Enterprise Decision Support System : EDSS

Download Report

Transcript Enterprise Decision Support System : EDSS

บทที่ 3
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจระดับองค์ กร
(Enterprise Decision Support System : EDSS)
Free Powerpoint
Templates
Dr. Chattrakul
Sombattheera
Page 1
3.1 ความหมายของ EDSS
DSS เป็ นระบบสารสนเทศชนิดหนึ่ง ที่ต้องใช้ คอมพิวเตอร์ คอยช่ วยเหลือ และ
ให้ การสนับสนุน สามารถจัดการกับปัญหากึง่ โครงสร้ าง (Semistructured) ได้
อย่ างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่งระบบ DSS สนับสนุนการตัดสิ นใจของผู้บริหารหรือ
พนักงานทีป่ ฏิบัตหิ น้ าที่เกีย่ วข้ องกับการตัดสิ นใจ เท่ านั้น ไม้ ได้ ใช้ แทนการ
ทางานของมนุษย์
Free Powerpoint Templates
Page 2
3.1 ความหมายของ EDSS (ต่ อ)
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสู ง (Executive Information
System : EIS) หมายถึง ระบบสารสนเทศที่มีพ้นื ฐานการทางานด้วย
คอมพิวเตอร์ ที่ช่วยให้ผบู ้ ริ หารระดับสู งสามารถเข้าถึง รวบรวม วิเคราะห์ และ
ประมวลผลสารสนเทศ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรตามต้องการได้อย่าง
สะดวก ทั้งนี้ เพื่อนาสารสนเทศดังกล่าวมาใช้ในการบริ หารงานที่รับผิดชอบ
เช่น การกาหนดนโยบาย การวางแผน และการจัดตั้งงบประมาณ เป็ นต้น
เมื่อนาระบบ EIS เข้ามาใช้งานในองค์กร และมีการเพิ่มเติม
ความสามารถให้กบั ระบบ เช่น การประสานเข้ากับระบบเครื อข่าย เพื่อให้
สามารถติดต่อหรื อเข้าถึงข้อมูลจากอินเตอร์ เน็ต ใช้สนับสนุนการตัดสิ นใจ เป็ น
ต้น ความสามารถที่เพิม่ เติมเข้ามาทาให้ระบบ EIS lสนับสนุนการทางานของ
ผูบ้ ริ หารระดับสู ง จึงเรี ยกว่า “ระบบสนับสนุนการทางานของผูบ้ ริ หาร
ระดับสูง (Executive SupportFree
System)”
Powerpoint Templates
Page 3
3.1 ความหมายของ EDSS (ต่ อ)
ระบบสารสนเทศการทางานของผู้บริหารระดับสู ง (Executive
Support System : ESS) หมายถึง ระบบ EIS ที่มีการเพิ่มเติมความสามารถมาก
ขึ้นกว่าระบบ EIS ธรรมดา เพื่อทาให้ผบู้ ริ หารระดับสู งสามารถทางานได้อย่าง
สะดวก เช่น สามารถใช้อินเตอร์ เน็ตเพื่อค้นหาสารสนเทศได้ สามารถประชุม
ทางไกล หรื อการมีระบบสานักงานอัตโนมัติรวมอยูด่ ว้ ย เป็ นต้น
และเมื่อองค์กรมีท้ งั ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสิ นใจ ระบบ
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการทางานในระดับปฏิบตั ิการ ที่เรี ยกว่า ระบบ
สานักงานอัตโนมัติ ตลอดจนระบบสนับสนุนผูบ้ ริ หารระดับสู งรวมอยูภ่ ายใน
องค์กรเดียวกัน โดยมีการประสานระบบดังกล่าวให้สามารถเชื่อมโยงการ
ทางานถึงกันได้ และมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้สารสนเทศทั้งหมดร่ วมกันภายใน
องค์กร เรี ยกว่า “ระบบสารสนเทศระดับองค์กร (Enterprise Information
System : EIS)”
Free Powerpoint Templates
Page 4
3.1 ความหมายของ EDSS (ต่ อ)
ระบบสารสนเทศระดับองค์ กร (Enterprise Information System: EIS) หมายถึง
ระบบสนับสนุนการใช้สารสนเทศร่ วมกันทั้งองค์กรตามความต้องการในแต่ละส่ วนงาน ซึ่ง
หมายความว่าผูใ้ ช้ระบบมีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับปฏิบตั ิการจนถึงระดับสู ง นอกจากนี้ยงั
สามารถทางานร่ วมกับองค์กรอื่น ๆ ได้อีกด้วย ระบบ EIS จัดว่าเป็ นส่ วนสาคัญของระบบ
Enterprise Resource Planning (ERP)
ระบบสนับสนุนการทางานองค์ กร (Enterprise Support System: ESS) หมายถึง
ระบบที่ช่วยสนับสนุนการตัดสิ นใจระดับบุคคล กลุ่ม และองค์กร โดยมีระบบ Enterprise
Information System เป็ นส่ วนประกอบในการจัดการสารสนเทศ และมีระบบ Decision
Support System เพื่อช่วยเหลือในการวางแผนงานต่าง ๆ ในบางครั้งระบบ ESS นี้จะใช้
ประโยชน์จากคลังข้อมูลขององค์กร (Data Warehouse) ซึ่ งจะทาให้การจัดเก็บและการเข้าถึง
ข้อมูลสะดวก รวดเร็ว มากขึ้น จึงเรี ยกว่า “ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจระดับองค์กร
(Enterprise Decision Support System: EDSS)”
Free Powerpoint Templates
Page 5
3.2 ประโยชน์ ของระบบ EIS
หน้าที่ที่ชดั เจนของผูบ้ ริ หาร คือ “ทาการตัดสิ นใจ” (Make Decision) เพื่อ
ดาเนินงานในด้านต่าง ๆ ดังนั้นสารสนเทศจึงเป็ นสิ่ งสาคัญสาหรับผูบ้ ริ หาร เพื่อการตัดสิ นใจ
ที่ถูกต้องแม่นยาในการแก้ไขปั ญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างทันการ
จากรู ปที่ 3.1 จะแสดงให้เห็นถึงกระบวนการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร ซึ่ งเริ่ มจาก
สารสนเทศทั้งภายในและภายนอกองค์กรเข้าสู่ระบบการตัดสิ นใจ โดยจะมีการตรวจสอบ
สารสนเทศที่ได้รับ เพื่อจาแนกออกเป็ นกลุ่มหรื อเป็ นหมวดหมู่ตามลักษณะของสารสนเทศ
ด้วยการวิเคราะห์เชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพ จากนั้น จะตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้จากการ
