บทที่ 1 ภาพรวมของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

Download Report

Transcript บทที่ 1 ภาพรวมของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

บทที่
1
ภาพรวมของการวิเคราะหเชิ
์ งปริมาณ
บทนา
1.
ในช่วงทศวรรษทีผ
่ านมานี
้
่
ธุรกิจหรือองคกรต
าง
ๆ ไดมี
่
้ การ
์
เติบโตอยางมาก
มีการขยายขนาด
่
ขององคกร
ทาให้มีการควบคุมดูแล
์
ตองเป็
นไปอยางมี
ระบบ ผู้บริหารของ
้
่
องคกรธุ
รกิจจะตองมี
หน้าทีส
่ าคัญ
้
์
อยางหนึ
่ง ก็คอ
ื การตัดสิ นใจหา
่
ทางเลือกเพือ
่ แกปั
้ ญหา การตัดสิ นใจ
ดังนั้นเพือ
่ ให้การตัดสิ นใจเกิด
การผิดพลาดน้อยลงหรือเพือ
่ ให้การ
ตัดสิ นใจมีความถูกตองมากขึ
น
้ เรา
้
จะตองมี
เครือ
่ งมือเพือ
่ ช่วยในการ
้
ตัดสิ นใจ ซึง่ เครือ
่ งมือทีส
่ าคัญอยาง
่
หนึ่งก็คอ
ื การวิเคราะหเชิ
์ งปริมาณ
เช่น ผู้จัดการฝ่ายขายตัดสิ นใจ
กาหนดเงือ
่ นไข ในการขายใหมท
่ า
ให้มีผลกระทบตอยอดขายและก
าไร
่
ซึง่ การเปลีย
่ นแปลงนี้สามารถวัดได้
ลักษณะเชิงปริมาณ
ความหมายของการวิเคราะหเชิ
์ ง
ปริมาณ
การวิเคราะหเชิ
์ งปริมาณ
(Quantitative Analysis)
เป็ นการนาระเบียบวิธท
ี าง
วิทยาศาสตร ์ มาใช้ในการตัดสิ นใจ
ในงานดานบริ
หาร ภายใตเงื
่ นไข
้
้ อ
ทางดานทรั
พยากรทีม
่ อ
ี ยูจ
้
่ ากัด
เพือ
่ ให้ไดผลดี
ทส
ี่ ุด
้
กลาวอี
กนัยหนึ่ง
หมายถึง
่
วิธก
ี ารหาคาตอบเพือ
่ แกปั
้ ญหาที่
เกิดขึน
้ โดยอาศัยหลักการทาง
คณิตศาสตรและสถิ
ตด
ิ วยวิ
ธก
ี ารสราง
้
้
์
เป็ นตัวแบบ (Model) ทาง
คณิตศาสตรเพื
่ จาลองสภาพของ
์ อ
ปัญหาทีเ่ กิดขึน
้ การตัดสิ นใจ
แกปั
้
้ ญหาจะอาศัยคาตอบทีไ่ ดจาก
การจัดการเชิงปริมาณโดยมาก
จะใช้คาวา่ การจัดการเชิงศาสตร ์
(Management Science) มากกวาการ
่
วิจย
ั ขัน
้ ดาเนินงาน (Operation
Research) เพราะความหมายของคา
หลังจะแคบกวา่
การวิจย
ั ขัน
้ ดาเนินงาน จะเป็ น
การสร้างและแกปั
้ ญหาตัวแบบทาง
คณิตศาสตร ์ สาหรับกระบวนการดาน
้
ปฏิบต
ั ก
ิ ารทัว่ ไป แตการจั
ดการเชิง
่
ลักษณะของการวิเคราะห์การจัดการเชิงปริมาณ
•
•
•
•
•
•
•
จะใช้หลักการอย่างมีหลักเกณฑ์
พิจารณาถึงเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์กร
ตระหนักถึงตัวแปรต่าง ๆ ของระบบที่ศึกษา
เน้ นการบรรลุสิ่งที่ดีที่สดุ
ผลลัพธ์สามารถพิสจู น์ ได้
ใช้ระบบทางานเป็ นทีม
