบาะแสให้ กับเจ้ าหน้ าที่ตารวจ
หากเกิดเหตุร้ายผ่ านเครื อข่ ายสังคม เป็ นต้ น
293
ผลกระทบต่ อเยาวชนคนวัยรุ่ น (ต่ อ)

หากใช้ อินเทอร์ เน็ตด้ านความบันเทิงมากเกินไปก็
อาจทาให้ เกิดโรค “ติดอินเทอร์ เน็ต (Internet
Addiction)” พฤติกรรมติดเน็ตส่ งผลกระทบต่ อวัยรุ่ น
อาทิ สิน้ เปลืองเวลา สิน้ เปลืองทรั พย์ สิน เสียการ
เรี ยน เสียสุขภาพขาดการปฏิสัมพันธ์ เป็ นต้ น
294
12. ตัวอย่ างกรณีศึกษาและคดีต่างๆ
ที่เกี่ยวกับเครือข่ ายสังคม
12.1 หนุ่ม 18 มงกุฎลวงสาวผ่ านเอ็มเอสเอ็น
ไปเรี ยกค่ าไถ่
12.2 สาว 15 ถูกล่ อลวงผ่ านไฮไฟว์ ไปข่ มขืน
12.3 ปั ญหาการขายบริการทางเพศทางเน็ต
295
12.1 หนุ่ม 18 มงกุฎลวงสาว
ผ่ านเอ็มเอสเอ็นไปเรียกค่ าไถ่

ข่ าวจากเว็บ “แบงคอกซิตี ้ (www.bangkokcity.com)”
เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2551
นายอัครพล นิมมานเหมินทร์ ถูกจับ
ในข้ อหาข่ มขืนกระทาชาเราหญิงอื่นที่มิใช่ ภรรยา
โดยใช้ กาลังประทุษร้ ายโดยมีหรื อใช้ อาวุธปื น
296
หนุ่มลวงสาวผ่ านเอ็มเอสเอ็น (ต่ อ)

คดีนีส้ ืบเนื่องมาจาก มีผ้ ูเสียหายเป็ นหญิงสาว
วัย 18 ปี เข้ าแจ้ งความว่ า ได้ ถูกนายอัครพล
ซึ่งรู้ จักกันจากการแชตเอ็มเอสเอ็นในอินเทอร์ เน็ต
ได้ นัดให้ ออกมาพบที่ห้างสรรพสินค้ าย่ านรามคาแหง
แล้ วนายอัครพลอาสาจะไปส่ งที่บ้าน
แต่ กลับพาผู้เสียหายเข้ าโรงแรม และปลุกปลา้ ข่ มขืน
297
หนุ่มลวงสาวผ่ านเอ็มเอสเอ็น (ต่ อ)


จากนัน้ นายอัครพลได้ โทรศัพท์ ไปข่ มขู่
แม่ ของผู้เสียหายให้ โอนเงินจานวน 20,000 บาท
เพื่อเป็ นค่ าไถ่ ตัวผู้เสียหาย
นายอัครพลไปกดเงินที่ต้ เู อทีเอ็ม
ของธนาคารไทยพาณิชย์ ย่านถนนรามคาแหง
โดยกล้ องวงจรปิ ดของธนาคารสามารถจับภาพไว้ ได้
ตารวจจึงติดตามตัวจนสามารถจับกุมนายอัครพล
ได้ ในที่สุด
298
12.2 สาว 15 ถูกล่ อลวงผ่ านไฮไฟว์ ไปข่ มขืน

ข่ าวจากเว็บ “มติชน (www.matichon.co.th)”
เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552
นางรั ก (นามสมมติ) ได้ พาบุตรสาวผู้เสียหายวัย 15 ปี
เข้ าแจ้ งความกับตารวจ สภ. สาโรงเหนือ
จ. สมุทรปราการ ให้ ดาเนินคดี
กับนายเอกพล อุดมศรี ในข้ อหาพรากผู้เยาว์
299
เด็กสาวถูกล่ อลวงผ่ านไฮไฟว์ (ต่ อ)

