วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 54101 Basic

Download Report

Transcript วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 54101 Basic

วิศวกรรมพืน้ ฐานสาหรับงานอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย 54101
Basic Engineering for Occupational
Health and Safety 54101
กันยายน 2553
ณ มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
19
หน่ วยที่ 1, 2, 3, 13, 14
ภูมิมินทร์(นิพล) นามวงศ์
ปริ ญญาตรี
• รป.บ.(รัฐประศาสนศาสตร์ ) มสธ. รุ่นที1่ 7
• บธ.บ.(การจัดการทั่วไป) มสธ. รุ่นที2่ 2
• ป.อป.(อาชีวอนามัยฯ) มสธ. Cert.
• ส.บ. (อาชีวอนามัยฯ) มสธ. รุ่นที2่ 7
ปริ ญญาโท
• รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์ ) สถาบันรัชต์ ภาคย์
*เดิมชื่อ วิทยาลัยรัชต์ภาคย์
ประวัติการทางาน
•
•
•
•
•
•
•
บจก.เอเชีย อินเตอร์ เนชั่นแนล
บจก.เวิร์คแมน คอร์ ปอเรชั่น
กลุ่ม ร.พ.เกษมราษฎร์ (sub-contract)
ร.พ.แม่ นา้ (ร.พ.ปากเกร็ดเวชการเดิม) อ.ปากเกร็ด
บจก.ไซมีสไทร์ (ธุรกิจผลิตยางรถต่ างๆ)
บจก.เคแอลเค อินดัสตรี(ธุรกิจผลิตชิ้นส่ วนยานยนต์ )
สถาบันรัชต์ ภาคย์ *(สถาบันอุดมศึกษา) ๒๕๕๐ –ปัจจุบัน
*ชื่อเดิม วิทยาลัยรัชต์ ภาคย์
หน่ วยที่๑ พืน้ ฐานวิศวกรรมศาสตร์ และอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย
๑.วิศวกรรมศาสตร์ ? ...................
๒.Engineering = .....................
๓.Engineering ? .....................
ศาสตร์ หรือวิชาเกีย่ วกับการนาความรู้ พนื้ ฐานทางคณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ ใช้ พฒ
ั นาหาคาตอบที่ประหยัดและ
เหมาะสมเพือ่ แก้ ปัญหาความต้ องการของมนุษย์
๑-๕
ความเหมือนและความแตกต่ าง
Engineer วิศวกร ประยุกต์ ความรู้ ในการออกแบบ พัฒนา
อุปกรณ์ โครงสร้ าง กระบวนการต่ างๆ (มุ่งทีจ่ ะทางาน)
Scientist นักวิทยาศาสตร์ จะใช้ ความรู้ พนื้ ฐานดังกล่ าวใน
การแสวงหาหรือค้ นหาความรู้ ใหม่ ๆ (ม่ งุ แสวงหาความร้ ู)
Scientist จะสารวจว่ าปรากฏการณ์ ที่เกิดขึน้ นั้นคืออะไร
Engineer จะสร้ างสิ่ งที่ยงั ไม่ เคยมีมาก่ อน
๑-๕
สิ่ งที่เหมือนกัน
Engineer วิศวกร ต้ องความรู้พนื้ ฐานทางด้ าน
คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
Scientist นักวิทยาศาสตร์ ต้ องมีความพืน้ ฐาน
ทางด้ าน คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ (เวกเตอร์ , พีชคณิต, แคลคูลสั )
วิทยาศาสตร์ (ฟิ สิ กส์ , เคมี)
ความสาคัญวิศวกรรมศาสตร์
• คิดค้ นพัฒนาแหล่ งพลังงาน พัฒนาเครื่องจักรอุปกรณ์ อนุรักษ์
พลังงาน
• เทคโนโลยีทางการเกษตร คิดค้ นพัฒนาเพิม่ ผลผลิตทาง
การเกษตร
• พัฒนาโครงสร้ างสิ่ งก่ อสร้ างที่ทนทานต่ อภัยธรรมชาติ
• พัฒนาเทคโนโลยีในการควบคุมมลพิษทางด้ านสิ่ งแวดล้ อม
**มนุษย์ อาศัยวิศวกรรมศาสตร์ เป็ นส่ วนหนึ่งในการดารงชีวิตและอย่ รู อด
ของเผ่ าพันธ์ ุ พัฒนามาตรฐานการครองชีพของมนุษย์ **
๑-๖
วิศวกรรมศาสตร์ สาขาหลัก ๕ สาขา
(อธิบายรายละเอียดวิศวกรรมศาสตร์ สาขาหลักได้ )
• วิศวกรรมโยธา
• วิศวกรรมเครื่องกล
• วิศวกรรมไฟฟ้า
• วิศวกรรมเคมี
• วิศวกรรมอุตสาหการ
๑-๗-๑๓
วิศวกรรมโยธา civil eng (เก่ าแก่ ทสี่ ุ ด)
• สิ่ งก่ อสร้ างต่ างๆ เช่ น บ้ าน อาคาร ถนน โรงงาน
อุตสาหกรรม สะพาน เขือ่ น สนามบิน ท่ าเรือ ฯลฯ
นาย ก. เป็ นเจ้ าของบ้ านไปหาชื่ออุปกรณ์ มาทาทีอ่ ยู่ให้ สุนัขนอนอย่ าง
สบาย? (นักวิทยาศาสตร์ , วิศวกร, วิศวกรรมโยธา)
๑-๗
วิศวกรรมเครื่องกล
mechanical eng
• เกีย่ วข้ องกับเครื่องจักรกลและกระบวนการทางเครื่องกล
เช่ น การผลิตและการเปลีย่ นรู ปพลังงาน การเขียนแบบ
กลศาสตร์ ของไหล กลศาสตร์ ของเครื่องจักรกล
การเปลีย่ นรู ปพลังงาน อุณหพลศาสตร์ ถ่ ายเทความร้ อน
การทาความเย็นการปรับอากาศ การเผาไหม้
การออกแบบเครื่องจักร ระบบควบคุม ฯลฯ
๑-๘
วิศวกรรมไฟฟ้ า electrical eng
• เกีย่ วข้ องกับอุปกรณ์ วงจร และระบบไฟฟ้ า วงจรไฟฟ้า
สนามแม่ เหล็กไฟฟ้ า วิเคราะห์ การทางาน อิเล็กทรอนิคส์
สื่ อสารโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ ระบบควบคุม
