ก. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการยศาสตร์

Download Report

Transcript ก. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการยศาสตร์

หมวดที่ 5 ก.ความรู้พนื้ ฐานเกีย่ วกับการยศาสตร์
รศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ความหมาย :
Ergonomics มาจากรากศัพท์ในภาษากรี ก 2 คา คือ ergon ซึ่ งแปลว่า งาน
(work) กับ nomos ซึ่ งแปลว่า กฎ หรื อระเบียบ (natural laws) ดังนั้น เมื่อรวม
คาทั้งสองคาเข้าด้วยกันจะได้ความหมายของ ergonomics ว่า เป็ นการศึกษา
กฎเกณฑ์ในการทางาน โดยมีเป้ าหมายเพื่อที่จะปรับปรุ งงาน หรื อสภาวะงานให้
เข้ากับแต่ละบุคคลที่ปฏิบตั ิงานหรื อทางานในสถานที่ต่าง ๆ และใช้ความรู้
ตลอดจนกระบวนการ หรื อวิธีการต่าง ๆ โดยคานึงถึงผลกระทบจากงานที่ทาทั้ง
ทางด้านร่ างกายและจิตใจ ซึ่ งงานที่ทานั้นจะต้องไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพและ
มีความปลอดภัยในการทางาน อีกทั้งยังสามารถเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางาน
ของผูป้ ฏิบตั ิงานด้วย
• องค์ การแรงงานระหว่ างประเทศ (International Labour Organization, ILO) ได้ให้
คาจากัดความของ Ergonomics ไว้วา่ “ การประยุกต์ใช้วิชาการทางด้านชีววิทยาของ
มนุษย์และวิศวกรรมศาสตร์ ให้เข้ากับคนงานและสิ่ งแวดล้อมในการทางานของเขา
เพื่อให้คนงานเกิดความพึงพอใจในการทางาน และได้ผลผลิตสู งสุ ด ” ดังนั้น
Ergonomics จึงเป็ นวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการปรับงานให้เข้ากับความสามารถทั้ง
ทางด้านร่ างกายและจิตใจ รวมทั้งข้อจากัดของคนงาน
• คณะกรรมการบัญญัตศิ ัพท์ วศิ วกรรมศาสตร์ สาขาเครื่องกลและอุตสาหกรรมของ
ราชบัณฑิตยสถานได้พิจารณาบัญญัติศพั ท์ ของคาว่า Ergonomics ไว้วา่ "การยศาสตร์ "
โดยได้อธิ บายว่า การย เป็ นคาในภาษาสันสกฤต หมายถึง การงาน หรื อ work และ
ศาสตร์ ก็คือวิทยาการ หรื อ science รวมความเป็ น Work science
• Ergonomics จึงเป็ นการศึกษาข้อมูลของมนุษย์เพื่อใช้ประโยชน์ในการออกแบบสิ่ ง
ต่าง ๆ หรื อระบบที่มีมนุษย์เข้าไปเกี่ยวข้อง เพื่อให้มนุษย์สามารถใช้งาน หรื อทางานได้
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและปลอดภัย
• การเน้ นองค์ ประกอบด้ านมนุษย์ หมายถึง การประยุกต์อย่างมีระบบเพื่อการมีและใช้
ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น ความสามารถและข้อจากัดต่าง ๆ เพื่อ
มาใช้พิจารณาสาหรับการออกแบบระบบ หรื อวิธีทางานให้ได้ตามวัตถุประสงค์ ซึ่ ง
สามารถแยกออกเป็ น 3 ประการ คือ ภาวะสบาย (comfort) สวัสดิภาพ (well-being)
ประสิ ทธิภาพ (efficiency) ที่เกี่ยวกับ การผลิต (production) ร่ างกาย (physiological)
และจิตใจ (mental)
ความเป็ นมา :
• การพัฒนาของวิทยาการเรื่ องนี้ มีมาตั้งแต่ยคุ ก่อนประวัติศาสตร์ ซ่ ึ งเริ่ มด้วยการ
ดัดแปลงเครื่ องมือล่าสัตว์ และอาวุธประจาตัวที่จะต้องเหมาะสมกับผูใ้ ช้ แต่การ
พัฒนาเป็ นไปได้ชา้ มากเพราะอาศัยการลองผิดลองถูก (trial and error) จนกระทัง่
ถึงยุคปฏิวตั ิอุตสาหกรรมประมาณ 200 กว่าปี มานี้ ก็ได้เริ่ มต้นมีพฒั นาการควบคู่
ไปกับการพัฒนาเทคโนโลยี นอกจากนี้ ยังได้มีการริ เริ่ มสร้างเครื่ องจักร เครื่ องมือ
เพื่อทางานแทนแรงงานคนและแรงงานจากสัตว์
• แต่เนื่องจากว่าวิชาการด้านชีวิตของมนุษย์ยงั ต้องเรี ยนรู ้อีกมาก ความทุกข์
ทรมานของผูใ้ ช้แรงงานในสมัยนั้นจึงเกิดขึ้นมากมาย และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจาก
การลองผิดลองถูกในระหว่างการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมก็เป็ นเงินจานวนมหาศาล
• สังคมมนุษย์ได้เริ่ มใช้มาตรการทางกฎหมายมาควบคุมเมื่อมีการสู ญเสี ยเพิ่มมากขึ้น
ความรู้เรื่ องเวชศาสตร์อุตสาหกรรม (Industrial medicine) อาชีวเวชศาสตร์