นางรั กให้ การว่ า เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552
บุตรสาวได้ ออกไปเรี ยนตามปกติและหายตัวไป
วันรุ่ งขึน้ จึงได้ แจ้ งความคนหายและเริ่มออกตามหา
โดยตรวจสอบเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของบุตรสาว
และพบว่ า บุตรสาวได้ เล่ นไฮไฟว์
ติดต่ อกับผู้ชายชื่อ นายเอ็ม
จึงได้ โทรศัพท์ ไปที่หมายเลขของนายเอ็ม
มีคนรั บสายแต่ ไม่ มีเสียงตอบรั บ
300
เด็กสาวถูกล่ อลวงผ่ านไฮไฟว์ (ต่ อ)

ถึงวันที่ 10 มิถุนายน 2552
บุตรสาวโทรศัพท์ กลับมาบอกว่ าไม่ ต้องเป็ นห่ วง
นางรั กจึงได้ นาเรื่ องนีไ้ ปปรึกษาตารวจ
และออกตามหา โดยตระเวนสอบถาม
แถวย่ านพระประแดง วินรถจักรยานยนต์ รับจ้ าง
แถวพระสมุทรเจดีย์บอกว่ า เคยเห็นทัง้ สองคน
มาแถวนี ้ สืบต่ อจนรู้ ว่า นายเอ็มคือ นายเอกพล
จึงพาตารวจไปจับกุม แต่ กไ็ ม่ พบตัว
301
เด็กสาวถูกล่ อลวงผ่ านไฮไฟว์ (ต่ อ)

ต่ อมา นายเอกพลได้ โทรศัพท์ ตดิ ต่ อกลับมา
ว่ าจะคืนตัวบุตรสาวให้
แต่ นางรั กต้ องถอนแจ้ งความทัง้ หมดก่ อน
นางรั กจึงนัดให้ ไปตกลงปั ญหา
ที่ห้องพักของนายเอกพลย่ านสุขสวัสดิ์
302
เด็กสาวถูกล่ อลวงผ่ านไฮไฟว์ (ต่ อ)


นายเอกพลยอมรั บว่ ามีเพศสัมพันธ์ กับผู้เสียหายจริง
และยอมรั บผิดชอบทุกอย่ าง
นางรั กจึงพาบุตรสาวกลับบ้ าน
และรอให้ นายเอกพลมาสู่ขอให้ ถูกต้ อง
ปรากฏว่ า นายเอกพลได้ หายหน้ าไป
จึงตัดสินใจเข้ าแจ้ งความ
ให้ ตารวจขออนุมัตอิ อกหมายจับนายเอกพล
303
12.3 ปั ญหาการขายบริการทางเพศทางเน็ต

เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2552
มีรายงานจากศูนย์ เฝ้าระวังทางวัฒนธรรมว่ า
ในอนาคตผู้ขายบริการทางเพศผ่ านอินเทอร์ เน็ต
จะเป็ นเด็กวัยรุ่ นอายุเพียง 10-15 ปี
พร้ อมเสนอให้ รัฐบาลเร่ งออกกฎหมาย
ควบคุมการใช้ อินเทอร์ เน็ตให้ เข้ มงวดขึน้
304
ปั ญหาการขายบริการทางเพศ (ต่ อ)

การขายบริการทางเพศทางเน็ต
อาจแบ่ งเป็ น 2 รู ปแบบ คือ
- การขายบริการผ่ านห้ องสนทนาโดยตรง
(ผู้ขายจะติดต่ อกับผู้ซือ้ โดยตรง)
- การขายบริการผ่ านห้ องสนทนาทางอ้ อม
(ผู้ขายจะติดต่ อกับผู้ขายผ่ านคนกลาง)
305
ปั ญหาการขายบริการทางเพศ (ต่ อ)