อัตโนมัติ การออกแบบระบบต่ างๆ การประยุกต์
เทคโนโลยีด้านวิศวกรรมไฟฟ้ าเพือ่ ใช้ (อุตสาหรรม ธุรกิจ
การแพทย์ การเกษตร) ฯลฯ
๑-๙
วิศวกรรมเคมี chemical eng
• เกีย่ วข้ องกับกระบวนการผลิตต่ างๆ ทางอุตสาหกรรม
เช่ น การเปลีย่ นแปลงส่ วนผสม สถานะทางเคมี ลักษณะ
วัตถุดบิ การควบคุมปฏิกรณ์ เคมีและกระบวนการต่างๆ
การเดินหน่ วยปฏิบัตกิ าร การคานวณดุลมวลและ
พลังงาน ตลอดจนเศรษฐศาสตร์ วิศวกรรม ฯลฯ
๑-๑๐
วิศวกรรมอุตสาหการ industrial eng
• เกีย่ วข้ องกับการดาเนินงานในอุตสาหกรรม การออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ การวางแผน การควบคุม การผลิต เพือ่ ให้
ผลิตภัณฑ์ ทมี่ คี ุณภาพและมีต้นทุนตา่ วัสดุวศิ วกรรม
กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การวางผัง
โรงงาน วิศวกรรมความปลอดภัย วิศวกรรมซ่ อมบารุง
เศรษฐศาสตร์ วิศวกรรม วิจัยและการดาเนินงาน ฯลฯ
๑-๑๑
วิศวกรรมเครื่องกล และ วิศวกรรมอุตสาหการ
แตกต่ างกันอย่ างไร
•
•
•
•
•
•
•
•
ขอบข่ ายการศึกษาเนือ้ หาวิชา (หลักสู ตร)
ความยากง่ ายของเนือ้ หาวิชา
ความต้ องการของตลาดแรงงาน
ความสามารถของคน *
อัตราค่ าตอบแทน
การประกอบธุรกิจของบริษทั นั้นๆ
วิศวกรรมเครื่ องกล ม่ งุ ทีจ่ ะศึกษา.............................
วิศวกรรมอตุ สาหการ ม่ งุ ทีจ่ ะศึกษา...........................
วิศวกรรมศาสตร์ ที่แตกแขนงจากวิศวกรรมโยธา
•
•
•
•
•
•
•
•
วิศวกรรมโครงสร้ าง(โครงสร้ างเหล็ก ไม้ คอนกรีตเสริมเหล็ก)
วิศวกรรมสารวจ(ระบบฉายแผนที่ สารวจงานระนาบ)
วิศวกรรมปฐพี(ดิน หิน แร่ )
วิศวกรรมการขนส่ ง
วิศวกรรมการบริหารการก่ อสร้ าง
วิศวกรรมทรัพยากรนา้
วิศวกรรมชลประทาน**(เขือ่ น ฝาย ) (ระบบสู บนา้ )
วิศวกรรมสิ่ งแวดล้ อม** ระบบการประปา? (ระบบสู บนา้ )
๑-๑๓-๑๔
วิศวกรรมศาสตร์ สาขาอืน่ ๆ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
วิศวกรรมการเกษตร
วิศวกรรมอากาศยาน
วิศวกรรมยานยนต์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมซอฟแวร์
วิศวกรรมอิเล็กทรอนิคส์
วิศวกรรมอาหาร
วิศวกรรมการผลิตอุตสาหกรรม
วิศวกรรมความปลอดภัย
วิศวกรรมวัสดุ
วิศวกรรมเหมืองแร่
๑-๑๔-๑๕
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
•
•
•
•
•
วิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมเหมืองแร่ *
วิศวกรรมไฟฟ้ า
วิศวกรรมเครื่องกล
วิศวกรรมอุตสาหการ
๑-๑๖
วิศวกรรมศาสตร์ สาขาหลัก
•
•
•
•
•
วิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมเคมี*
วิศวกรรมไฟฟ้ า
วิศวกรรมเครื่องกล
วิศวกรรมอุตสาหการ
๑-๑๓
ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแบ่ งเป็ น 4 ระดับ
•
•
•
•
ภาคีวศิ วกร
ภาคีวศิ วกรพิเศษ
สามัญวิศวกร
วุฒิวศิ วกร
๑-๑๖
Occupational Health and Safety
(ความหมาย)
• ศาสตร์ หรือระบบวิชาความรู้ทเี่ กีย่ วข้ องกับการดูแลสุ ขภาพของผู้
ประกอบอาชีพการงานให้ มีสภาวะทีส่ มบูรณ์ ท้งั ทางร่ างกาย จิตใจและ
สามารถดารงชีพอยู่ในสั งคมได้ ด้วยดี รวมทั้งดูแลให้ ผู้ประกอบอาชีพ
การงานให้ มีความปลอดภัยปราศจากภัยคุกคาม อันตราย บาดเจ็บ
สู ญเสี ย รวมถึงความเสี่ ยงต่ างๆ
• องค์ การอนามัยโลก (WHO) Health ว่ าสภาวะทีส่ มบูรณ์ ดีท้งั ทาง
ร่ างกาย(physical health) ทางจิตใจ(mental health)
และสามารถดารงชีพอยู่ในสั งคมได้ ด้วยดี(social well-being)
๑-๑๘
ความสาคัญของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
• ความสาคัญต่ อฝ่ ายลูกจ้ าง
• ความสาคัญต่ อฝ่ ายนายจ้ าง
• ความสาคัญต่ อภาครัฐ
๑-๑๙
พนักงานประสบอุบัตเิ หตุถงึ ขั้นหยุดงาน
ขาดรายได้ , ครอบครัว (ลูกจ้ าง)
ยอดการผลิตลดลง ค่ าสวัสดิการ จ้ างคนมาแทน (นายจ้ าง)
สู ญเสี ยค่ าพืน้ ฟู/ค่ ายา (ภาครัฐ)
ศาสตร์ ที่เกีย่ วข้ องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
• สุ ขศาสตร์ อุตสาหกรรม/อาชีวสุ ขศาสตร์
(Industrial Hygiene or Occupational Hygiene)
• อาชีวนิรภัย(Occupational Safety)
• การยศาสตร์ /จิตวิทยาในการทางาน
(Ergonomics and Work Psychology)