(occupational medicine) เริ่ มมีการสอนในโรงเรี ยนแพทย์ และวิชาอาชีวอนามัย
(occupational health) ได้เริ่ มเปิ ดสอนในโรงเรี ยนสาธารณสุ ข
• การปรับปรุ งสภาพการทางานในสถานประกอบกิจการได้ถูกจัดให้มีข้ ึน เพราะมี
การพัฒนากระบวนการผลิตแบบจานวนมาก (mass production) ทาให้การเรี ยนรู้ใน
เรื่ องการศึกษาเวลา (time study) และการศึกษา การเคลื่อนไหว (motion study)
กลายเป็ นความจาเป็ นอย่างยิง่ สาหรับการพัฒนาอย่างเป็ นระบบของอุตสาหกรรมที่มี
ทรัพยากรมนุษย์เป็ นองค์ประกอบสาคัญ
• การศึกษาเวลา เริ่ มต้นเมื่อ F.W. Taylor วิศวกรชาวอเมริ กนั ผูท้ ี่ใช้หลักวิทยาศาสตร์
เพื่อหาวิธีทางานที่ดีที่สุด ซึ่ งขณะที่เขาทางานอยูท่ ี่ Midvale Steel Co. ใน ปี พ.ศ. 2424
ได้พยายามใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific approach) ที่จะคานวณเวลาที่ใช้ในการ
ทางานของคนงาน แทนที่จะใช้วิธีคาดคะเนโดยการใช้สามัญสานึก
• ในต้นช่วงศตวรรษที่ 19 Frank และ Lillian Gilbreth ได้รับการยอมรับให้เป็ นผูบ้ ุกเบิก
งานด้าน Ergonomics โดยได้ทาการศึกษาการเคลื่อนไหวของร่ างกายมนุษย์ขณะทางาน
(motion study) งานของพวกเขารวมไปถึงการศึกษาการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งอาศัยความ
ชานาญ การศึกษาความเมื่อยล้า และการออกแบบสถานที่ทางานและเครื่ องมือสาหรับผู้
ทุพพลภาพ การวิเคราะห์ทีมงานศัลยกรรมในโรงพยาบาล ซึ่ งส่ งผลดีมาจนถึงวิธีการใน
ปั จจุบนั นี้ กล่าวคือ ศัลยแพทย์รับเครื่ องมือผ่าตัดโดยการบอกพยาบาลแล้วยืน่ มือไปรับ
โดยต่างกับในอดีตที่ศลั ยแพทย์จะต้องหยิบเครื่ องมือจากถาดเอง ซึ่ งทาให้เสี ยเวลาใน
การมองหาเครื่ องมือ พอๆ กับการมองผูป้ ่ วยขณะผ่าตัด
• F.B. Gilbreth พิจารณาเห็นความผูกพันกันระหว่างตัวแปรแต่ละตัวในการ
ทางานของคน สิ่ งแวดล้อม และการเคลื่อนไหวของการทางาน เขาได้แสดงให้
เห็นว่าผลกระทบต่อคนทางานย่อมมีผลต่อผลผลิต (productivity) เป็ นอันมาก แต่
เนื่องจากว่าวิทยาการในด้านนี้มีจากัด Gilbreth จึงมุ่งมัน่ แต่ในเรื่ องการวัดเพื่อเพิ่ม
ประสิ ทธิ ภาพของการเคลื่อนไหวในการทางานเท่านั้น อย่างไรก็ดี ผลงาน
การศึกษาของนักวิจยั อื่น ๆ ที่แสดงถึงความสาคัญของมนุษย์ต่อการทางานก็ได้
ปรากฏ ในระยะต่อมา
• การประชุมทางวิชาการครั้งแรกเพื่อแลกเปลี่ยนความรู ้เกี่ยวกับผลกระทบของ
สิ่ งแวดล้อมในการทางานที่มีต่อสมรรถภาพของคนถูกจัดให้มีข้ ึนภายหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อกลุ่ม Industrial Fatigue (ภายหลังคือ Industrial Health)
Research Board ได้ถกู จัดตั้งขึ้นในประเทศอังกฤษ งานศึกษาวิจยั เริ่ มมีมากขึ้น
ประมาณปี พ.ศ. 2475 ขณะที่ภาวการณ์วา่ งงานได้ขยายตัวไปอย่างมากและการใช้
กาลังงานของคนงานเป็ นไปอย่างไม่มีประสิ ทธิ ภาพ
• วิธีการวิจยั แผนใหม่ได้เริ่ มมีข้ ึนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อมีการพบว่าขีด
ความสามารถของคนงานถูกจากัดโดยสมรรถนะของเครื่ องมืออุปกรณ์ที่ซบั ซ้อน
เช่น เครื่ องบินและเรดาร์ เป็ นต้น อุปกรณ์เหล่านี้ควรทางานได้ดีภายใต้ขีดจากัด
ของความสามารถของผูใ้ ช้งาน ทั้งนี้กเ็ พราะว่าการคัดเลือกและการฝึ กคนให้
เหมาะสมกับเครื่ องมืออุปกรณ์น้ นั เริ่ มจะเป็ นเหตุผลที่ยอมรับไม่ได้ในโลกที่
พัฒนาแล้ว
• การแก้ปัญหาในเรื่ องนี้ ได้มีการประสานความรู ้กนั เป็ นครั้งแรกระหว่างสาขาวิชา
ต่าง ๆ คือ ชีววิทยา การแพทย์ และวิทยาศาสตร์ กายภาพ ความสนใจในเรื่ อง
ลักษณะเดียวกันได้เริ่ มขึ้นที่สหรัฐอเมริ กา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2491 และใช้ชื่อ
วิทยาการว่า Cybernetics ซึ่ งเป็ นการศึกษาการสื่ อความหมายและการควบคุมใน
สัตว์และเครื่ องจักรอุปกรณ์
• ในช่วงนี้เองที่ถือว่าเป็ นช่วงแห่ งการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดด้าน
Ergonomics กล่าวคือแต่เดิมมานักวิทยาศาสตร์เน้นการทดสอบเพื่อคัดเลือก