วิเคราะห์ท้งั 2 ด้าน มีโอกาสในการแก้ไขปั ญหาหรื อไม่ หากมีโอกาสจะส่ งเข้าสู่ กระบวนการ
ตัดสิ นใจแก้ปัญหา แต่ในกรณี ที่สารสนเทศนั้นไม่มีเหมะสมกับการแก้ไขปัญหา ก็จะถูก
กลับไปตรวจสอบใหม่อีกครั้ง
Free Powerpoint Templates
Page 6
3.2 ประโยชน์ ของระบบ EIS (ต่ อ)
สารสนเทศภายนอก
สารสนเทศภายใน
ตรวจสอบสารสนเทศ
ประเมินและจาแนก
สารสนเทศ
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
ไม่ใช่
EIS
DSS
สารสนเทศภายนอก
การวิเคราะห์เชิงปริ มาณ
สารสนเทศเหล่านั้นมีโอกาส
ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
หรื อไม่
ส่ งเข้าสู่ ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ใช่
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
Free Powerpoint Templates
Page 7
รู ปที่ 3.1 แสดงการเคลื่อนที่ของสารสนเทศเข้าสู่กระบวนการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร
3.2 ประโยชน์ ของระบบ EIS (ต่ อ)
จากรู ปที่ 3.1 จะเห็นว่า มีการแบ่งส่ วนกระบวนการตัดสิ นใจ เริ่ มจากส่ วนบนของ
แผนภาพที่มีการไหลของสารสนเทศเข้าสู่กระบวนการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร ส่ วนนี้เองหาก
มีการนาระบบ EIS เข้ามาเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการตรวจสอบสารสนเทศต่างๆ ก่อนส่ งเข้าสู่
กระบวนการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร จะทาให้สารสนเทศที่ได้มีความถูกต้องและมีประโยชน์
ต่อการตัดสิ นใจเป็ นอย่างมาก ส่ งให้การตัดสิ นใจแก้ไขปัญหาของผูบ้ ริ หารมีความถูกต้อง
แม่นยา และมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น โดยส่ วนของการตัดสิ นใจนั้น ผูบ้ ริ หารจะมีเครื่ องมือ
สาคัญที่คอยสนับสนุนการตัดสิ นใจ คือ “ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Decision Support
System: DSS)”
ดังนั้น หากผูบ้ ริ หารมีระบบ EIS เพื่อรองรับกับความต้องการสารสนเทศที่มีความ
ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และตรงกับปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่ งมีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา จะสามารถ
ยกระดับความสามารถของการสื บค้นและตรวจสอบสารสนเทศก่อนเข้าสู่ระบบสนับสนุน
การตัดสิ นใจ เพื่อการแก้ปัญหาต่อไป
Free Powerpoint Templates
Page 8
3.3 คุณลักษณะและความสามารถของ EIS
ตารางแสดงคุณลักษณะและความสามารถของระบบ EIS ทัว่ ไป
คุณภาพของสารสนเทศ
มีความยืดหยุน่ สู ง
เป็ นสารสนเทศที่มีความสมบูรณ์
เป็ นสารสนเทศที่มีความทันสมัย
เชื่อมโยงข้อมูลส่ วนต่าง ๆ เข้าด้วยกันได้
เป็ นสารสนเทศที่เชื่อถือได้
เป็ นสารสนเทศทีสามารถตรวจสอบได้
ความสะดวกของผู้ใช้
ใช้งานง่ายเนื่องจากแสดงผลในรู ปแบบเว็บเพจ
ใช้งานร่ วมกับฮาร์ ดแวร์ ได้หลายรู ปแบบ
แสดงผลในรู ปแบบ GUI ได้ดี
มีระบบรักษาความปลอดภัยและควบคุมการเข้าใช้
เชื่อมโยงกับ Internet ได้
มีระบบแนะนาการใช้งาน
ความสามารถทางเทคนิค
เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ทวั่ โลก
สื บข้อมูลเก่าและปั จจุบนั ได้พร้อมกัน
เข้าถึงข้อมูลภายในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้
ใช้พยากรณ์ขอ้ มูลได้
เรี ยกใช้ขอ้ มูลจากภายนอกได้
บ่งชี้ปัญหาและสาเหตุของปั ญหาได้
เขียนคาอธิบายข้อมูลได้
มีระบบวิเคราะห์แบบ Ad hoc
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ
เพิ่มประสิ ทธิ ภาพของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ เข้าถึงข้อมูลได้สะดวก
ประหยัดเวลา
ทาให้วางแผนงานได้ง่ายและมีประสิ ทธิภาพ
Free Powerpoint Templates
เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการสื่ อสารข้อมูล
ช่วยค้นหาปั ญหาและทางแก้ไข
Page 9
3.4 ความแตกต่ างและการทางานร่ วมกันระหว่ าง EIS และ DSS
ตารางเปรี ยบเทียบคุณลักษณะระหว่างระบบ DSS และ EIS
DSS
อ้างอิง
EIS
ส่ วนประกอบของ DSS ช่วยให้สามารถแก้ไข Bonczek et al. (1980)
และค้นหาปัญหาที่เกิดกับระบบย่อยได้
ไม่สามารถแก้ไข หรื อคาดการณ์ปัญหาที่
เกิดในระบบย่อยได้
การพัฒนาระบบ DSS จาเป็ นต้องผ่าน
กระบวนการ Adaptive
Keen (1980)
EIS ไม่จาเป็ นต้องใช้กระบวนการ
Adaptive ในการพัฒนา
มีแบบจาลองเป็ นส่ วนประกอบของระบบ
Little (1970)
EIS ไม่มีแบบจาลองเป็ นส่ วนประกอบ
ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและแบบจาลอง
Scott Morton (1971)
ไม่ใช้ประโยชน์จากแบบจาลอง
Free Powerpoint Templates
Page 10
3.4 ความแตกต่ างและการทางานร่ วมกันระหว่ าง EIS และ DSS (ต่ อ)
ตารางเปรี ยบเทียบความสามารถของระบบ DSS และ EIS ในมุมมองอื่น ๆ
มุมมอง
EIS
DSS
ประโยชน์ที่มุ่งเน้น
การขุดเจาะข้อมูลและสารสนเทศ
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อการตัดสิ นใจ
กลุ่มผูใ้ ช้