ตัวอย่ างปั ญหาวัยรุ่ นกับการขายบริการทางเพศ
ทางอินเทอร์ เน็ต อาทิ
12.3.1 การโชว์ ลามกอนาจารผ่ านแคมฟร็อก
12.3.2 การขายบริการทางเพศผ่ านแชตออนไลน์
306
12.3.1 การโชว์ ลามกอนาจารผ่ านแคมฟร็อก

โปรแกรมแคมฟร็อกตกเป็ นข่ าวเกรี ยวกราว
เมื่อวัยรุ่ นไทยใช้ โปรแกรมนี ้
เป็ นช่ องทางโชว์ ลามกอนาจารแบบออนไลน์
ผ่ านอินเทอร์ เน็ต
ที่สาคัญ ถึงขณะนีเ้ ด็กไทยกลายเป็ นกลุ่มคน
ที่ใช้ โปรแกรมนีม้ ากที่สุดในโลกไปแล้ ว
307
การโชว์ ลามกอนาจารผ่ านแคมฟร็อก (ต่ อ)

ข่ าวจากเว็บ “มีเดียไทย (www.mediathai.net)”
เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552
หนังสือพิมพ์ “เดลินิวส์ ” กับทีมงาน “เรื่ องจริงผ่ านจอ”
ได้ รับการร้ องเรี ยนจากประชาชนย่ านถนนรามคาแหง
เกี่ยวกับร้ านอินเทอร์ เน็ตคาเฟ่
ที่ให้ บริการแคมฟร็อกอย่ างเปิ ดเผย
308
การโชว์ ลามกอนาจารผ่ านแคมฟร็อก (ต่ อ)

ร้ านอินเทอร์ เน็ตคาเฟ่ ที่ตกเป็ นข่ าวนี ้
อยู่แถวหน้ ามหาวิทยาลัยเปิ ดชื่อดัง
ให้ บริการอินเทอร์ เน็ตที่มีโปรแกรมแคมฟร็อก
แล้ วให้ ลูกค้ าวัยรุ่ นชายหรื อพวกเกย์
ที่เข้ าไปใช้ บริการสาเร็จความใคร่ ด้วยตัวเอง
หรื อบางรายเข้ าไปเป็ นคู่ชายหญิง
ดูภาพลามกในแคมฟร็อกจนเกิดอารมณ์ เต็มที่แล้ ว
จึงร่ วมรั กกันจนสาเร็จความใคร่
309
การโชว์ ลามกอนาจารผ่ านแคมฟร็อก (ต่ อ)

ร้ านอินเทอร์ เน็ตดังกล่ าวเป็ นตึกแถว 3 คูหา
ภายในร้ านแทนที่จะตัง้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ไว้ ให้ เห็น
เหมือนร้ านอินเทอร์ เน็ตทั่วไป
กลับกัน้ แบ่ งเป็ นห้ องซอยหลายสิบห้ อง
โดยแต่ ละห้ องมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่ อง
สาหรั บเปิ ดโปรแกรมแคมฟร็อกให้ ลูกค้ า
ที่เข้ าไปใช้ บริการดูภาพลามกปลุกอารมณ์
ก่ อนที่จะสาเร็จความใคร่ ด้วยตัวเอง
310
การโชว์ ลามกอนาจารผ่ านแคมฟร็อก (ต่ อ)

ประชาชนที่ร้องเรี ยนยังให้ รายละเอียดเพิ่มเติมว่ า
ร้ านอินเทอร์ เน็ตร้ านนีเ้ ปิ ดให้ บริการมานานแล้ ว
โดยไม่ เคยมีเจ้ าหน้ าที่ท่ เี กี่ยวข้ อง
ทัง้ ของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และเจ้ าหน้ าที่ตารวจท้ องที่
เข้ าไปตรวจตราหรื อกวดขันจับกุมแต่ อย่ างใด
จึงต้ องขอความช่ วยเหลือจากสื่อมวลชน
ให้ ตีแผ่ ความเสื่อมโทรมของสังคมทุกวันนี ้
ให้ ทุกคนได้ รับทราบ
311
12.3.2 การขายบริการทางเพศผ่ านแชตออนไลน์