คนให้เหมาะสมกับงาน (put the right man to the right job) และเน้นการ
พัฒนาวิธีการฝึ กอบรมเพื่อพัฒนาคน ในช่วงนี้เองเริ่ มจะมีความเข้าใจที่ชดั เจน
ขึ้นว่า แม้จะอาศัยการคัดเลือกคน หรื อการฝึ กอบรมที่ดีกต็ าม การใช้เครื่ องมือ
หรื อเทคโนโลยีที่ซบั ซ้อนนั้นก็ยงั คงเกินขีดความสามารถของผูใ้ ช้อยูด่ ี จึงถึง
เวลาที่จะต้องเปลี่ยนแนวความคิดเสี ยใหม่ เป็ นการจัดเครื่ องมือหรื องานให้
เหมาะสมกับคนทางาน (put the right job to the right man)
• ช่วงปี พ.ศ. 2488 ถึงปี พ.ศ. 2503 ซึ่ งเป็ นช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี
พ.ศ. 2488 กองทัพอากาศและกองทัพเรื อของสหรัฐได้จดั ตั้งห้องปฏิบตั ิการ
วิศวกรรมจิตวิทยา (Engineering Psychology Laboratories) ขึ้น และใน
ขณะเดียวกันบริ ษทั เอกชนแห่ งแรกก็ได้จดั ตั้งงานทางด้านนี้ เช่นกัน
• ความพยายามควบคู่กนั ทั้งของรัฐและเอกชนนี้ เกิดขึ้นอีกในประเทศอังกฤษ
โดยการสนับสนุนของสภาวิจยั ทางการแพทย์ (The Medical Research Council)
และกรมการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม (The Department of
Scientific and Industrial Research) วิชาชีพ Ergonomics จึงถือกาเนิดขึ้นมา
ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นี่เอง
• สมาคมวิชาการได้ถกู จัดตั้งขึ้นตามมาเป็ นลาดับ เช่น The Ergonomics
Research Society ในปี พ.ศ. 2492 เป็ นการต้อนรับนักวิจยั โดยเฉพาะเรื่ อง
สมรรถภาพของมนุษย์ที่กลับจากการปฏิบตั ิหน้าที่ในสงครามโลก ครั้งที่ 2
เพื่อให้มาร่ วมประชุมศึกษาแลกเปลี่ยนความรู ้ดา้ นวิทยาการทางาน ตลอดจน
การประยุกต์ใช้ความรู ้น้ นั ในงานอุตสาหกรรม
• ได้มีหนังสื อเล่มแรกได้รับการตีพิมพ์ข้ ึนโดยใช้ชื่อว่า Applied Experimental
Psychology : Human Factors in Engineering Design (Chapanis, Garner, and
Morgan, 2492) หลังจากนั้นอีกไม่กี่ปีก็มีการจัดประชุมหลายครั้ง มีเอกสาร
ตีพิมพ์จานวนมาก มีหอ้ งทดลอง และมีบริ ษทั ที่ปรึ กษางานทางด้านนี้ เกิดขึ้น
อีกมากมาย
• ในปี พ.ศ. 2500 วารสาร Ergonomics ฉบับแรกได้ถกู จัดพิมพ์ข้ ึน และพร้อมกัน
นั้น The Human Factors Society ซึ่ งปัจจุบนั เรี ยก The Human Factors and
Ergonomics Society และ ก็ได้ถกู จัดตั้งขึ้นในสหรัฐอเมริ กา และหนังสื อ Human
Factors in Engineering and Design (Sanders and McCormick, 2500) ก็ได้รับการ
ตีพิมพ์ข้ ึนเป็ นครั้งแรกในปี นี้ เอง
• ต่อมา International Ergonomics Association ก็ได้เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2502
ภายหลังจากการประชุมนานาชาติที่เมือง Leyden ในปี พ.ศ.2500 เรื่ อง “to promote
the application of the human biological sciences to industrial and equipment
design” เพื่อเป็ นแกนกลางเชื่อมต่อระหว่าง Human Factors และ Ergonomics
Societies ของนานาประเทศทัว่ โลก
• ในประเทศออสเตรเลียได้มีการจัดประชุมวิชาการครั้งแรกที่เมือง Adelaide ในปี
พ.ศ. 2507 และมีการจัดตั้ง Ergonomics Society of Australia ขึ้น
• ในอีก 2 ปี ต่อมา ในประเทศญี่ปุ่นได้มีสมาคมการวิจยั ทาง Ergonomics (The
Japan Ergonomics Research Society) เกิดขึ้นโดยแตกสาขาออกไปตามภาคต่าง ๆ
7 สาขา ทัว่ ประเทศ โดยกาหนดงานวิจยั มุ่งเน้นแนวคิดในด้านคน (human being)
เพื่อประเมินคนที่ตอ้ งทางานกับวัตถุโดยเชื่อว่าคนมีระบบ (man system) ของตัวเอง
และมีเงื่อนไข (condition) ต่อระบบนั้น ๆ โดยคนมีส่วนประกอบหลายส่ วน ซึ่ งมี
ความสัมพันธ์กนั ในแต่ละส่ วนและมีความมุ่งหวังทั้งในด้านการมีชีวิตอยูแ่ ละมี
กิจกรรมในสังคมนั้น ๆ ด้วย
• ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 เป็ นต้นมา Ergonomics ยังคงเติบโตไปเรื่ อย ๆ ด้วยจานวน
สมาชิกใน The Human factors Society ซึ่ งเพิ่มขึ้นสู งกว่า 4,000 คน ในปี พ.ศ.