ผูบ้ ริ หารระดับสู ง
นักวิเคราะห์และออกแบบระบบผูจ้ ดั การ
การสนับสนุนการตัดสิ นใจ
สนับสนุนการตัดสิ นใจทางอ้อมใน
ระดับสู งและการตัดสิ นใจแบบไม่มี
โครงสร้าง
สนับสนุนการตัดสิ นใจทุกรู ปแบบโดยตรง
ชนิดของสารสนเทศที่ใช้
สารสนเทศทัว่ ไป เช่น ข่าว ข้อมูลภายใน
ภายนอกองค์กร ข้อมูลลูกค้า ตารางเวลา
เป็ นต้น
สารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่เกิดขึ้น
การทางานเบื้องต้น
ติดตาม ควบคุมการทางาน วางแผนและ
กาหนดทิศทางและโอกาสในการเกิด
ปัญหา
วางแผน จัดการองค์กร บุคลากร และควบคุม
Graphics
มีรูปแบบเป็ น Graphic ในทุกส่ วน
มีรูปแบบเป็ น Graphic ในบางส่ วน
การใช้งาน
ใช้งานง่าย
ใช้งานง่ายเมื่อไม่มีการทางานร่ วมกับระบบอื่น
ระบบจัดการสารสนเทศ
มีระบบกรอง ตรวจสอบ ติดตาม และ
เปรี ยบเทียบข้อมูล
จากปัญหาที่คน้ พบด้วย EIS นามาค้นหาแนว
ทางแก้ไขด้วย DSS
แบบจาลอง
จัดเป็ นเพียงส่ วนประกอบที่จะมีการติดตั้ง เป็ นส่ วนประกอบหลักของ DSS ที่จะต้องมี
เมื่อผูใ้ ช้ตอ้ งการ
การพัฒนาระบบ
พัฒนาโดยบริ ษทั ผูผ้ ลิต หรื อ ผูเ้ ชี่ยวชาญ
เกี่ยวกับ Information System
พัฒนาโดยผูใ้ ช้ทวั่ ไป หรื อ ส่ วนงานที่รับผิดชอบ
เกี่ยวกับ IS
Free Powerpoint Templates
Page 11
3.4 ความแตกต่ างและการทางานร่ วมกันระหว่ าง EIS และ DSS (ต่ อ)
ตารางเปรี ยบเทียบความสามารถของระบบ DSS และ EIS ในมุมมองอื่น ๆ
มุมมอง
EIS
DSS
อุปกรณ์ประกอบ
Mainframe , Workstation , LAN
Mainframe , Workstation , LAN , PC
ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์
ต้องเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลต่างชนิดได้ ต้องสามารถจาลองแบบสถานการณ์ปัญหาต่าง ๆ ได้
ง่ายมีการเข้าถึงแบบออนไลน์ มีระบบ
เป็ นอย่างดี มีฟังก์ชนั ที่สามารถสร้างแบบจาลองเองได้
จัดการฐานข้อมูลที่มีประสิ ทธิภาพสู ง
จากตารางเปรี ยบเทียบระหว่าง EIS และ DSS ทั้ง 2 ตาราง อาจกล่าวโดยสรุ ปได้วา่ EIS
ช่วยสนับสนุนการทางานของผูบ้ ริ หารโดยเน้นด้านการสื บค้น ตรวจสอบ และกรองสารสนเทศ
ทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร เพื่อกาหนดปั ญหาที่เกิดขึ้น ส่ งผลให้มีการกาหนดนโยบายหรื อกลยุทธ์
ในการดาเนินงานต่าง ๆ ตามมา โดยในระดับปฏิบตั ิการตามกลยุทธ์หรื อนโยบายนั้น อาจจะมีการนา DSS
เข้ามามีส่วนช่วยในการวิเคราะห์หาแนวทางต่าง ๆ ที่ตอ้ งการได้
Free Powerpoint Templates
Page 12
3.4 ความแตกต่ างและการทางานร่ วมกันระหว่ าง EIS และ DSS (ต่ อ)
•
การทางานร่ วมกันระหว่ าง EIS และ DSS
การรายละเอียดของ DSS และ EIS ที่แสดงในตารางข้างต้น ถึงแม้วา่ EIS และ
DSS จะมีความแตกต่างกันหลายประการ แต่สาหรับบางองค์กรแล้ว จะเลือกใช้งาน
เพียงระบบใดระบบหนึ่งเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ทั้ง 2 ระบบก็นบั ได้วา่ เป็ นหัวใจสาคัญ
ของระบบธุรกิจขององค์กร หากมีการนาระบบทั้ง 2 มาใช้งานร่ วมกันจะช่วยเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพมนการทางานทั้งหมดขององค์กร ด้วยวิธีที่ง่ายที่สุด คือ การใช้ผลที่ได้รับ
จาก EIS เป็ นวัตถุดิบของ DSS ตัวอย่างเช่น ในการเพิ่มข้อมูลค่าทางการตลาด ซึ่งเป็ น
ปัญหาในส่ วนของการตลาด องค์กรจะใช้ EIS ในการสื บค้นค้น ตรวจสอบและกรอง
สารสนเทศเพื่อกาหนดปัญหาที่มีความเป็ นไปได้ที่เกิดขึ้น จากนั้นจึงนาปัญหาที่เป็ นไป
ได้ดงั กล่าว เป็ นหลักเกณฑ์ในการเลือกใช้แบบจาลองของ DSS ในการจัดการกับปัญหา
เหล่านี้ หลังจากได้คาตอบจากการใช้ระบบ DSS ในการตัดสิ นใจแก้ไขปั ญหาแล้ว
ข้อมูลดังกล่าว สามารถส่ งกลับเข้าสู่ระบบ EIS ได้อีกครั้ง เพื่อวางแผนจัดการใน
อนาคตต่อไป
Free Powerpoint Templates
Page 13
3.4 ความแตกต่ างและการทางานร่ วมกันระหว่ าง EIS และ DSS (ต่ อ)
•
การทางานร่ วมกันของ EIS และ GDSS
จากรู ปที่ 8.1 แสดงการเคลื่อนที่ของสารสนเทศเข้าสู่ กระบวนการตัดสิ นใจของ
ผูบ้ ริ หารนั้น จะพบว่า EIS จะมีบทบาทต่อการวิเคราะห์ขอ้ มูลและสารสนเทศใน
ช่วงแรก ทั้งนี้ เพื่อช่วยให้ผบู้ ริ หารได้รับสารสนเทศที่มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ และมี
ความสัมพันธ์กบั ปัญหาที่เกิดขึ้นให้ได้มากที่สุด ก่อนที่จะเข้าสู่ การวิเคราะห์หาแนวทาง
ในการตัดสิ นใจแก้ไขปัญหาในส่ วนหลัง โดยอาศัยระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ DSS
ที่อาจทาการตัดสิ นใจแบบกลุ่มได้ดว้ ยระบบ GDSS (Group Decision Support System)
ดังนั้น ในกรณี ที่มีการตัดสิ นใจแบบกลุ่ม EIS ที่ใช้ในการสนับสนุนการวิเคราะห์
สารสนเทศของผูบ้ ริ หาร จะต้องสามารถทางานร่ วมกับ GDSS ได้ ซึ่งในปัจจุบนั ได้มี
ผูพ้ ฒั นา EIS ให้สามารถ Integrate เข้ากับ GDSS ได้ เช่น IMRS , Domino เป็ นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 14
3.5 ความสั มพันธ์ ระหว่ าง EIS, Data Access, Data Warehouse และ OLAP