• อาชีวเวชศาสตร์ /เวชศาสตร์ อุตสาหกรรม
(Occupational Medicine or Industrial Medicine)
๑-๒๑-๒๒-๒๓
ศาสตร์ ที่เกีย่ วข้ องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
• สุ ขศาสตร์ อุตสาหกรรม/อาชีวสุ ขศาสตร์ (ตระหนัก ประเมิน
ควบคมุ ฝ่ ุน แสง เสียง)
• อาชีวนิรภัย (ป้ องกันอบุ ัติเหตุ)
• การยศาสตร์ /จิตวิทยาในการทางาน (สรีรวิทยา ร่ างกาย )
• อาชีวเวชศาสตร์ /เวชศาสตร์ อตุ สาหกรรม (แพทย์ พยาบาล
ตรวจวินิจฉัย)
๑-๒๒-๒๓
ความจาเป็ นวิศวกรรมศาสตร์ ในการศึกษาอาชีวอนามัยฯ
♠ การนาความรู้ พนื้ ฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ ไปประยุกต์ ใช้ ฯ
1. พืน
้ ฐานการศึกษาศาสตร์ ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2. วิเคราะห์ ประยุกต์ ใช้ ในงานอาชี วอนามัยและความปลอดภัย
♠♠ ประโยชน์ ในการประสานงานกับวิศวกรสาขาต่ างๆ
1.พิจารณาปรึกษาวิศวกรสาขาต่ างๆ ได้ อย่ างถูกต้ อง
2.สื่ อสารกับวิศวกรสาขาต่ างๆ ได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
๑-๒๖-๒๗
มิต(ิ dimension) ๒ ประเภท
• มิติพนื้ ฐาน(fundamental dimensions) คือกลุ่มมิติที่ง่าย
ในการแปลง หรือกล่าวได้ ว่าเป็ นมิติทมี่ ีหน่ วยเดี่ยวๆ ได้แก่ ความยาว
มวล เวลา กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิ ปริมาณสาร ความเข้ มแสง
• มิติอนุพนั ธ์ (derived dimensions) คือมิติที่เกิดจากมิติ
พืน้ ฐานรวมกัน ตาราบางเล่มจึงเรียกว่ ามิติประกอบ ได้ แก่ พืน้ ที่
ปริมาตร ความเร็ว ความเร่ ง ความหนาแน่ นมวล แรง พลังงาน
๑-๓๒-๓๓
ตัวอุปสรรค (prefix)
เอซะ
เพตะ
เทรา
จิกะ
เมกะ
กิโล
เฮกโต
เดกะ
เดชิ
เซนติ
มิลลิ
E
P
T
G
M
k
h
da
d
c
m
1018
15
10
12
10
9
10
6
10
3
10
2
10
1
10 =10
-1
10
-2
10
-3
10
?
?
๑-๓๘
หน่ วยที่ ๒ แบบพืน้ ฐานทางวิศวกรรมโยธา
• แบบก่ อสร้ าง (construction drawing)
รู ปภาพแสดงขนาด รู ปร่ างและรายละเอียดขององค์
อาคาร โดยมีการกาหนดค่ าระดับและมิตทิ ถี่ ูกต้องและ
ครบถ้ วน เพือ่ ให้ ผ้ ูอ่านแบบมีความเข้ าใจในรายละเอียด
ขององค์ อาคาร และสามารถก่ อสร้ างได้ ตรงตาม
รายละเอียดทีส่ ถาปนิกและวิศวกร ได้ ออกแบบไว้
๒-๕
ที่มาและความจาเป็ นของแบบก่ อสร้ าง
•
•
•
•
•
•
•
•
การออกแบบ
ขออนุญาตปลูกสร้ างและดัดแปลงอาคาร
การเสนอราคาและประมูลงาน
การทาสั ญญาว่ าจ้ าง
การก่ อสร้ างและการตรวจรับงาน
ขั้นตอนการต่ อเติมหรือดัดแปลงอาคาร*
ขั้นตอนการบารุงรักษาอาคาร
ในกรณีฉุกเฉิน
๒-๕,๖,๗
ประเภทของแบบก่อสร้ าง ๓ ประเภท
• 1.แบบสถาปัตยกรรม(architectural drawing) แสดง
•
รู ปลักษณ์ ขนาด ตาแหน่ ง รู ปทรง และรายละเอียดต่ างๆ ของ
อาคาร แบบสถาปัตยกรรมเป็ นหัวใจสาคัญของโครงการก่ อสร้ าง
ทุกประเภท (สถาปนิก)
2.แบบโครงสร้ าง(structural drawing) หรือบางครั้ง
เรียกว่ า แบบวิศวกร แสดงรายละเอียดโครงสร้ างอาคารทีไ่ ด้
รับการออกแบบโดยวิศวกร แบบโดยทั่วไปจะแสดง ฐานราก
เสา คาน พืน้ บันได หลังคาฯลฯ (วิศวกร)
๒-๘,๑๖
แบบสถาปัตยกรรมจะแสดงรายละเอียด
•
•
•
•
•
•
•
•
แบบรู ปด้ านหน้ า(front view)
แบบรู ปด้ านหลัง(back view)
แบบรู ปด้ านข้ าง(side view)
แบบรู ปด้ านบน(top view)
รู ปแบบแปลนหรือผังพืน้
แบบรู ปตัด(section view)
แบบขยาย
ผังทีต่ ้งั โครงการและผังบริเวณ
๒-๙-๑๓
แบบโครงสร้ างจะแสดงรายละเอียด (ดูหน้ า๒-๑๖,๑๗)
3.แบบงานระบบ (system drawing) แสดงระบบ
ต่ างๆ ที่ตดิ ตั้งในอาคาร เช่ น ระบบไฟฟ้ า ระบบ
เครื่องกล ระบบปรับอากาศ ระบบป้ องกันอัคคีภยั
ระบบสุ ขาภิบาลฯลฯ (ดู๒-๑๘)
๒-๑๘
แบบสถาปัตยกรรม
ลักษณะการออกข้ อสอบในหน่ วยนีจ้ ะให้ รูปมาแล้ วตอบ
(ให้ ฝึกดูรูปว่ าเป็ น ด้ านหน้ า ด้ านหลัง ด้ านข้ าง หรือด้ านบน)
(หน่ วยที่ 2 หน้ า 9-10)
๒-๙-๑๓
สถาบันรัชต์ ภาคย์
แบบสถาปัตยกรรมภายนอก
แบบสถาปัตยกรรมภายใน
มาตราส่ วน(scale) อธิบายรายละเอียด
• มาตราส่ วน(scale)คืออัตราส่ วนทีว่ ดั ได้ จากรู ปในแบบ
ก่ อสร้ างเทียบกับขนาดจริงขององค์ อาคาร เช่ น มาตรา
ส่ วน 1 : 10, 1 : 20, 1 : 5 เป็ นต้ น ถ้ าใช้ มาตราส่ วน
2 : 1 จะได้ หรือไม่ ?