2529
• หลังจากนั้นวิวฒั นาการทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ กไ็ ด้มีส่วนผลักดันให้
Ergonomics เป็ นที่รู้จกั กันมากขึ้น ดังจะเห็นได้จากการกล่าวถึงกันมากใน
นิตยสารและหนังสื อพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ และในกลุ่มผูใ้ ช้
คอมพิวเตอร์เองในหัวข้อเรื่ องการออกแบบอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Ergonomics ใน
สานักงานทัว่ ไป การผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ได้ง่าย ซึ่ งเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ ได้กลายเป็ นสิ่ งท้าทายใหม่สาหรับนัก Ergonomics โดยได้ให้ความ
สนใจในเรื่ องของอุปกรณ์ เครื่ องควบคุมใหม่ ๆ ข้อมูลข่าวสารทางจอภาพ
คอมพิวเตอร์ และผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ต่อผูใ้ ช้
• สาหรับประเทศไทยและประเทศในกลุ่มอาเซี ยน ความรู ้ในวิทยาการด้านนี้ยงั มีผรู้ ู้
ค่อนข้างจากัด จึงได้มีการรวมตัวกันในลักษณะของกลุ่มอาเซี ยนจัดเป็ น South East
Asian Ergonomics Society (SEAES) มีสมาชิกจาก 6 ประเทศ คือ บรู ไน
อินโดนีเซี ย มาเลเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ และประเทศไทย ซึ่ งจัดให้มีการประชุม
ทุก 3 ปี และได้จดั ประชุมครั้งแรกที่เมืองจาร์ กาตา ประเทศอินโดนีเซี ย ในปี พ.ศ.
2528 การประชุมครั้งที่สองจัดขึ้นที่เมือง Denpasar เกาะบาหลี ประเทศ
อินโดนีเซี ย ในปี พ.ศ. 2531 ครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่กรุ งเทพมหานคร ร่ วมกับการประชุม
ของสมาคมทางการแพทย์และสาธารณสุ ข Asian Association Occupational Health
• เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน 2534 (ACOH/SEAES 1991) การประชุมครั้งที่ 4
ของสมาคม SEAES ได้จดั ให้มีข้ ึนในกรุ งเทพมหานคร เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี
พ.ศ. 2537 ครั้งที่ 5 จัดขึ้นที่เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซี ย ในช่วงปลายปี
พ.ศ. 2540 จากนั้นประเทศไทยก็ได้มีความพยายามที่จะจัดตั้งสมาคมการยศาสตร์
ไทย (Ergonomics Society of Thailand) กันมาอย่างต่อเนื่อง จนประสบความสาเร็ จ
ในปี พ.ศ. 2544 โดยใช้อาคารสถาบันความปลอดภัยในการทางาน เขตตลิ่งชัน
กรุ งเทพมหานครเป็ นสถานที่ต้ งั สมาคม
จากประวัติความเป็ นมาของการยศาสตร์ ต้ งั แต่ในอดีตกาลจนถึงปั จจุบนั ทาให้ทราบ
แนวความคิดที่ปรับเปลี่ยนและพัฒนาไปตามยุคสมัยกล่าวคือ
• อดีตกาล เน้นการจัดคนให้เหมาะกับงาน (ไม่ได้ใช้วธิ ี การของการยศาสตร์ )
• อดีต เน้นการจัดงานให้เหมาะกับคน (Put the right job to the right man)
• ปัจจุบนั เน้นการออกแบบและปรับปรุ งเครื่ องมือ อุปกรณ์ สภาพการทางานและ
สิ่ งแวดล้อมในการทางานให้เหมาะสมกับคนทางาน (โดยวิธีการออกแบบตามหลักการย
ศาสตร์ )
• อนาคต เน้นการนาเอาปั จจัยมนุษย์ อันได้แก่ ความสามารถพื้นฐานและข้อจากัดต่าง ๆ
ของมนุษย์กบั ทัศนคติและความต้องการด้านต่าง ๆ มาพัฒนาระบบงานที่ก่อให้เกิดสภาพ
การทางานที่มีประสิ ทธิภาพ ซึ่ งเป็ นผลให้พนักงานมีสุขภาพอนามัย ความปลอดภัยและ
คุณภาพชีวิตที่ดี
ขอบเขตและความสาคัญของการยศาสตร์ :
แนวคิดอีกแง่หนึ่งของการยศาสตร์ ได้มาจากทฤษฎีระบบทัว่ ไปซึ่ งถือว่า
ระบบใดก็ตามจะทางานได้ดีมีประสิ ทธิ ภาพต้องอาศัยปั จจัยที่จาเป็ น 2 อย่าง
คือ
• องค์ประกอบของระบบจะต้องได้รับการออกแบบอย่างถูกต้องและ
• องค์ประกอบต้องทางานเข้ากันได้เป็ นอย่างดี เพื่อนาไปสู่ เป้ าหมายเดียวกัน
ตัวอย่างที่แสดงถึงหลักการทั้งสองอาจพิจารณาได้จากความต้องการเครื่ องยนต์
คุณภาพเยีย่ มโดยการเลือกชิ้นส่ วนที่มีคุณภาพสู ง เช่น คาร์ บูเรเตอร์ เสื้ อสู บ
ข้อเหวีย่ ง ฯลฯ ที่หามาได้ในท้องตลาด แล้วนามาประกอบเข้าด้วยกัน