ระบบคลังข้อมูล (Data Warehouse) ที่เกี่ยวข้องกับการทางานขององค์กรทาง
ธุรกิจ รวมทั้งการเข้าถึงข้อมูล (Data Access) ขององค์กร จนกระทัง่ ได้มีการออกแบบ
และพัฒนาระบบ EIS สาหรับจัดการฐานข้อมูลหลากรู ปแบบขึ้นมา ทาให้การเข้าข้อมูล
จากระบบคลังข้อมูล และระบบการจัดการฐานข้อมูลต้องเพิ่มประสิ ทธิภาพในการ
จัดเตรี ยมข้อมูลและสารสนเทศ ทั้งนี้กเ็ พื่อใช้เป็ นแหล่งข้อมูลให้กบั ระบบ EIS เพื่อเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพในการสนับสนุนการทางานของผูบ้ ริ หารและส่ วนงานทั้งหมดในองค์กร
ในช่วงกลางทศวรรษ 1990 นักวิจยั และพัฒนาได้พยายามค้นคว้าหาวิธีการ
แสดงผลข้อมูล (Data Visualization) และการสื บค้นข้อมูลในลักษณะสื่ อประสม
(Hypermedia) ให้มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น ทั้งนี้ เพื่อช่วยให้การสื บค้นสารสนเทศของ
EIS มีประสิ ทธิภาพมากขึ้นตามไปด้วย โดยการทาให้ EIS สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับ
เครื อข่ายอินเตอร์ผา่ นเว็บบราวเซอร์ได้ ดังนั้น ผูผ้ ลิตชุดซอฟต์แวร์ระบบ EIS จึงได้รวม
หน้าที่การติดต่อกับเครื อข่ายอินเตอร์เน็ตที่เรี ยกว่า “Web Ready” เตรี ยมไว้ในชุด
ซอฟต์แวร์ EIS สาหรับผูบ้ ริ หาร เพื่อให้สามารถใช้งานได้ทนั ที เช่น Lotus Note
เป็ นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 15
3.5 ความสั มพันธ์ ระหว่ าง EIS, Data Access, Data Warehouse และ OLAP (ต่ อ)
เมื่อเทคโนโลยีในการเข้าถึงและสื บค้นข้อมูลได้รับการพัฒนาประสิ ทธิภาพมาก
ยิง่ ขึ้น ส่ งผลให้มีการพัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์และแสดงผลข้อมูลตามมา
เพื่อความสอดคล้องกับประสิ ทธิภาพของการสื บค้นข้อมูล โดยได้มีการพัฒนา
เครื่ องมือวิเคราะห์ขอ้ มูลหลายมิติ (Multidimensional Analysis) รวมกับเครื่ องมือการ
ประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบออนไลน์ (Online Analytical Processing : OLAP) เพื่อให้
ช่วยผูบ้ ริ หารสามารถแสดงผลข้อมูลได้ท้งั ในรู ปแบบของกราฟและตารางคานวณได้
ตามความต้องการ
Free Powerpoint Templates
Page 16
3.6 Soft Information ภายใน Enterprise System
ในกระบวนการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร นอกจากข้อมูลที่ผา่ นการประมวลผลจน
เป็ นสารสนเทศที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ทนั ที ในความเป็ นจริ งผูบ้ ริ หารยัง
ต้องการสารสนเทศที่เรี ยกว่า “Soft Information” เป็ นอย่างมากอีกด้วย
Soft Information หมายถึง ข้อมูลที่ยงั ไม่ผา่ นการกลัน่ กรอง ประเมินค่า หรื อ
ประมวลผล แต่มีประโยชน์ต่อกระบวนการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารในระบบธุรกิจของ
องค์กร (Enterprise System) หลายด้าน ได้แก่
- ข้อมูลการคาดการณ์หรื อพยากรณ์การตลาด และแนวโน้มของระบบธุรกิจ
- ข้อมูลการวางแผน การตัดสิ นใจ และการประเมินผล
- ข้อมูลรายงานข่าว แนวโน้มอุตสาหกรรม และข้อมูลสารวจภายนอกองค์กร
- ข้อมูลตารางการทางาน และการวางแผน
- ข้อมูลการแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกบุคลากร
จากข้อมูลข้างต้น ข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อกระบวนการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารมาก
ที่สุด คือ ข้อมูลในการคาดการณ์หรื อพยากรณ์ทางการตลาด
Free Powerpoint Templates
Page 17
3.7 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจและระบบธุรกิจขององค์ กร
1.
•
•
ความหมายและประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากห่ วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain)
ความหมายของห่ วงโซ่ อุปทาน
ห่ วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain) หมายถึง การศึกษาถึงการเคลื่อนที่
ของวัตถุดิบ สารสนเทศ และบริ การจากผูจ้ ดั จาหน่าย (Suppliers) ผ่านโรงงานจน
ไปถึงผูบ้ ริ โภคคนสุ ดท้าย นอกจากนี้ ห่วงโซ่อุปทานยังรวมถึงองค์กรและ
กระบวนการในการผลิตและขนส่ งสิ นค้า สารสนเทศ หรื อบริ การไปยังผูบ้ ริ โภค
คนสุ ดท้าย โดยมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการดังกล่าว เช่น การสัง่ ซื้ อ การ
ขนส่ งวัตถุดิบ การวางแผนและการควบคุมการผลิต การพาณิ ชย์และการควบคุม
สิ นค้าคงคลัง ตลอดจนการกระจายและการขนส่ งสิ นค้า เป็ นต้น
ประโยชน์ ของการจัดการห่ วงโซ่ อุปทาน
วัตถุประสงค์ของการจัดการห่วงโซ่อุปทาน คือ การลดความไม่แน่
และความเสี่ ยงในการดาเนินกิจกรรมทั้งหมดของห่วงโซ่อุปทาน ด้วยการควบคุม
ระดับสิ นค้าคงคลัง ระยะเวลาในการผลิต กระบวนการผลิต และการบริ การลูกค้า
ทั้งนี้จะช่วยให้องค์กรได้รับผลกาไรและความได้เปรี ยบคู่แข่งเพิม่ ขึ้น
Free Powerpoint Templates
Page 18
3.7 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจและระบบธุรกิจขององค์ กร (ต่ อ)
2.