• กรณีทผี่ ้ ูเขียนแบบต้ องการเขียนภาพขยายขนาด อาทิ
การใช้ มาตราส่ วน 2 : 1 ในกรณีเขียนภาพขยายขนาด
เป็ นสองเท่ าของขนาดจริงเพือ่ เพิม่ ความชัดเจน
๒-๒๕
แบบรู ปด้ าน แบบแปลน แบบรู ปตัด ประเทศไทยส่ วนใหญ่
นิยมเขียนด้ วยมาตราส่ วน?
• ประเทศไทยนิยมใช้ มาตราส่ วน 1 : 100
• แบบขยายเขียนด้ วยมาตราส่ วน 1 : 20
• ทั้งนีข้ นึ้ อยู่กบั ขนาดของรู ปและความเหมาะสมของ
รายละเอียดที่ต้องการนาเสนอ
จากแบบก่ อสร้ าง 2, 3, 5 เซนติเมตร ระยะจริง?
กาหนดให้ มาตราส่ วน 1 : 100
๒-๒๕
สั ญลักษณ์ ๓ ประเภทใหญ่ ๆ
• สั ญลักษณ์ (symbol) คือองค์ ประกอบของรูป เส้ น และตัวหนังสื อที่
ใช้ อธิบายรายละเอียดใบแบบก่อสร้ าง
• ๑. สั ญลักษณ์ อ้างอิง(reference symbol)
• ๒. สั ญลักษณ์ ของวัสดุ(material symbol) กรวด คอนกรีต
ทราย ก่ออิฐ
• ๓. สั ญลักษณ์ วตั ถุ(object symbol) วาล์ว มาตรวัดนา้ ช่ องอากาศ
สวิตซ์ โคมไฟ หัวฉีดดับเพลิง แผงควบคุม
☺ให้ นักศึกษาฝึ กดูรูปในหน่ วยนี☺
้
๒-๒๖-๒๗
ความแตกต่ างวัสดุและวัตถุ
• วัสดุ(material symbol) ใช้ ในการแสดงประเภทของ
วัสดุทใี่ ช้ ในการก่ อสร้ าง
• วัตถุ(object symbol) ใช้ ในการแสดงประเภท
ตาแหน่ งและจานวนของวัตถุทจี่ ะติดตั้งภายในอาคาร
๒-๓๐
เส้ น (line)
3
ประเภท (ให้ ดูรูป ๒-๓๑)
• เส้ นหนามาก นิยมใช้ การเขียนเส้ นรอบรู ป ขอบเขตของ
พืน้ ที่ หรือกรณีทตี่ ้ องการเน้ นความสาคัญของ
องค์ ประกอบ
• เส้ นหนา นิยมใช้ ในการเขียนรายละเอียดทัว่ ไปภายใน
อาคาร
• เส้ นบาง นิยมใช้ ในการเขียนบอกขนาด เขียนเส้ นฉาย
และการเขียนเส้ นลงเงา
๒-๓๐,๓๒
การกาหนดขนาด หรือ มิติ
• เส้ นฉาย เป็ นเส้ นทีล่ ากออกจากวัตถุเป็ นแนวเส้ นตรง
มายังเส้ นมิติ ๒-๓๑
• เส้ นมิติ เป็ นเส้ นทีใ่ ช้ กาหนดความยาวของวัตถุในแต่
ละช่ วง ๒-๓๓
• ตัวเลขบอกขนาด เป็ นตัวเลขทีบ่ อกระยะจริงทีเ่ ขียน
กากับไว้ บนเส้ นมิติเพือ่ ความชัดเจนและความสะดวก
ในการอ่ านแบบ
๒-๓๑
กระดาษเขียนแบบ(ใหญ่ สุด/เล็กสุ ด)
•
•
•
•
•
A0
A1
A2
A3
A4
1,189x841
841x594
594x420
420x297
297x210
การเลือกกระดาษขึน้ อยู่กบั ขนาดอาคารทีไ่ ด้ รับการออกแบบและมาตราส่ วน
ทีใ่ ช้ ในการเขียนแบบ ความเหมาะสม ความสมบูรณ์ อ่านได้ ชัดเจน
๒-๓๖
หน้ าที่ของเหล็กเส้ นในโครงสร้ างคอนกรีตเสริมเหล็ก
•
•
•
•
ช่ วยต้ านทานแรงดึง
ช่ วยต้ านทานแรงอัด
ช่ วยต้ านทานแรงเฉือน
ช่ วยป้องกันการแตกร้ าวของคอนกรีต
๒-๓๙-๔๐
ชนิดของเหล็กเส้ น ๒ แบบ
• เหล็กเส้ นกลม (round bar) RB
• เหล็กเส้ นข้ ออ้ อย (deformed bar) DB
RB25? DB25?
เหล็กเส้ นกลมขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง ๒๒ มิลลิเมตร?
เหล็กเส้ นข้ ออ้ อยขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง ๓๔ มิลลิเมตร?