ใช้คอมพิวเตอร์ในการคานวณเมื่อปัญหายุ่งยาก
สาเหตุหลักที่ทาให้การวิเคราะห์เชิงปริมาณได้รบั การ
นาไปประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย
• สภาพการแข่งขันทางธุรกิจ ทาให้ผบ้ ู ริหารต้องการ
เครื่องมือช่วยตัดสินใจที่แม่นยาขึน้
• การวิจยั และพัฒนาการทางกาวิเคราะห์เชิงปริมาณ
ทาให้วิธีเชิงปริมาณมีประสิทธิภาพมากขึน้
• การมีคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้งานคานวณที่ซบั ซ้อน
ทาได้อย่างรวดเร็ว และแม่นยามากขึน้
การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์เชิงปริมาณในการ
ตัดสินใจทางธุรกิจ
• นาไปใช้ในการตัดสินใจทางการผลิต
• นาไปใช้ในการตัดสินใจทางการตลาด
• นาไปใช้ในการตัดสินใจทางการเงินและการ
บัญชี
• นาไปใช้ในการตัดสินใจทางการจัดการและ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประยุกต์ใช้แบบจาลองเชิงปริมาณกับการ
ตัดสินใจมีหลายแบบ
• ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Theory) และทฤษฎีเกม (Game
Theory) ใช้ประยุกต์กบั การตัดสินใจ ภายใต้ภาวะที่ผบู้ ริหารมี
ทางเลือกหลายทาง และอาจเกิดสภาพต่าง ๆ ได้หลายอย่าง
ทฤษฎีการตัดสินใจ และทฤษฎีเกมจะให้กลยุทธ์ การตัดสินใจที่
ก่อใช้เกิดประโยชน์สงู สุด
• การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming) ใช้ประยุกต์กบั
ปัญหาการตัดสินใจในด้านการจัดสรรทรัพยากรที่มอี ยู่จากัด
เพื่อให้เกิดประโยชน์ สงู สุด เช่นการจัดสรรเงินทุนภายใต้เงื่อนไข
ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดผลตอบแทนสูงสุด เป็ นต้น
• แบบจาลอง PERT/CPM ใช้ประยุกต์กบั ปัญหาตัดสินใจ
ในการบริหารโครงการ โดยอาศัยการสร้างข่ายงานของ
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ต้องทาในโครงการแล้ววิเคราะห์ เพื่อ
หาระยะเวลาของโครงการตลอดจนการกาหนดแนวทาง
ในการเร่งรัดโครงการให้เสร็จเร็วขึน้ โดยเสียค่าใช้จ่ายให้
น้ อยที่สดุ
• แบบจาลงสินค้าคงเหลือ (Inventory Model)
ใช้ประยุกต์กบั ปัญหาการตัดสินใจในการกาหนดปริมาณ
การสังซื
่ ้อ และจัดเก็บสินค้าคงเหลือ ตลอดจนเวลาที่ควร
จะสังซื
่ ้อ เพื่อให้ต้นทุนการจัดเก็บสินค้าคงเหลือ
ประหยัดที่สดุ
• ตัวแบบแถวคอย (Queneing Model) ใช้ประยุกต์
กับปัญหาการตัดสินใจในการวิเคราะห์ เพื่อ
กาหนดจานวนบริการ เพื่อให้การจัดการแถวคอย
มีประสิทธิภาพสูงสุด