องค์ ประกอบของห่ วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain)
2.1
Upstream เป็ นองค์ประกอบส่ วนแรกของห่วงโซ่อุปทาน ซึ่ งมี
รายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุดิบ โดยจะรวมถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุดิบจากผูผ้ ลิตวัตถุดิบ
ลาดับที่ 1 ลาดับที่ 2 เรื่ อยมาเป็ นวัตถุดิบในการผลิตและเข้าสู่ กระบวนการผลิตของ
องค์กรทัว่ ไป
2.2
Internal Supply Chain องค์ประกอบส่ วนนี้จะอยูส่ ่ วนกลางของห่วง
โซ่ เริ่ มตั้งแต่ข้นั ตอนการผลิต หลังจากรับวัตถุดิบจากลูกค้าไปจนถึงการบรรจุหีบห่อ
และการจัดเก็บในคลังสิ นค้า
2.3
Downstream องค์ประกอบส่ วนสุ ดท้ายของห่วงโซ่ ซึ่ งหลังจาก
Internal Supply Chain ได้มีการบรรจุหีบห่อและจัดเก็บคลังสิ นค้าแล้ว ส่ วน
Downstream จะเริ่ มต้นที่ผกู้ ระจายสิ นค้า ผูค้ า้ ปลีก ผูข้ ายตรง จนไปถึงผูบ้ ริ โภคคน
สุ ดท้าย
Free Powerpoint Templates
Page 19
3.7 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจและระบบธุรกิจขององค์ กร (ต่ อ)
Upstream
ผูผ้ ลิตวัตถุดิบ
ลาดับที่ 2
Internal
Downstream
ผูผ้ ลิตวัตถุดิบ
ลาดับที่ 1
ผูผ้ ลิตวัตถุดิบ
ลาดับที่ 2
กระบวนการผลิต
และบรรจุหีบห่อ
ผูผ้ ลิตวัตถุดิบ
ลาดับที่ 1
ผูผ้ ลิตวัตถุดิบ
ลาดับที่ 2
โรงงานกระดาษ
โรงเป่ าแก้ว
โรงงานผลิตขวด
ผูบ้ ริ โภค
ผูผ้ ลิตฉลาก
การบรรจุขวด
อื่น ๆ
ผูค้ า้ ปลีก
ไร่ องุ่น
โรงงานผลิตถังไม้
โรงเลื่อย
สายส่ ง และ
ตัวแทนจาหน่าย
ตัวแทนจาหน่าย
ผูค้ า้ ปลีก
โรงงานผลิตไวน์
Free Powerpoint Templates
รู ปที่ 3.2 แสดงองค์ประกอบและตัวอย่างของ Supply Chain
ผูบ้ ริ โภค
Page 20
3.7 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจและระบบธุรกิจขององค์ กร (ต่ อ)
จากรู ปที่ 3.2 ส่ วนบนของภาพ แสดงองค์ประกอบของห่วงโซ่อุปทาน จาก
Upstream , Internal Supply Chain และ Downstream สาหรับส่ วนล่างของภาพ เป็ น
ตัวอย่างของห่วงโซ่อุปทานระบบการผลิตไวน์ ซึ่งเริ่ มตั้งแต่ผผู้ ลิตวัตถุดิบลาดับซ้ายมือ
สุ ด คือ โรงเลื่อย และโรงเป่ าแก้ว ที่ผผู้ ลิตลาดับต่อมาจะต้องอาศัยไม้และแก้วจากทั้ง
สองโรงงาน เพื่อนามาผลิตถังไม้และขวดแก้วบรรจุไวน์ จากนั้นจะไปถึงผูผ้ ลิตลาดับที
ใกล้กบั ระบบการผลิตมากที่สุด นัน่ คือ ผูผ้ ลิตฉลากติดไวน์ จากนั้นจึงส่ งถังไม้และขวด
ไวน์เข้าสู่กระบวนการผลิตไวน์ในช่วงของ Internal Supply Chain เพื่อนาไวน์บรรจุ
ขวด และสุ ดท้ายที่ Downstream ตัวแทนจาหน่ายรับไวน์จากระบบการผลิตเพื่อกระจาย
สิ นค้าไปสู่ผบู้ ริ โภคต่อไป
Free Powerpoint Templates
Page 21
3.7 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจและระบบธุรกิจขององค์ กร (ต่ อ)
3.
ห่ วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain) และห่ วงโซ่ แห่ งคุณค่ า (Value Chain)
แนวคิดของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) มีความเกี่ยวข้องกับแนวคิดของห่วง
โซ่แห่งคุณค่า (Value Chain) และระบบคุณค่า (Value System) โดยแนวคิดของ Value
Chain และ Value System จะกล่าวถึงการทางานขององค์กรทางธุรกิจ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น
2 ส่ วน คือ ส่ วนปฏิบตั ิงานหรื อส่ วนกิจกรรมปฐมภูมิ (Primary Activities) และส่ วน
สนับสนุน (Support Activities) โดยในส่ วนปฏิบตั ิงานประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่
1.) การนาเข้าวัตถุดิบ
2.) การผลิตและทดสอบผลิตภัณฑ์
3.) การจัดเก็บ
4.) การจัดจาหน่าย
5.) การบริ การ
ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ มีการเชื่อมโยงกัน โดยผลผลิตของหน่วยผลิตแรกจะกลายเป็ น
วัตถุดิบของหน่วยที่สอง และคุณค่าของสิ นค้าจะเพิ่มขึ้นทุกครั้งในทุกกิจกรรม
Free Powerpoint Templates
Page 22
3.7 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจและระบบธุรกิจขององค์ กร (ต่ อ)
4.
การตัดสิ นใจและห่ วงโซ่ อุปทาน
การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ในห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) เป็ นสิ่ งสาคัญและ
มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารองค์กรเป็ นอย่างมาก รวมทั้งมีผลต่อการดาเนิน
ผลกาไร เช่น ในกิจกรรมแรกของห่วงโซ่อุปทาน ผูบ้ ริ หารจะต้องทาการพิจารณา
ตัดสิ นใจนาเข้าวัตถุดิบในเวลา สถานที่ และจานวนที่เหมาะสมกับการผลิต ซึ่งมี
ทางเลือกหลายวิธี เป็ นต้น
การนาซอฟต์แวร์ในการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) มา
สนับสนุนการดาเนินงาน จะช่วยในการตัดสิ นใจเกี่ยวกับธุรกิจได้ท้ งั ส่ วนปฏิบตั ิการ
(Primary Activities) และสนับสนุน (Support Activities) โดยภายในซอฟต์แวร์ชนิดนี้
ประกอบด้วย แบบจาลองปั ญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตเพื่อหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
การกาหนดแผนการดาเนินงาน การจัดการคลังสิ นค้าและจัดการทรัพยากร เป็ นต้น
แบบจาลองเหล่านี้ สามารถบ่งบอกผลกาไรที่จะได้รับและวิเคราะห์เกี่ยวกับการเพิ่ม
มูลค่าของผลผลิตได้ ดังนั้นซอฟต์แวร์เพื่อการตัดสิ นใจในการจัดการห่วงโซ่อุปทานจึง
เป็ นเครื่ องมือที่เหมาะสมกับFree
การตัดPowerpoint
สิ นใจทางธุรกิจTemplates
เป็ นอย่างมาก
Page 23
3.7 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจและระบบธุรกิจขององค์ กร (ต่ อ)
5.