๒-๔๐,๔๑
• ป RB 9 มม@ 0.18 ม. (กลม)
• ป DB 6 มม@ 0.15 ม. (ข้ ออ้ อย)
เหล็กเส้ นทีม่ ีชั้นคณ
ุ ภาพ
SR24, SD30
เหล็กเส้ นกลมทีม่ คี วามแข็งแรงทีจ่ ุดครากอย่ างตา่
๒,๔๐๐ กิโลกรัมต่ อตารางเซนติเมตร
SD 30 เหล็กข้ ออ้ อยทีม
่ คี วามแข็งแรงทีจ่ ุดครากอย่ างตา่
๓,๐๐๐ กิโลกรัมต่ อตารางเซนติเมตร
• SR 24
•
๒-๔๗
3DB16MM
[email protected]
3DB16MM
round
bar(กลม) & deformed bar(ข้ ออ้อย)
ข้ อพึงระวังในการอ่ านแบบโครงสร้ างเหล็กรู ปพรรณ (๒)
• รู ปหน้ าตัด ขนาดและชั้นคุณภาพเหล็กรู ปพรรณทีใ่ ช้
• ตาแหน่ งและทิศทางการวางเหล็กรู ปพรรณ
• การอ่ านแบบรู ปบันไดเหล็กรู ปพรรณ (ให้ ดูรูป p 2-59)
๒-๔๘-๕๓
ข้ อพึงระวังในการอ่ านแบบโครงสร้ างไม้ (๓)
• ขนาดและชนิดของไม้ ทใี่ ช้
• ตาแหน่ งและทิศทางการวางไม้
• รอยต่ อระหว่ างชิ้นส่ วนของไม้
• อุปกรณ์ ทนี่ ิยมใช้ ๔ ชนิด
• ตะปู ตะปูควง
• สลักเกลียว ตะปูเกลียว
๒-๖๑,๖๒,๖๓
หน่ วยที่ ๓ วิศวกรรมโครงสร้ างงานอาคาร
• หลังคา
• แป รับนา้ หนักจากหลังคา
• จันทัน รับนา้ หนักจาก แป จันทันมี ๒ ประเภท
1.จันทันเอกทีว
่ างตามแนวเสา
2.จันทันพรางที่วางไม่ ตรงแนวเสา
• อกไก่ รับนา้ หนักจากจันทันเอกและจันทันพราง
• ดั้ง รับนา้ หนักจากอกไก่ทอี่ ยู่ตามแนวจันทันเอกและส่ งผลให้
หลังคามีทรงสู งขึน้ หรือแบนราบ
• อะเส รับนา้ หนักจากจันทันเอกและจันทันพราง ยึดหัวเสาไห้ มั่นคง
• ขื่อ รับนา้ หนักจากดั้งและยึดหัวเสาให้ มั่นคง
• เชิงชาย ปิ ดซ้ ายโครงหลังคาให้ ดูสวยงามและป้องกันนกเข้ าไปทารัง
ในหลังคา
๓-๙,๑๐,๑๑
การถ่ ายน้าหนัก
นา้ หนักหลังคา
แป
จันทัน (จันทันเอกและจันทันพราง)
อกไก่
อะเส
ดั้ง
ขื่อ
เสา
๓-๘
ประเภทของโครงหลังคา(type of roof structure)
มี ๒ ประเภท
• โครงหลังคาไม้
• โครงหลังคาเหล็ก
• โครงหลังคาไม้ นิยมใช้ ไม้ เนือ้ แข็ง
ไม้ แดง ไม้ เต็ง ไม้ มะค่ า
• โครงหลังคาเหล็ก เป็ นทีน่ ิยมมากในปัจจุบัน
๓-๙
ส่ วนประกอบโครงสร้ างหลังคาเหล็ก ๖ ประเภท ๓-๑๑
•
•
•
•
•
•
แผ่ นวัสดุมุงหลังคา(sheet)
แปเหล็ก(purlins)
เหล็กยึดแป(sag rods)
คานโครงเหล็กยึดโครงหลังคาเหล็ก
เหล็กยึดทแยงโครงหลังคาเหล็ก
โครงเหล็ก(steel truss)
๓-๑๐,๑๑
โครงสร้ างคานแบ่ งเป็ น ๓ ประเภท
• คานไม้ (timber beam) ไม้ เนือ้ เข็ง (ไม้ แดง ไม้ สัก)
• คานคอนกรีตเสริมเหล็ก (reinforced beam)
• คานเหล็ก (steel beam)(เป็ นที่นิยมมากเพราะก่อสร้ างได้ยาวกว่ า
รู ปร่ างบาง เพรียว ไม่ ใหญ่ เทอะทะ รับแรงอัดแรงดึงได้ ด)ี จุดด้ อยทนความร้ อน
สู ง ๆ ไม่ ได้ รวมทั้งมักจะมีจุดออ่ นบริเวณจุดต่ อของคาน
๓-๑๓,๑๔
ลักษณะของคานในอาคาร
• คานช่ วงเดีย่ ว (simple beam)
• คานต่ อเนื่อง (continuous beam)
• คานยืน่ (cantilever beam)
๓-๑๕
ประเภทของเสา
•
•
•
•
(column)
เสาไม้ (timber column)
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (reinforce concrete column)
เสาเหล็ก (steel column) (เป็ นทีน่ ิยม)
เสาเหล็กผสมคอนกรีต
• พืน้ มี ๒ ประเภท คือ พืน้ ไม้ และ พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็ก
๓-๑๖,๑๗
แรงกระทาบนพืน้
• นา้ หนักบรรทุกคงที(่ dead load) เป็ นนา้ หนักของพืน้
ทั้งหมด เช่ น ตู้เย็นขนาดใหญ่ สุ ขภัณฑ์ เครื่องกลึง
• นา้ หนักบรรทุกจร(live load) คือนา้ หนักบรรทุกทีอ่ าจมี
การเปลีย่ นแปลงขนาดและตาแหน่ ง เช่ น รถบรรทุก คน
เครน
๓-๒๑
ประเภทของฐานรากตามลักษณะของการบรรทุกนา้ หนัก
• ฐานรากต่ อเนื่องรับกาแพง(wall footing)ถ่ายเทนา้ หนักลง
ตามพนังหรือกาแพงเป็ นทางยาว
• ฐานรากเดีย่ ว(single footing) รับนา้ หนักเป็ นจุดๆ โดยเสา
ต้ นหนึ่งต่ อฐานรากหนึ่งฐาน นิยมใช้ กบั อาคารขนาดเล็ก เช่ น บ้ านพัก
อาศัย*
• ฐานรากร่ วม(combined footing) รับนา้ หนักจากเสา
หลายๆ ต้ นซึ่งมีตาแหน่ งเสาอยู่ใกล้ๆ กัน
๓-๒๘,๒๙
ประเภทของฐานรากตามลักษณะของการบรรทุกนา้ หนัก(ต่ อ)
• ฐานรากแพ (raft footing) แผ่กระจากบนพืน้ ที่ก่อสร้ างเป็ น
บริเวณกว้ าง หรือบางทีก่ ระจายเต็มพืน้ ทีอ่ าคาร(อาคารขนาดใหญ่ หรือ
อาคารสู ง)*
• ฐานตีนเป็ ด(strap footing) บริเวณก่อสร้ างทีม่ ีเขตที่ดินติดกับ