• ตัวแบบจาลองมารคอฟ (Markov Model) ใช้
ประยุกต์กบั ปัญหาการตัดสินใจที่ผบ้ ู ริหาร
ต้องการพยากรณ์ สิ่งที่สนใจโดยอาศัย การสร้าง
แบบจาลองที่มีตวั แปรที่เปลี่ยนแปลงไปตาม
สถานะต่าง ๆ เช่นการพยากรณ์ ส่วนแบ่ง
การตลาด การพยาการณ์หนี้ สญ
ู เป็ นต้น
• การจาลองปัญหา (Simulation) ใช้ประยุกต์กบั
ปัญหาการตัดสินใจในกรณี ที่การสร้าง
แบบจาลองทางคณิตศาสตร์อาจทาได้ยาก
หรือมีความซับซ้อนมากเกินกว่าที่จะสร้าง
แบบจาลองคณิตศาสตร์ได้ แบบจาลองการ
จาลองปัญหาเป็ นวิธีจาลองสภาพปัญหาด้วย
วิธีเชิงระบบ การหาคาตอบทาโดยวิธีทดลอง
หลาย ๆ ครัง้ แล้ว สรุปผลจากการทดลองเพื่อ
นาไปแก้ปัญหาต่อไป
กระบวนการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
• การวิเคราะห์และกาหนดปัญหา
• การเก็บข้อมูล
• การสร้างตัวแบบ
• การหาคาตอบจากตัวแบบ
• การวิเคราะห์คาตอบ
• การตัง้ ขอบข่ายการควบคุม
• การนาคาตอบไปปฏิบตั ิ
• การวิเคราะห์และกาหนดปัญหา
จะต้องระบุให้ได้ชดั เจนว่าปัญหาที่ประสบอยู่
นัน้ เป็ นปัญหาเกี่ยวกับอะไร และสามารถระบุได้ว่า
วัตถุประสงค์เป้ าหมายของปัญหาคืออะไร เช่นหา
กาไรสูงสุด หรือต้นทุนตา่ สุด และจะต้องกาหนด
ตัวแปรที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจนว่าตัวแปรใดบ้าง
ควบคุมได้ และควบควบไม่ได้ เป็ นต้น
• การเก็บข้อมูล
ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหา
นัน้ เพื่อที่จะนาไปสร้างตัวแบบในขัน้ ที่ 3
• การสร้ างตัวแบบ
เมื่อระบุปัญหาและเก็บรวบรวมข้ อมูลแล้ ว
จะแปรรูปแบบของปั ญหาให้ อยู่ในรูปของตัวแบบ
ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ สะดวกต่ อการวิเคราะห์
• การหาคาตอบจากตัวแบบ
จะทาการหาคาตอบจากตัวแบบที่ได้สร้างไว้ ซึ่งการหา
คาตอบในขัน้ นี้ จะมีการทาเป็ นขัน้ ตอนอย่างเป็ นระบบ
• การวิเคราะห์คาตอบ
เมื่อได้คาตอบจากตัวแบบแล้ว ผูบ้ ริหารจะต้อง
วิเคราะห์คาตอบอย่างระมัดระวังและรอบคอบเพื่อให้แน่ ใจ
ว่าคาตอบที่ได้มีความสมเหตุสมผล และสามารถนาไปปฏิบตั ิ
ได้ ถ้าคาตอบที่ได้ไม่ถกู ต้องเราก็ต้อง กลับไปเก็บข้อมูล หรือ
สร้างตัวแบบ หรือปรับปรุงตัวแบบใหม่จนได้ผลจากคาตอบ
เป็ นที่น่าพอใจ และแน่ ใจว่าตัวแบบ และข้อมูลต่าง ๆ มี
ความถูกต้อง
• การตัง้ ขอบข่ายการควบคุม
การตัง้ ขอบข่ายการควบคุมการใช้ตวั แบบ กล่าวคือ
ข้อสมมุติ และข้อจากัด ของตัวแบบจะกาหนดให้ชดั เจน ทัง้ นี้