ปัญหาการทางานของห่ วงโซ่ อุปทาน
-ปัญหาภาพรวมที่ใช้ในการวางแผนห่วงโซ่อุปทานไม่ใช่ภาพรวมที่แท้จริ ง
-โครงสร้างของห่วงโซ่อุปทานขาดองค์ประกอบบางส่ วน
ซึ่งปั ญหารทั้ง 2 ลักษณะ โดยส่ วนใหญ่จะเกิดกับห่วงโซ่อุปทานที่มีความยาวและ
ซับซ้อนมาก โดยมีสาเหตุจากความไม่แน่นอนและความต้องการในการเชื่อมโยง
กิจกรรมทางธุรกิจหลายส่ วนทั้งภายในและภายนอกองค์กร อาจสื บเนื่องมาจากการ
คาดการณ์ความต้องการที่ผดิ พลาด ซึ่ งเป็ นผลมาจากสิ่ งแวดล้อมและสภาพเศรษฐกิจใน
คณะนั้น บางครั้งความไม่แน่นอนของห่วงโซ่อุปทานอาจเป็ นผลมาจากการควบคุมเวลา
ที่ไม่มีประสิ ทธิภาพ ทาให้ใช้เวลาในการขนส่ งสิ นค้าหรื อวัตถุดิบล่าช้ากว่ากาหนด
Free Powerpoint Templates
Page 24
3.7 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจและระบบธุรกิจขององค์ กร (ต่ อ)
6.
แนวทางแก้ ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ กับห่ วงโซ่ อุปทาน
วิธีการที่ง่ายต่อการแก้ปัญหา คือ การควบคุมการผลิตโดยรวม
ตัวอย่างวิธีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการห่วงโซ่อุปทานแบบอื่น ๆ มีดงั นี้
- ใช้แหล่งทรัพยากรภายนอกแทนการผลิตเองในช่วงที่มีความต้องการสิ นค้าสูง
- ตัดสิ นใจซื้อแทนการผลิตเอง สาหรับชิ้นส่ วนบางชนิดที่เหมาะสม
- ปรับแผนการส่ งสิ นค้าที่ทาให้องค์กรได้รับผลประโยชน์มากที่สุด
- ควบคุมการจัดการซื้อให้เร็วที่สุดด้วยการใช้กลยุทธ์ JIT (Just-in-Time)
- วางแผนกลยุทธ์เชื่อมโยงความสัมพันธ์กบั องค์กรผูผ้ ลิตที่เกี่ยวข้อง
- ลดระยะเวลาในการรอวัตถุดิบเนื่องจากการสางซื้อ โดยการนาการประมวลผล
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Interchange Data: EDI) หรื อระบบเครื อข่าย
อินทราเน็ตเข้ามาใช้
- การควบคุมจานวนผูผ้ ลิต (Suppliers)
- ทาการผลิตเมื่อมีการสัง่ ซื้อเท่านั้น
Free Powerpoint Templates
Page 25
3.8 MRP, ERP และ SCM
1.
ระบบคอมพิวเตอร์ เพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจระดับองค์ กร
กระบวนการตัดสิ นใจในทางธุรกิจสามารถกาหนดทิศทางทางขององค์กรได้ แต่
การตัดสิ นใจในแต่ละครั้งจะมีปัจจัยจานวนมากที่เกี่ยวข้อง และปัจจัยดังกล่าวล้วนทา
ให้การตัดสิ นใจในทางธุรกิจมีความเสี่ ยงสู ง ผูบ้ ริ หารทุกระดับพยายามหาวิธีลดความ
เสี่ ยงในกระบวนการตัดสิ นใจ ระบบสารสนเทศที่เรี ยกว่า “ระบบสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจ (Decision Support System: DSS)” จึงถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการสนับสนุน
การตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร อันเนื่องมาจากการเล็งเห็นถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการ
ประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์นนั่ เอง
วิวฒั นาการของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจเริ่ มต้นขึ้นอย่างจริ งจังในช่วงกลาง
ของทศวรรษที่ 1950 จนถึงต้นทศวรรษที่ 1960 โดยมีตน้ กาเนิดจากห่วงโซ่อุปทาน
ในช่วงแรกระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจพัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนห่วงโซ่อุปทานที่ไม่
ค่อยมีความซับซ้อน กล่าวคือ ห่วงโซ่อุปทานในช่วงสั้น ๆ เช่น การจัดการสิ นค้าคงคลัง
ตารางการผลิต และขั้นตอนการชาระเงิน เป็ นต้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อลดต้นทุน
Free Powerpoint Templates
Page 26
3.8 MRP, ERP และ SCM (ต่ อ)
ในช่วงเวลาต่อมาไม่นาน ระบบการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain
Management: SCM) ได้รับการพัฒนาขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 อันสื บเนื่องมาจาก
การได้รับรู้วา่ กิจกรรมต่างๆ ของโซ่อุปทานล้วนมีความสัมพันธ์กนั หรื อกล่าวได้อย่าง
ชัดเจนขึ้นว่า การวางแผนการผลิตมีความสัมพันธ์กบั การจัดการสิ นค้าคงคลังและการ
วางแผนการจัดซื้อโดยตรงนัน่ เอง ประกอบกับระบบจัดการการผลิตสาหรับโรงงาน
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่เริ่ มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น จึงได้พฒั นา “ระบบการวางแผน
ควบคุมความต้องการวัตถุดิบ (Material Requirements Planning: MRP)” ขึ้นเพื่อใช้ใน
การควบคุมการใช้วตั ถุดิบ ผูบ้ ริ หารยุคนั้นใช้งาน MRP และSCM ควบคุมกันไป
ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์นบั ว่าเป็ นประโยชน์อย่างมากในวงการ
อุตสาหกรรม ผูผ้ ลิตและพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์จึงพยายามพัฒนาระบบ MRP
ในรู ปแบบของชุดซอฟต์แวร์สาเร็ จรู ป ให้มีความสามารถมากขึ้น เพื่อตอบสนองการ
ทางานที่มีการเปลี่ยนแปลงทุกวัน
Free Powerpoint Templates
Page 27
3.8 MRP, ERP และ SCM (ต่ อ)
จากวิวฒั นาการดังกล่าว ที่มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ต่างๆ ขึ้นมานั้น มีความหมาย
รวมไปถึงระบบสารสนเทศต่างๆ เข้าด้วยกันเพื่อการดาเนินธุรกิจ ซึ่ งเป็ นจุดเริ่ มต้นของ
ระบบวางแผนการจัดการทรัพยากรในระดับองค์กร (Enterprise Resource Planning:
ERP) ที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อการทางานร่ วมกันระหว่างกิจกรรมต่าง ๆ ในกระบวนการ
ธุรกิจภายในองค์กร และได้พฒั นาเป็ นการจัดการทรัพยากรภายนอกองค์กรอัน
เนื่องมาจากห่วงโซ่อุปทาน และเรี ยกซอฟต์แวร์ดงั กล่าวว่า “ERP/SCM Software”
Free Powerpoint Templates
Page 28
3.8 MRP, ERP และ SCM (ต่ อ)
2.