ข่ าวจากเว็บ “ซีเอ็มไพรซ์ (www.cmprice.com)”
เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550
เจ้ าหน้ าที่ตารวจศูนย์ สวัสดิภาพเด็ก เยาวชน และสตรี
ได้ รับแจ้ งเหตุว่า มีเด็กผู้หญิงหายออกจากบ้ าน
เนื่องจากถูกล่ อลวงหลังจากรู้ จักคนแปลกหน้ า
ในแชตไลน์ 02 จานวน 5 ราย
ซึ่งทัง้ หมดมีอายุเฉลี่ยไม่ เกิน 15 ปี
312
การขายบริการทางเพศผ่ านแชตออนไลน์ (ต่ อ)


จากการสืบสวนพบว่ า
คนร้ ายจะเข้ าไปหาเหยื่อในระบบแชตออนไลน์ 02
โดยใช้ บริการหมายเลข 02-900-9006
หน่ วยงานภาครั ฐที่เกี่ยวข้ องควรเข้ ามาสอดส่ องดูแล
การให้ บริการแชตออนไลน์ 02
เพื่อเร่ งแก้ ไขปั ญหาอย่ างจริงจัง
313
13. สรุ ป

ถึงปี พ.ศ. 2552 สื่อมวลชนและคนอื่นๆ ทัง้ โลก ได้ ใช้
คอมพิวเตอร์ กันมากว่ าร้ อยปี คอมพิวเตอร์ เป็ น
รากฐานของเทคโนโลยีออนไลน์ และเทคโนโลยี
ออนไลน์ ท่ สี าคัญที่สุดก็คือ อินเทอร์ เน็ต ซึ่งมีอายุครบ
40 ปี พอดี ในปี พ.ศ. 2552
314
สรุ ป (ต่ อ)

ความจริงในช่ วง 20 ปี แรกของอายุอินเทอร์ เน็ตนัน้
อนุญาตให้ ใช้ เฉพาะในวงการทหารและการวิจัย
หลังจากนัน้ จึงยอมให้ ใช้ ในทางธุรกิจ ซึ่งวงการธุรกิจก็
เห็นความสาคัญของอินเทอร์ เน็ตขณะที่กล่ าวกันว่ า
“ถ้ าธุรกิจใดไม่ วางแผนจะใช้ อินเทอร์ เน็ต ธุรกิจนัน้ ก็
วางแผนจะเลิกทาธุรกิจ” ยิ่งกว่ านัน้ เด็กอเมริ กันและ
คาเนเดียนกว่ าครึ่ง กล่ าวว่ า “ถ้ าไม่ มีอินเทอร์ เน็ตให้ ใช้
ชีวิตนีก้ ไ็ ม่ มีความหมาย ตายเสียดีกว่ า”
315
สรุ ป (ต่ อ)

อินเทอร์ เน็ตมีของแปลก ๆ ใหม่ ๆ เกิดขึน้ ตลอดเวลา
โดยในปี พ.ศ. 2552 นี ้ ของที่ยังค่ อนข้ างใหม่ แล้ วคนใช้
กันมากก็คือ เครื อข่ ายสังคม ที่ใครไม่ ใช้ กค็ งถูก
กล่ าวหาว่ าเป็ นเต่ าล้ านปี
316
สรุ ป (ต่ อ)

สื่อมวลชนและทุกคนที่สนใจโลกออนไลน์ ควรจะศึกษา
หาความรู้ เรื่ องโลกออนไลน์ เพื่อนาไปใช้ ให้ เป็ น
ประโยชน์ แก่ ตนเอง หมู่คณะ และประเทศชาติ
317