โอกาสที่เครื่ องยนต์ที่ประกอบขึ้นโดยวิธีน้ ี จะใช้การได้ดีมีนอ้ ยมาก
หรื ออาจไม่มีเลย ไม่วา่ ชิ้นส่ วนแต่ละชิ้นจะออกแบบและสร้างอย่างวิเศษเพียงใด
เนื่องจากชิ้นส่ วนอาจจะทางานด้วยกันไม่ได้ ในทานองเดียวกันผูใ้ ช้หรื อคนงาน
ก็จะต้องเป็ นศูนย์กลางของระบบคน-เครื่ องจักร ถ้าคนไม่อาจทาหน้าที่
ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ผลงานของทั้งระบบจะกระทบกระเทือน หรื อผิดพลาดได้
ขอบเขตของการยศาสตร์ตามแนวคิดของประเทศที่พฒั นาแล้วถือ
เป็ นสหวิทยาการ Woodson และ Conover (1964) ได้สรุ ปรายวิชา
พื้นฐานและประยุกต์ที่ผศู ้ ึกษาด้านการยศาสตร์ ควรมีความรู ้ดงั นี้
พืน้ ฐาน
จิตวิทยา
ประสาทสรี รวิทยา
สรี รวิทยา
กายวิภาคศาสตร์
มานุษยวิทยา
สังคมวิทยา
ฟิ สิ กส์
คณิ ตศาสตร์
เคมี
ชีววิทยา
ประยุกต์
วิศวกรรมศาสตร์
การศึกษาการทางาน
การวิจยั การดาเนินงาน
Cybernetics
สถิติประยุกต์
จิตวิทยาอุตสาหกรรม
อาชีวอนามัย
เวชศาสตร์อุตสาหกรรม
กายภาพบาบัด
ความปลอดภัย
จะเห็นว่ามีการนาเอาวิชาการหลายสาขามาเป็ นประโยชน์ในการศึกษาวิชาการยศาสตร์
• สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ ทาให้เข้าใจถึงการทางานของอวัยวะส่ วนต่าง ๆ และ
โครงสร้างของมนุษย์ ตลอดจนขนาดสัดส่ วนของร่ างกาย
• จิตวิทยาและสรี รวิทยารวมกัน ทาให้มีความรู ้เกี่ยวกับการทางานของระบบประสาท
และสมอง ตลอดจนกระบวนการวินิจฉัยสั่งการ การทดสอบทางจิตวิทยาทาให้
สามารถอนุมานพฤติกรรมของมนุษย์ได้
• อาชีวอนามัย จะเอื้ออานวยให้มีความสามารถประเมินสภาพการทางานที่เป็ น
อันตรายต่อมนุษย์
• วิศวกรรมศาสตร์ ทาให้เข้าใจถึงข้อจากัดทางเทคนิคการผลิต และการให้บริ การของ
กิจการอุตสาหกรรมตลอดจนข้อยืดหยุน่ (flexibility) ต่างๆ ของเทคโนโลยีเหล่านั้น
ตามขอบเขตของการยศาสตร์ สามารถแบ่งออกเป็ นหมวดหมู่ได้ ดังต่อไปนี้
1. การศึกษาและวิเคราะห์ถึงองค์ประกอบของงาน (Work Organization) และเวลา
การทางาน (Working Time) รวมถึงการปฏิบตั ิงานเป็ นกะและการปฏิบตั ิงานในเวลา
กลางคืน (Shift and Night Work)
2. การออกแบบสถานที่ปฏิบตั ิงาน (Work Design) และการออกแบบอุปกรณ์
เครื่ องมือที่ใช้ในการปฏิบตั ิงาน (Equipment Design)
3. การศึกษาถึงความหนักเบาของงาน (Work Load) และสรี รวิทยาในการทางาน
4. การศึกษาท่าทางในการปฏิบตั ิงาน (Work Posture) และการยกขนย้ายวัสดุสิ่งของ
(Materials Handling)
5. การออกแบบและปรับปรุ งสิ่ งแวดล้อมในการทางาน (Working Environment)
6. การศึกษาและวิเคราะห์การถ่ายทอดและรับส่ งข้อมูล (Information Transfer )
ความสาคัญของการยศาสตร์ :
หลักวิชาการยศาสตร์ สามารถนาไปประยุกต์เข้ากับธุรกิจอุตสาหกรรมได้ ได้แก่
• การออกแบบ การเปลี่ยนแปลง การบารุ งรักษาอุปกรณ์ เครื่ องมือเครื่ องใช้ เพื่อ
เพิม่ ประสิ ทธิ ภาพในการผลิตและได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ
• การออกแบบ การเปลี่ยนแปลงสถานที่ทางาน การวางผังโรงงาน โดยมุ่งเน้น
ความสะดวกสบาย ความรวดเร็ วในการทางาน ความยืดหยุน่ ในการใช้สถานที่
รวมถึงความง่ายในการบารุ งรักษา
ความสาคัญของการยศาสตร์ :
• การออกแบบ การเปลี่ยนแปลงวิธีการทางาน รวมถึงการนาเอาระบบ
การทางานที่เป็ นระบบอัตโนมัติเข้ามาช่วยในการทางาน การจัดสรร หรื อ
คัดเลือกคนทางานโดยพิจารณาขนาดสัดส่ วนของร่ างกายให้เหมาะสมกับ
อุปกรณ์ หรื อเครื่ องจักรแต่ละชนิดที่ใช้ทางาน รวมถึงพิจารณาให้เหมาะสมกับ
ความสามารถและความชานาญของแต่ละบุคคลด้วย
• การควบคุมปัจจัยทางฟิ สิ กส์ (เช่น ความร้อน ความเย็น เสี ยง การ
สัน่ สะเทือน และแสง เป็ นต้น) ในสถานที่ที่ทางานให้มีความปลอดภัยเพื่อให้
เกิดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลในการผลิต
การไม่นาเอาความรู ้เรื่ องการยศาสตร์ ไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ
อาจก่อให้เกิดความสู ญเสี ยดังต่อไปนี้
• ผลผลิตโดยรวมลดลง
• สู ญเสี ยเวลาที่ใช้ในการผลิตโดยไม่จาเป็ น
• ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลมากขึ้น
• อัตราการขาดงานและลาออกเพิ่มมากขึ้น
• คุณภาพของงานลดลง
• ผูป้ ฏิบตั ิงานมีความล้าและความเครี ยดเพิ่มขึ้น
• อัตราความผิดพลาดและอุบตั ิเหตุมีโอกาสที่จะเกิดมากขึ้น ฯลฯ
หากนาหลักการทางการยศาสตร์ ไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ
อาจก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้
• ทาให้คนงานมีขวัญ กาลังใจในการทางานดีข้ ึน
• ทาให้คุณภาพการทางานดีข้ ึน
• เป็ นการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางาน
• ผลผลิตเพิม่ ขึ้น
• ลดการขาดงาน
• ลดความถี่ของการเข้า-ออกงาน
• การประสบอันตรายทางด้านการยศาสตร์ลดลง
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่ อคนงาน :
สาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะความเครี ยดในการทางานและการประสบอันตรายจาก
การทางาน
• ความซับซ้อนและความหลากหลายของเครื่ องมือที่ใช้ในการทางาน
• สภาพการทางานที่ผิดปกติ (เช่น มีความร้อนมากเกินไป เสี ยงดัง
สัน่ สะเทือนมาก มีแสงสว่างมาก หรื อน้อยเกินไป มีวตั ถุมีพิษ เป็ นต้น)
• ภาระงานทางด้านร่ างกายและจิตใจ
ปัจจัยหลายสาคัญที่มผี ลกระทบต่ อคนงาน
• สภาวะแวดล้อมในการทางาน (เช่น อุณหภูมิ การส่ องสว่าง เสี ยง) ในสถานที่ทางาน
• ความจาเป็ นที่จะต้องใช้ความสามารถ ตลอดจนข้อจากัดทั้งร่ างกายและจิตใจเพื่อ
ปฏิบตั ิงานในหน้าที่น้ นั ๆ
• การที่คนงานต้องทางานสัมผัสกับสารเคมีอนั ตราย
• อันตรกิริยา (interface) ระหว่างตัวคนงานเองและเครื่ องมือในการทางานนั้น ๆ
• ความเครี ยดเนื่องจากความร้อน (heat stress) เกิดขึ้นเนื่องจากการอยูใ่ กล้กบั แหล่งของ
ความร้อนมากเกินไป มีผลทาให้ร้อน เหงื่อออก หงุดหงิด ไม่มีสมาธิ เป็ นต้น
• ความเครี ยดเนื่องจากความเย็น (cold stress) โดยอาจทาให้เกิดความเจ็บปวดเนื่องจาก
ความเย็น (frost-bite) และถ้าหากอุณหภูมิในร่ างกาย ต่ากว่า 35 °C หรื อที่เรี ยกว่าอาการ
hypothermia
• การจัดแสงสว่างที่ไม่เหมาะสม (poor illumination) มีผลกระทบโดยตรงกับ
สายตา อาจปวดตาระคายเคืองตาได้ ถ้ามีแสงน้อยอาจเป็ นสาเหตุของการเกิด
อุบตั ิเหตุต่าง ๆ ได้
• เสี ยงดังและการสั่นสะเทือน (noise & vibration) เสี ยงที่ดงั จนเกินไปเป็ นอุปสรรค
ต่อการสื่ อสารตลอดจนรบกวนเยือ่ แก้วหูจนอาจฉี กขาดได้ และอาจเป็ นอันตรายต่อ
หูจนถึงขั้นหูหนวก หรื อส่ งผลให้เกิดอุบตั ิเหตุตามมา การสั่นสะเทือนอยูต่ ลอดเวลา
อาจทาให้สุขภาพเสื่ อม
การนาเอาเทคโนโลยีทางด้าน automation หรื อระบบการทางานที่เป็ นระบบ
อัตโนมัติเข้ามาช่วยในการทางาน มีผลให้สามารถตัดสาเหตุที่กล่าวมาข้างต้นให้
หมดไปได้ เพราะเครื่ องจะทางานของมันเองโดยมีคนช่วยทาน้อยมาก แต่อย่างไรก็
ดี งานบางประเภทยังจาเป็ นที่จะต้องอาศัยคนในการทาอยู่ ถึงแม้ในปั จจุบนั
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ วก็ตาม
• ภาระงานทางกาย ทาให้เกิดความเครี ยดในด้านชีวกลศาสตร์ และสรี รวิทยา
ในขณะที่กาลังทางานอยูค่ วามสาคัญของเรื่ องนี้ เน้นในเรื่ องสุ ขภาพและความ
ปลอดภัย
• ภาระงานทางจิตใจ เกิดขึ้นกับคนงานได้ในสองกรณี (1) เมื่อรับภาระทาง
สังคมมากเกินไปก่อนหรื อขณะที่มารับภาระในงาน (2) เมื่อร่ างกายเริ่ มมีอาการ
เมื่อยล้าขึ้นจากการรับภาระงานทางกายมากไปจนไม่มีสมาธิ ในการทางาน
• การนาสารเคมีอนั ตรายมาใช้หลายชนิ ด บางชนิดมีความร้ายแรงจนไม่สามารถ
อยูใ่ กล้ได้ บางชนิดก่อให้เกิดอาการบาดเจ็บร้ายแรงและเรื้ อรัง ตลอดจน
ก่อให้เกิดการเจ็บป่ วยจนต้องเข้าโรงพยาบาล
วัตถุประสงค์ และองค์ ความรู้
1. เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลในการทางาน โดยทาให้งานนั้นทาได้
ง่ายขึ้น ลดข้อผิดพลาดในการทางานให้นอ้ ยลง สามารถทางานได้รวดเร็ วขึ้น รวมถึงการ
เพิ่มความสะดวกสบายในการใช้อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ต่าง ๆ ด้วย ซึ่ งอาจสามารถลด
อุบตั ิเหตุและสามารถเพิม่ ผลผลิตไปพร้อม ๆ กัน
2. เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของคน ในด้านการเพิ่มความปลอดภัย การลดความ
เมื่อยล้าและความเครี ยดจากการทางาน การเพิ่มความสะดวกสบายในการทางาน การเพิ่ม
ความพึงพอใจในงานที่ตนเองทาอยู่ ซึ่ งจะเป็ นการพัฒนาหรื อปรับปรุ งคุณภาพชีวิตของ
ผูป้ ฏิบตั ิงานให้ดีข้ ึนและก่อให้เกิดการยอมรับของผูใ้ ช้ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่
องค์ ความรู้ ทเี่ ป็ นส่ วนประกอบสาคัญในทางการยศาสตร์
1. ด้ านร่ างกาย ประกอบด้วย
1.1 ลักษณะของร่ างกาย กล่าวคือมนุษย์เป็ นสิ่ งมีชีวติ สามารถยืนบนเท้า 2 เท้า มีมือซึ่งมีนิ้ว 5 นิ้ว และ
นิ้วหัวแม่มือสามารถกาเข้าหานิ้วอื่น ๆ ได้
1.2 ระบบการสร้างพลังงานของร่ างกาย เช่น พลังงานความร้อนและพลังงานกล้ามเนื้อ
1.3 ระบบการรักษาอุณหภูมิของร่ างกายให้คงที่
1.4 ระบบประสาทซึ่งประกอบด้วย ระบบรับสัญญาณ ระบบรับรู้ และระบบควบคุมสัง่ การ
1.5 ระบบรับสัญญาณประกอบด้วยระบบประสาททั้ง 6 คือ ความสว่าง ความดัง ความร้อน รสสัมผัส และ
ตาแหน่ง หรื อการเคลื่อนไหว (Kinesthetic) ระบบรับรู้ (cognitive system) ซึ่ งเป็ นระบบควบคุมและสัง่ การ
เป็ นระบบประสาทที่เรี ยกชื่อกันว่า motor nerve system
1.6 ทุกระบบดังกล่าวมีสมรรถนะและมีขอ้ จากัด และข้อจากัดเหล่านี้กอ็ าจเปลี่ยนแปลง หรื อเสื่ อมลงตามอายุ
การทางานและอายุคน
2. ด้ านจิตใจ ประกอบด้วยจิตวิทยาแรงจูงใจและพฤติกรรมของบุคคลซึ่ งเรี ยกกันว่าบุคลิกภาพนัน่ เอง
เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงองค์ความรู้ที่เป็ นส่ วนประกอบสาคัญในทางการยศาสตร์มากยิง่ ขึ้น เราจึง
ควรพิจารณาที่ผปู้ ฏิบตั ิงานที่ทางานใดงานหนึ่ง แล้วลองตั้งคาถามต่อบุคคลที่ทางานนั้นเกี่ยวกับเรื่ อง
ต่อไปนี้
• บุคคลที่ทางานนั้นมีพลังงาน (Energy) เพียงพอที่จะทางานชิ้นนั้นหรื อไม่ บุคคลที่ทางานนั้นได้ใช้
พลังงานไปในรู ปของการออกแรง (Application of forces) อย่างมีประสิ ทธิภาพหรื อไม่
• ท่าทาง หรื ออิริยาบถการทางาน (posture) ของบุคคลที่ทางานนั้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตาแหน่งของ
ศีรษะ ตาแหน่งของร่ างกายและตาแหน่งของงานนั้นถูกต้องและเหมาะสมกับลักษณะของงานที่ปฏิบตั ิ
หรื อไม่
• สภาวะแวดล้อม (Environmental conditions) ในขณะทางาน เป็ นต้นว่า ความร้อน แสงสว่าง เสี ยง
และการสัน่ สะเทือน นั้นเหมาะสมหรื อไม่
• สภาวะด้านเวลา (Temporal conditions) เป็ นต้นว่า ชัว่ โมงการทางาน วันหยุดพักผ่อน ช่วงหยุดพัก
ในระหว่างการทางาน และรู ปแบบของการทางานเป็ นผลัดหรื อกะของบุคคลนั้นมีความเหมาะสม
หรื อไม่
• ถ้าหากมีเครื่ องจักรเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย คาถามก็คือ ปฏิสมั พันธ์ระหว่างคนกับเครื่ องจักร
(man-machine interaction) เป็ นต้นว่า การจัดแบ่งหน้าที่ การออกแบบเครื่ องแสดงต่าง ๆ และ
การควบคุมต่าง ๆ ตลอดจนการออกแบบอุปกรณ์ความปลอดภัย และการฝึ กอบรมพนักงาน
ควบคุมนั้นมีความเหมาะสมหรื อไม่
คาถามทั้ง 8 คาถามที่กล่าวมานั้น เมื่อนาเข้ามาประมวลกันก็จะได้เป็ นองค์ความรู้
ที่เป็ นส่ วนประกอบสาคัญในทางการยศาสตร์
องค์ความรู้ที่เป็ นส่ วนประกอบสาคัญในทางการยศาสตร์อาจจัดให้เป็ นหมวดหมู่ หรื อกลุ่มวิชา ต่าง ๆ
ได้ 4 กลุ่ม ดังนี้
1. กลุ่มกายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) ซึ่งจะกล่าวถึง