วิวฒ
ั นาการของระบบ ERP
Enterprise Resource Planning (ERP) เป็ นระบบการวางแผนจัดการทรัพยากร
ภายในองค์กร ไม่วา่ จะเป็ นวัตถุดิบ บุคคล และเวลา รวมไปถึงข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้อง
กับการดาเนินกิจกรรมในระบบธุรกิจ ระบบนี้มีรูปแบบการบริ หารทรัพยากรแบบรวม
หน่าย ซึ่ งมุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรร่ วมกัน ภายใต้ระบบการสื่ อสารข้อมูล และการ
เชื่อมโยงกิจกรรมที่แตกต่างกันเข้าด้วยกัน
ERP ได้รับการพัฒนาในช่วงปลายของทศวรรษที่ 1980 และเริ่ มเข้ามามีบทบาท
ต่อระบบธุรกิจอย่างจริ งจัง ในช่วงต้นของทศวรรษที่ 1990 ในช่วงที่องค์กรธุรกิจมีการ
ปรับโครงสร้างโดยลดขนาดขององค์กรลง ผูป้ ระกอบการธุรกิจ จึงมองหาแนวทางที่จะ
เพิ่มประสิ ทธิภาพในการทางานให้มากขึ้น ด้วยการนาระบบ ERP เข้ามาใช้ในองค์กร
แนวคิดของระบบ ERP คือ การแยกส่ วนงานแต่ ใช้ สารสนเทศร่ วมกัน ซึ่งทาให้
ประหยัดต้นทุนในการดาเนินธุรกิจ และลดความผิดพลาดในการสื่ อสารข้อมูลระหว่าง
หน่วยงานหรื อระหว่างองค์กร วิวฒั นาการโดยละเอียดของ ERP มีดงั รู ป 8.3
Free Powerpoint Templates
Page 29
3.8 MRP, ERP และ SCM (ต่ อ)
Supply Chain
Management(SCM)
Tele Computing
Material Requirement
Planning (MRP)
Fuzzy Logic, Local
Area Networks
1960 ’s
1970 ’s
EIS, ES, GDSS,
Customer Relation
Management (CRM)
Neural Networks, Internet
BI, Data Mining, Data
Warehouse, OLAP
Intelligent Agency
1980 ’s
1990 ’s
Enterprise Resource Planning
Free Powerpoint Templates
รู ปที่ 3.3 แสดงลาดับวิวฒั นาการของ ERP
Page 30
3.8 MRP, ERP และ SCM (ต่ อ)
o ระบบ ERP สาหรับอนาคต
ระบบ ERP ที่อยูใ่ นปัจจุบนั ได้รับการพัฒนาขึ้น เพื่อให้เป็ นเครื่ องมือสาคัญในการจัดการงาน
สานักงาน และช่วยให้องค์กรมีผลกาไรเพิ่มขึ้น ความสามารถดังกล่าวนี้อาจจะไม่เพียงพอสาหรับการ
แข่งขันในอนาคต ระบบ ERP ยุคที่ 2 ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงปลายทศวรรษที่ 1990 โดยมีพ้ืนที่ฐานมาจาก
ระบบ ERP แบบดั้งเดิม นักพัฒนา ERP ยุคที่ 2 ทาการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการทางานของส่วนประกอบ
ที่มีอยูเ่ ดิม เช่น ความสามารถในการร่ วมกับ OLAP และ OLTP หรื อความสามารถในการสร้างรายงาน
เป็ นต้น เครื่ องมือบางชนิดถูกเชื่อมโยงเข้ากับระบบ ERP ยุคที่ 2 ที่ชดั เจนที่สุดคือ ระบบ Advanced
Planning and Scheduling หรื อ APS เครื่ องมือชนิดใหม่น้ ีมีหน้าที่ช่วยจัดการตารางเวลา ตารางการผลิตที่
สร้างผลกาไรสูงสุด และวางแผนการใช้วตั ถุดิบได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งเพิ่มประสิ ทธิภาพของ SCM
ให้สูงขึ้น นอกจากการเชื่อมโยงเครื่ องมือชนิดใหม่เข้ากับระบบ ERP แล้ว ความยืดหยุน่ เป็ น
ความสามารถหนึ่งของระบบ ERP ยุคที่ 2 เช่น ความสามารถในการเชื่อมโยงเข้ากับฐานข้อมูลเชิง
สัมพันธ์หรื อกระดาษคานวณอิเล็กทรอนิกส์ หรื อความสามารถในการสนับสนุนการพาณิ ชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) และการแสดงผลในรู ปแบบเว็บไซต์ เนื่องจากระบบ ERP ยุคที่ 2
ใช้ Application Services Providers (ASP) ในการสร้างระบบแสดงผล
Free Powerpoint Templates
Page 31
3.8 MRP, ERP และ SCM (ต่ อ)
o Corporate Portals และ EIS
หลังจากปี 1995 เทคโนโลยีเว็บไซต์เริ่ มมีอิทธิพลต่อเครื อข่ายขององค์ธุรกิจมาก
ขึ้น ระบบ EIS และระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจที่มีอยูเ่ ดิมนั้น ถูกแทนที่ดว้ ยระบบ
ใหม่ ซึ่ งสามารถทางานในรู ปแบบเว็บไซต์ใด ๆ ได้ หรื อที่รู้จกั กันในนาม Corporation
Enterprise Portals ระบบนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นในช่วงปี 1999 โดยจัดให้เป็ น
ส่ วนประกอบของ OLAP, DSS Business Intelligence(BI) ระบบนี้จะทาการเชื่อม
ระบบงานภายใน เช่น ฐานข้อมูล ระบบจัดการเอกสาร หรื ออีเมล์เข้ากับระบบงาน