คนอืน่
๓-๒๘,๒๙
เสาเข็ม
• เสาเข็มไม้
• เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก(รับนา้ หนักไม่ มากขนส่ งเข้ า
พืน้ ทีก่ ่ อสร้ างได้ )
• เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง (รับนา้ หนักมาก ได้ รับความนิยม
มาก)
• เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงแบบกลม(ทรงกลมกลวง รับ
นา้ หนักมากๆ ก่ อสร้ างขนาดใหญ่ )
๓-๓๐,๓๑
เสาเข็ม(ต่ อ)
• เสาเข็มเหล็ก(steel pile)หรือ เข็มพืด(sheet pile)
ป้องกันดินพังทลายขณะทางานก่ อสร้ าง
• เสาเข็มเจาะ(bored pile) ไม่ สามารถตอกเสาเข็มได้
เพราะจะเกิดการสั่ นสะเทือนรบกวนอาคารอืน่
*ข้ อควรระวังในการขุดหลุมลึกมากๆ ต้ องทาการตอกแผ่ นเหล็กหรือ
เข็มพืดไว้ เพือ่ ป้องกันดินพังทลายลงมาในบริเวณทีท่ างานก้นหลุม
๓-๓๐,๓๑
หน่ วยที่ ๑๓ พืน้ ฐานวิศวกรรมอุตสาหการ
• โรงงาน หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะ ที่ใช้ เครื่องจักรกล
ทีม่ ีกาลังรวมตั้งแต่ ๕ แรงม้ า หรือกาลังเทียบเท่ า ๕ แรงม้ าขึน้ ไปหรือ
คนงานตั้งแต่ ๗ คนขึน้ ไป
• โรงงาน หมายถึง อาคารสถานทีท่ ี่นาเอาปัจจัยการผลิต(input) ซึ่ง
อาจรวมถึงวัตถุดิบ พลังงาน ทรัพยากรนา้ คน เครื่องจักร อุปกรณ์
นาไปแปรรูปเกิดผลผลิต
๑๓-๕
• วิศวกรรมอุสาหการ (industrial eng) เป็ นสาขาหนึ่งของ
งานด้ านวิศวกรรม
• การเพิม่ ผลิตภาพ (productivity) ความสามารถในการใช้
ปัจจัยการผลิตให้ ค้ ุมค่ า ผลผลิตสู งสุ ด
ผลิตภาพ
ผลผลิต (output)
=
ปัจจัยการผลิต(input)
PQCDSE
=
4M
C หมายถึงอะไร ?
ปริมาณ, คุณภาพ, ต้ นทุน, การส่ งมอบ, ความปลอดภัย, สิ่ งแวดล้อม
แรงงาน(คน)(man),
วัตถุดบิ (material),
เครื่องจักร(machine),
การจัดการ(management)
๑๓-๖,๗
การเลือกทาเลที่ต้งั โรงงาน(๘)
•
•
•
•
•
•
•
•
แหล่ งวัตถุดบิ
ตลาด
แรงงานและค่ าจ้ าง
สาธารณูปโภค
การจราจรขนส่ ง
สิ่ งแวดล้ อม
กรรมสิ ทธิ์
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง
แนวทางประเมินคัดเลือกทาเล
ทีต่ ้งั มี ๒ วิธี
๑.วิธีการให้ คะแนน
๒.วิธีเปรียบเทียบค่ าใช้ จ่าย
๑๓-๘,๙
การวางผังโรงงาน
• การวางผังโรงงานตามชนิดผลิตภัณฑ์
• การวางผังโรงงานตามกระบวนการผลิต
• การวางผังโรงงานตามตาแหน่ งงานคงที(่ เครื่องบิน ต่ อเรือ
สะพาน)
• การวางผังโรงงานแบบผสม
๑๓-๑๒,๑๓,๑๔
สั ญลักษณ์ ในแผนภูมิการไหล
•
•
•
•
•
•
•
ทางาน/ผลิต
ขนส่ ง/เคลือ่ นย้ าย
ตรวจ/ตรวจสอบ
รอคอย/เกิดเหตุขดั ข้ อง
เก็บ
การป้อนวัสดุเข้ าสู่ กระบวนการ
ลาดับขั้นตอนกระบวนการผลิต
๑๓-๑๔
รูปแบบในการไหลของวัสดุมี ๔ แบบ
• การไหลแบบเส้ นตรง
ง่ ายๆ พืน้ ที่โรงงานกว้ างพอ
• ตัว s กระบวนการผลิตยาวมาก พืน้ ที่โรงงานสั้ น เข้ า-ออก
วัสดุคนละทาง
• ตัว U กระบวนการผลิตยาวมาก พืน้ ที่โรงงานสั น เข้ า-ออก
วัสดุทางเดียวกัน
• วงกลม O กระบวนการผลิตยาวมาก พืน้ ที่โรงงานสี่ เหลี่ยม
จัตุรัส วัสดุและสิ้นค้ าเข้ า-ออก จุดเดียวกัน
๑๓-๑๕,๑๖,๑๗
การพยากรณ์ สามารถแบ่ งประเภทได้
◘ ตามช่ วงเวลา(ระยะสั้ น, ปานกลาง, และระยะยาว
◘ ตามวิธีการพยากรณ์
►พยากรณ์ เชิงคุณภาพ(ความรู้ สึก,ประสบการณ์ )
►พยากรณ์ เชิงปริมาณ (สถิต,ิ การวิจัย)
◘ การพยากรณ์ อย่ างง่ าย
๑๓-๒๑
ปัจจัยสาคัญในการพิจารณาจัดลาดับความสาคัญใน
การวิเคราะห์ งาน
•
•
•
•
ความเร่ งด่ วน
ต้ นทุนการผลิตสู ง
ความต้ องการความชานาญสู ง
ความเสี่ ยงสู ง
๑๓-๔๐
การศึกษาเวลา(time
•
•
•
•
study)
อุปกรณ์ ในการศึกษาเวลา
แบบฟอร์ มบันทึกและวิเคราะห์ เวลา
เครื่องถ่ ายภาพยนตร์ หรือกล้ องวีดที ศั น์
การกาหนดค่ าเฉลีย่ ของเวลาทางาน (ค่ าทีใ่ ช้ ค่าเฉลีย่
mean, X) หรือฐานนิยม (mode)
๑๓-๔๔,๔๕
กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ QCC
(quality control circle)
• QCC เป็ นกลุ่มเล็ก ๓-๕ คน มีหัวหน้ ากลุ่ม (leader)
วัตถุประสงค์ ค้นหาปัญหาการเกิดของเสี ย ปัญหาไม่ ได้ คุณภาพ พร้ อม
แนวทางป้องกันแก้ไข ป้องกันต่ อไป
• แผนภูมิก้างปลา(fish-bone diagram)เพือ่ วิเคราะห์ หาสาเหตุต่างๆ
ทีม่ ีผลต่ อแต่ ละปัญหาอาจเกิดจาก วัตถุดิบ เครื่องจักร ฯลฯ
(ให้ นศ. ดู P13-56)
หัวปลาคืออะไร?