เพราะคาตอบจากตัวแบบนัน้ เป็ นสิ่งซึ่งได้จากตัวแบบที่ถกู
สร้างขึน้ เพื่อจาลองสภาพของปัญหา ซึ่งไม่อาจแทนสภาพ
ทัง้ หมดได้
• การนาคาตอบไปปฏิบตั ิ
นาตัวแบบและคาตอบที่ได้ไปใช้ในการปฏิบตั ิ งานโดย
เลือกที่พิจารณาว่าสอดคล้องกับเงื่อนไขที่กาหนดไว้อย่าง
ถูกต้อง
ตัวแบบคณิตศาสตร์สาหรับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
• ตัวแบบคณิตศาสตร์ คือตัวแบบที่มีลกั ษณะ
เป็ นสมการหรือฟังก์ชนั ทางคณิตศาสตร์ที่
สร้างขึน้ โดยใช้ตวั แปรทางคณิตศาสตร์ ตัว
แปรต่าง ๆ จะแทนปัจจัยของระบบหรือปัญหา
ที่ต้องการศึกษา
ตัวแบบคณิตศาสตร์ที่มีการนาไปใช้อย่างแพร่หลาย
การวิเคราะห์เชิงปริมาร
• ตัวแบบตามสภาพที่แน่ นอน
ตัวแบบการตัดสินใจ
กาหนดการเชิงเส้ น
ตัวแบบการขนส่ ง
ตัวแบบของคงคลัง
ตัวแบบ CPM
• ตัวแบบสภาพที่ไม่แน่ นอน
 ตัวแบบการตัดสินใจ
 ทฤษฎีการแข่งขัน (เกม)
 ตัวแบบของคงคลัง
 ตัวแบบแถวคอย
 ตัวแบบการจาลองสถานการณ์
 ตัวแบบมาร์คอฟ
 ตัวแบบ PERT
บทบาทของวิทยาการคอมพิวเตอร์กบั การวิเคราะห์
เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการคานวณ
ที่มีตวั แปรต่าง ๆ เข้ามาเกี่ยวข้องมากมายที่มีขนาด
ใหญ่ ซึ่งจะทาให้ลดเวลาในการคานวณไปได้มาก ทัง้
ยังให้ผลลัพธ์ที่ถกู ต้องแม่นยา
โปรแกรมสาเร็จรูปเหล่านี้ ได้แก่ โปรแกรม
Lindo โปรแกรม QSB, โปรแกรม QM เป็ นต้น
สาเหตุของความล้มเหลวในการนาการวิเคราะห์เชิง
ปริมาณไป
•
•
•
•
•
•
ความบกพร่องในการระบุปัญหา
ต้องใช้เวลามาก กว่าจะได้ผลลัพธ์
เสียค่าใช้จ่ายสูง
พฤติกรรมของผูเ้ กี่ยวข้องที่ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
เน้ นด้านทฤษฎีมากเกินไป จนไม่สนใจการนาไปใช้จริง
ไม่สามารถทาให้ผเู้ กี่ยวข้องยอมรับและเชื่อมันในผลการ
่
คานวณได้
การวิเคราะห์เชิงปริมาณและการวิเคราะห์เชิง
คุณภาพ
• การตัดสินใจทางธุรกิจนัน้ ผูต้ ดั สินใจจะต้อง
คานึ งถึงปัจจัยทัง้ ในเชิงปริมาณ และเชิง
คุณภาพด้วย ทัง้ นี้ เนื่ องจากการวิเคราะห์เชิง
คุณภาพอาจมีผลกระทบต่อปัญหาเกิดขึน้ ได้
การแจกแจง
ปัญหา
สร้าง
ตัวแบบ
คณิต
ศาสตร์
การ
รวบรวม
ข้อมูล
ที่
เกี่ยวข้อง
การหา
ผลลัพท์
การ
ทดสอบ
รูปแบบ
และ
ผลลัพท์
การ
วิเคราะห์
ผลลัพท์
และ
ความไว
แสดงขัน้ ตอนของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การนา
ผลลัพท์
ประยุกต์
ใช้กบั
งานด้าน
ต่างๆ