ภายนอก เช่น บริ การด้านข่าวสาร หรื อเว็บไซต์ ซึ่ งกาหนดให้เป็ นแหล่งข้อมูล โดย
ทางานในรู ปแบบของเว็บไซต์และเว็บแอปพลิเคชัน่ ดังนั้น ผูบ้ ริ หารที่มีการใช้ระบบ
EIS อยูแ่ ล้ว จะสามารถเพิ่มประสิ ทธิภาพในการสื บค้น วิเคราะห์ และกรองสารสนเทศ
เพื่อใช้ในการตัดสิ นใจแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการดาเนินธุรกิจได้ อีกทั้งผูบ้ ริ หารจะมี
แหล่งข้อมูลภายนอกที่หลากหลาย และเป็ นประโยชน์ต่อการได้เปรี ยบคู่แข่งขัน
Free Powerpoint Templates
Page 32
3.8 MRP, ERP และ SCM (ต่ อ)
ตัวอย่างความสามารถที่หลากหลายของ Corporation Portals ดังนี้
• เทคโนโลยี Groupware เช่น ระบบสัมมนากลุ่ม (Discussion) ห้องสนทนา (Chat
Room) และห้องสมุดเสมือน เป็ นต้น
• ระบบแยกข้ อมูลลูกค้ า ลูกค้าแต่ละรายจะมีการแยกข้อมูลออกจากกันและเก็บ
ข้อมูลของลูกค้ารายนั้นไว้ในกระเป๋ าเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งมีระบบแจ้ง
เตือนในกรณี ที่ขอ้ มูลมีความเปลี่ยนแปลงถึงระดับหนึ่งที่กาหนดไว้
• ระบบควบคุมข้ อมูล ระบบจัดเก็บข้อมูลของ Portal จะอนุญาตให้เข้าใช้ระบบได้
เฉพาะผูท้ ี่เป็ นสมาชิก หรื อผูท้ ี่ผา่ นการลงทะเบียนเท่านั้น
• ระบบสื บค้ นข้ อมูล ภายใน Portal จะประกอบด้วยระบบสื บค้นข้อมูลอัตโนมัติ
ซึ่งสามารถสื บค้นข้อมูลได้หลายรู ปแบบ เช่น ข้อมูลเต็มรู ปแบบ และดรรชนี เป็ น
ต้น นอกจากนั้นยังจัดทาคาอธิบายสาหรับข้อมูลชุดต่าง ๆ ได้อีกด้วย
• ความสามารถในการแยกชนิดข้ อมูล นอกจากการจัดเก็บข้อมูลได้หลายรู ปแบบ
แล้ว ระบบจัดเก็บข้อมูลของ Portal ยังสามารถแยกชนิดและจัดหมวดหมู่ขอ้ มูล
เหล่านั้น รวมทั้งประมวลผลข้
อมูลที่ต่างชนิดTemplates
กันได้
Free Powerpoint
Page 33
3.9 แนวโน้ มของระบบ EIS และ ESS ในอนาคต




เครื่ องมือสาหรับพัฒนาระบบ จะสามารถดัดแปลงระบบตามต้องการของผูบ้ ริ หารได้
อย่างรวดเร็ว โดยเครื่ องมือดังกล่าวจะสามารถสร้างภาพกราฟิ กเพื่อนาเสนอสารสนเทศ
ได้ อีกทั้งยังสามารถวิเคราะห์ได้วา่ ส่ วนประกอบใดที่จะง่ายต่อการเชื่อมโยงเป็ นระบบ
ได้
ความสามารถในการสนับสนุนมัลติมีเดีย จะได้รับการพัฒนามากขึ้นไม่วา่ จะเป็ นการ
นาเข้าข้อมูลด้วยเสี ยง ด้วยการสัมผัส (Touch Screen) หรื อการแสดงผลได้ท้ งั ข้อความ
ภาพกราฟิ ก สามมิติ หรื อภาพเคลื่อนไหว จนถึงความสามารถในการนาเข้าสารสนเทศ
ในรู ปแบบของไฟล์วดิ ีโอ ไฟล์เสี ยงเพื่อนาไปประมวลผล และยิง่ ไปกว่านั้นแนวโน้ม
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจระดับองค์กร อาจจะมีความสามารถแสดงยอดขายตาม
ภูมิภาคด้วยแผนที่ ที่สามารถใช้ระบบสัมผัสได้
รู ปแบบสามมิติ การแสดงผลสารสนเทศจะอยูใ่ นรู ปแบบสามมิติเพิ่มมากขึ้น ซึ่งทาให้
แสดงสารสนเทศได้หลายมุมมอง
ซอฟต์แวร์ระบบ EIS จะมีลกั ษณะการทางานในรู ปแบบของ Web มากขึ้น
Free Powerpoint Templates
Page 34
3.9 แนวโน้ มของระบบ EIS และ ESS ในอนาคต




จะมีการรวมระบบสานักงานอัตโนมัติเข้ากับระบบวิเคราะห์ขอ้ มูลอยูภ่ ายในระบบ EIS
ซึ่งทาให้ผบู้ ริ หารสามารถใช้งานได้สะดวกขึ้นภายในระบบเดียวกัน เช่น การพิมพ์
จดหมาย สัง่ ทารายงาน การคานวณ เป็ นต้น
วิวฒั นาการของเทคโนโลยีจะมีวตั ถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการตัดสิ นใจแบบกลุ่มมาก
ขึ้น
Global Support System องค์กรมีแนวโน้มสูงที่จะขยายตัว เป็ นสาเหตุให้ระบบ
สนับสนุนการบริ หารงานต่างๆ ต้องพัฒนาตามการขยายตัวขององค์กร องค์กรที่มีการ
ดาเนินธุรกิจทัว่ โลกจะต้องการระบบที่สามารถเชื่อมโยงและสื่ อสารข้อมูลกันได้อย่าง
รวดเร็ว
การทางานภายใต้ระบบ ERP แนวโน้มในอนาคตของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
และระบบสนับสนุนการทางานในระดับองค์กร จะมีการรวมระบบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
และเป็ นส่ วนประกอบของระบบ Enterprise Resource Planning ตัวอย่างของระบบ
ERP เห็นได้จากโปรแกรม SAP ภายในโปรแกรมจะประกอบด้วย DSS, EIS, ESS และ
GDSS เป็ นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 35