๑๓-๕๖
ขั้นตอนในการทากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ
•
•
•
•
•
•
•
QCC
การกาหนดให้ เป็ นนโยบายของหน่ วยงาน
กาหนดโครงสร้ างของกลุ่มสร้ างคุณภาพ
จัดตั้งคณะกรรมการฯ
กาหนดตัวผู้ประสานงาน
การจดทะเบียนจัดตั้งกลุ่ม(ชื่อกลุ่ม ชื่อหน่ วยงาน ชื่อหัวหน้ า)
การกาหนดเรืองและเป้าหมาย
การดาเนินการตามขั้นตอนวงจรเดมมิง่ (P-D-C-A circle)
๑๓-๕๗
วงจรเดมมิ่ง (P-D-C-A circle)
•
•
•
•
การวางแผน (plan)
นาแผนมาปฏิบัติ (do)
ตรวจสอบผลการปฏิบัติ (check)
นามาปรับปรุงแก้ ไข (action)
วงจรเดมมิง่ นามาใช้ ในขั้นตอนใด?
๑๓-๕๗
หลักการพืน้ ฐานของการบริหารคุณภาพ ๗ ประการ
•
•
•
•
•
•
•
การให้ ความสาคัญกับลูกค้ า
ความเป็ นผู้นา
การมีส่วนร่ วมของบุคลากร
การบริหารเชิงกระบวนการและเชิงระบบ
การตัดสิ นใจบนพืน้ ฐานความเป็ นจริง
ความสั มพันธ์ กบั ผู้ขายเพือ่ ประโยชน์ ร่วมกัน
การปรับปรุงอย่ างต่ อเนื่อง
ISO(international Organizational for Standardization)
ในประเทศไทยทีน่ ิยมใช้ ?
๑๓-๕๘,๕๙
แผนภูมิแกนต์ (Gantt
chart)
• แผนภูมิแกนต์
♠ แสดงความก้ าวหน้ าของงาน
♠♠จัดลาดับงานที่ต้องทาก่ อน-หลัง
• แผนภูมิแกนต์ แนวตั้ง แสดงถึงงานทีต่ ้ องทาตามลาดับ
• แผนภูมิแกนต์ แนวนอน แสดงถึงเวลา
• แผนภูมิแกนต์ สะดวกและง่ ายต่ อความเข้ าใจของผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
๑๓-๓๑,๓๒
หน่ วยที่ ๑๔ อันตรายจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
กระบวนการผลิต
วัตถุดิบนาเข้ า
(input)
กระบวนการผลิต
(process)
ผลผลิต ผลิตภัณฑ์
(output)
ข้ อมูลป้ อนกลับ
(feed back)
๑๔-๕
พืน้ ฐานการผลิต
• การผลิตเป็ นจานวนมาก(mass production) อาหาร
กระป๋ อง ปากกา ดินสอ ฯลฯ
• การผลิตแบบพอประมาณ(moderate production)
เครื่องกลึง เครื่องอัด เครื่องเจาะ ฯลฯ
• การผลิตแบบรับงานย่ อยเป็ นช่ วง(job lot production)
อะไหล่รถยนต์ รุ่นเก่า แขน-ขาเทียม กระแสไฟฟ้าชนิดพิเศษ ฯลฯ
๑๔-๖
ประเภทของกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
• การผลิตแบบต่ อเนื่อง เช่ น โรงงานกระดาษ ปูนซีเมนต์ กระจกฯลฯ
• การผลิตแบบไม่ ต่อเนื่อง เช่ น โรงชุ ป โรงกลึง โรงหล่อ ทาเบาะรถยนต์
ประกอบบันไดเลือ่ น ซ่ อมรถยนต์ ฯลฯ
• การผลิตแบบผลิตซ้า เช่ น ทอกระสอบ ทอผ้ า ทารองเท้ า เย็บเสื้อผ้ า
ประดิษฐ์ ดอกไม้ ฯลฯ
• การผลิตแบบงานโครงการ เช่ น โรงงานต่ อประกอบโครงเหล็ก
โรงงานผลิตหม้ อไอนา้ โรงงานต่ อเรือ โรงงานผลิตตามสั ญญาฯลฯ
๑๔-๑๐,๑๑
ปัจจัยสาคัญในการออกแบบกระบวนการผลิต
•
•
•
•
•
•
•
ปัจจัยผลิตภัณฑ์
ปัจจัยทางวัสดุ
ปัจจัยเครื่องจักร
ปัจจัยการผลิต
ปัจจัยต้ นทุน
ปัจจัยอาคาร
ปัจจัยอืน่ ๆ พลังงาน การขายตัว ชื่อเสี ยงองค์ การ ความมั่งคงปลอดภัย
แนวโน้ มของธุรกิจฯลฯ
๑๔-๑๒
•
•
•
•
•
สิ่ งแวดล้ อมทีก่ ่ อให้ เกิดอันตรายแก่ ผ้ ูปฏิบัตงิ าน
ทางด้ านสุขศาสตร์ อสุ าหกรรม(๕)
สิ่ งแวดล้ อมทางกายภาพ
สิ่ งแวดล้ อมทางเคมี
สิ่ งแวดล้ อมทางด้ านชีวภาพ
สิ่ งแวดล้ อมทางด้ านเออร์ โกโนมิคส์
สิ่ งแวดล้ อมทางด้ านจิตสั งคม
๑๔-๑๖,๑๗
สิ่ งแวดล้ อมทีก่ ่ อให้ เกิดอันตรายแก่ ผ้ ูปฏิบัตงิ าน
ทางด้ านอาชีวนิรภัย(๓)
• ทางด้ านการบริหารจัดการความปลอดภัย
• การกระทาทีต่ า่ กว่ ามาตรฐาน (substandard acts) หรือ
การกระทาทีไ่ ม่ ปลอดภัย (unsafe acts)
• สภาพการทีต่ า่ กว่ ามาตรฐาน(substandard conditions)