• ขนาดสัดส่ วนร่ างกายมนุษย์ (anthropometry) ซึ่ งโดยปกติแล้วจะมุ่งพิจารณาถึงปั ญหาที่เกิดจาก
ขนาด รู ปร่ างของคนและอิริยาบถ หรื อท่าทางการทางานของคน ทั้งนี้มีการศึกษาเกี่ยวกับขนาด
สัดส่ วนของร่ างกายมนุษย์เพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักร
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล รวมถึงสถานที่ทางานเพื่อให้สภาพการทางานนั้นเหมาะสมกับ
คนทางานให้มากที่สุด ทั้งนี้แบ่งได้เป็ นการวัดขนาดสัดส่ วนร่ างกายมนุษย์ในท่านิ่งอยูก่ บั ที่ (static
dimension) และในท่าที่กาลังเคลื่อนไหวหรื อทางาน (dynamic dimension)
• ชีวกลศาสตร์ (biomechanics) จะมุ่งพิจารณาถึงปั ญหาที่เกิดจากการออกแรง หรื อใช้แรงใน
ขณะที่คนกาลังเคลื่อนไหว หรื อทางาน ทั้งนี้มีการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของส่ วนต่าง
ๆ ของร่ างกายที่เกี่ยวข้องกับการทางาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การศึกษาการออกแรงและผลของแรงที่
กระทาต่อส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกาย วิชาการในแขนงนี้มีประโยชน์ในการประเมินการออกแบบงาน
หรื อสถานที่ทางานว่ามีความเหมาะสมกับความสามารถ หรื อข้อจากัดของผูป้ ฏิบตั ิงานเพียงใด
2. กลุ่มสรี รวิทยา (Physiology)
2.1 สรี รวิทยาการทางาน (work physiology) จะมุ่งพิจารณาถึงการใช้พลังงานของร่ างกาย
ในขณะทางาน ถ้าหากงานนั้นเป็ นงานหนัก พลังงานที่ใช้ไปในการทางานก็ตอ้ งมาก ซึ่ ง
อาจจะก่อให้เกิดปั ญหาต่อสุ ขภาพได้
2.2 สรี รวิทยาสิ่ งแวดล้อม (Environmental physiology) จะมุ่งพิจารณาถึงผลกระทบต่อ
สุ ขภาพที่เกิดจากการทางานที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งแวดล้อมในการทางานด้านกายภาพ เช่น ความ
ร้อน แสง เสี ยง ความสัน่ สะเทือน ความดันอากาศ เป็ นต้น เพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการ
ปรับปรุ งสิ่ งแวดล้อมในการทางานต่อไป
3. กลุ่มจิตวิทยา (Psychology)
3.1 จิตวิทยาความชานาญ (Skill psychology) จะเกี่ยวข้องกับความเข้าใจในลักษณะงาน
ของบุคคล ความสามารถหรื อทักษะของมนุษย์ในการรับรู้ขอ้ มูล แปลความหมาย
ตลอดจนใช้ขอ้ มูลนั้นในการตัดสิ นใจในการทางานนั้น ๆ เพื่อป้ องกันมิให้เกิดความ
ผิดพลาดในการทางาน หรื อลดความผิดพลาดในการทางานให้นอ้ ยลง
3.2 จิตวิทยาการทางาน (occupational psychology) จะมุ่งพิจารณาด้านจิตวิทยาของ
มนุษย์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทางาน ทั้งนี้จะหมายรวมถึงปั ญหาสภาวะด้านเวลาและ
สภาวะทางสังคมของบุคคลด้วย โดยอาจกระตุน้ ผูป้ ฏิบตั ิงานในลักษณะต่าง ๆ เช่น การ
ใช้สิ่งจูงใจ การฝึ กอบรม การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูป้ ฏิบตั ิงาน ซึ่ งจะมีความแตกต่างกัน
ไปในแต่ละบุคคล ทั้งนี้เพื่อที่จะได้ทราบแนวทางที่เหมาะสมในการออกแบบ หรื อ
พัฒนางานได้ต่อไป
4. กลุ่มวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ กายภาพ (Engineering and physical
science)
4.1 วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial engineering) จะมุ่งพิจารณาถึงการออกแบบ
อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ รวมถึงสถานที่ทางานและสถานีงานให้เกิดความ
เหมาะสม สะดวกสบายและปลอดภัยในการทางาน ซึ่ งจะก่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและ
ประสิ ทธิผลในการทางาน
4.2 วิศวกรรมระบบ (System engineering) จะมุ่งพิจารณาถึงข้อจากัดทางเทคนิคการ
ผลิต ตลอดจนข้อยืดหยุน่ ในการนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการออกแบบระบบงาน
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน
องค์ประกอบทั้ง 4 กลุ่มดังกล่าวนั้นจะผสมผสานสัมพันธ์กนั ตามแผนภูมิ