หรือสภาพการทีไ่ ม่ ปลอดภัย (unsafe conditions)
๑๔-๑๖,๑๗
สิ่ งทีก่ ่อให้ เกิดอันตรายในอุตสาหกรรมหลอมเหล็ก
•
•
•
•
ฝุ่ น(particulate)
ความร้ อน (heat)
ก๊ าซคาร์ บอนมอนนอกไซด์ (carbon monozide :CO)
โลหะหนัก (heavy metal) ประกอบด้ วย นิเกิล เหล็ก
แมงกานิส เซเลเนียม พลวง เทเลเนียม
๑๔-๑๙,๒๐
อุตสาหกรรมการผลิตกระดาษมีข้นั ตอนดังนี้
•
•
•
•
การเตรียมเยือ่ กระดาษ (สารฟอกสี สารขจัดฟอง กรดปรับph)
การรีดให้ เป็ นแผ่ น
การทาให้ แห้ ง (ไอนา้ และอนุภาคจากสารเคมี)
การทาให้ เป็ นกระดาษสาเร็จ
ฟอร์ มาดีไฮด์ (formaldehyde) พีนอล(phenol) แอมโมเนีย
(ammonia) และสารประกอบสารอินทรีระเหย เช่ น petroleum
naptha และ hexane xylene toluene
๑๔-๒๔,๒๕
อุตสาหกรรมการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ /กระบวนการ
•
•
•
•
การออกแบบ(design)
การสร้ างเหล็ก(crystal processing)
การทาเวเฟอร์ (wafer fabrication)
การเรียงขั้นสุ ดท้ ายและทาความสะอาด(final layering and
cleaning)
• การประกอบ(assembly)
๑๔-๒๖,๒๗
อันตรายจากเซมิคอนดักเตอร์ (สรุป)
• ตัดแผ่ นเวเฟอร์ สารอันตราย ฝุ่ นทีอ่ ยู่ในรูปสารหนู
• เชื่อมชิพลงบนแผ่ นเฟรม สารอันตราย ไอระเหยอะซิโตน เข้ าทางหายใจ
และการสั มผัส
• หุ้มชิพและเส้ นลวดด้ วยเรซิน สารอันตราย สารพลวง สารประกอบ
โบรมีน เข้ าสู่ ร่างกายโดยทางหายใจ
• ขจัดเรซินทีไ่ ม่ ต้องการออก สารอันตราย ตะกัว่ ดีบุกหรือบิสมัส กรด
ซัลฟลูริค โปรแตสเซียมคลอไรด์ กรดไนตริก เข้ าสู่ ร่างกายโดยการ
หายใจและสั มผัส
• ตัดขาไอซีทไี่ ม่ ต้องการออก อันตรายคือ เสี ยง ฝุ่ นจากเศษโลหะ
• ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ อันตรายคือ สายตาและความเครียด
๑๔-๒๘,๒๙
แผนภาพกระบวนการผลิต (อธิบายลักษณะแผนภาพ
กระบวนการผลิต)
• ๑.แผนภาพระบบงาน(schematic diagram) เป็ นแผนภาพที่
จัดเตรียมจากกระบวนการผลิต โดยทัว่ ไปเป็ นการแสดงการไหลของ
วัสดุในแผนภาพฯลฯ
• ๒.แผนภาพการไหลของกระบวนการ(process flow
diagram) ไม่ จาเป็ นต้ องจัดทาเป็ นตามมาตรส่ วนเช่ นเดียวกับ
แผนภาพระบบงาน ในแผนภาพจะกล่าวถึงวัสดุหรือตัวกลางทีถ่ ูก
ขนถ่ ายไปตามท่ อฯลฯ
๑๔-๓๒,๓๓
วิธีการจัดทาหรือทาแผนภาพการไหลของกระบวนการ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การวางผังแผนภาพการไหลทางวิศวกรรม
เส้ นทางการไหล
การแสดงวาล์วบนแผนภาพการไหล
อุปกรณ์ เครื่องมือวัด
ข้ อมูลอุปกรณ์ การผลิต
ข้ อมูลกระบวนการสาหรับอุปกรณ์ การผลิต
การระบุอุปกรณ์
การระบุลกั ษณะการใช้ งานของไหลบนแผนภาพการไหล
การแสดงการจัดการของ
การสมดุลวัสดุ
๑๔-๓๓,๓๔,๓๕
แผนภาพระบบท่ อและอุปกรณ์ เครื่องมือวัด
(ให้ อธิบายความหมาย)
• แผนภาพระบบท่ อและอุปกรณ์ เครื่องมือวัดหรือแผนภาพ
การไหลทางวิศวกรรมเป็ นแผนภาพทีม่ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่
แสดงเส้ นทางของกระบวนการผลิตที่เชื่อมต่ อระหว่ าง
ชิ้นส่ วนต่ างๆ ของอุปกรณ์ ในกระบวนการ เช่ น ถังสู ง
เครื่องแลกเปลีย่ นความร้ อน ปั้ม ฯลฯ
๑๔-๓๖
หน้ าทีข่ องอุปกรณ์ เครื่องมือวัด(๔)
•
•
•
•
เพือ่ ตรวจรับ(to sense)
เพือ่ ส่ งผ่ าน(to transmit)
เพือ่ บันทึก(to record)
เพือ่ ควบคุม(to control)
๑๔-๔๕,๔๖
thank you
S H
E-mail : [email protected]
E-mail : [email protected]
087-8044084, 02-3198201-3 exp. 113, 116