สารสนเทศที่ไม่เป็นแบบเดียวกันและอสมมาตร (Heterogeneous and

Download Report

Transcript สารสนเทศที่ไม่เป็นแบบเดียวกันและอสมมาตร (Heterogeneous and

บทที่ 1
INFORMATION ECONOMICS
สารสนเทศ (Information) เป็ นปั จจัยที่ไม่
เหมือนปั จจัยอื่นๆ เพราะแพร่กระจายได้ง่าย แต่ยากที่
จะควบคุม ขณะเดียวกันก็มีความสาคัญสาหรับการ
ตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ ความล้มเหลวในการ
ส่งผ่านสารสนเทศอาจนามาซึ่งปั ญหาที่รา้ ยแรง เช่น
ความล้มเหลวของตลาดหรือฟองสบู่ทางการเงิน
การศึกษาเศรษฐศาสตร์สารสนเทศ (Information
economics) นั้น มีแนวทางการศึกษาอยู่ 3 แนวทางคือ
1. Man versus nature (ผูค้ นเผชิญกับธรรมชาติ)
2. Man versus man (ผูค้ นเผชิญกับผูค้ น)
3. Man versus himself (ผูค้ นเผชิญกับตนเอง)
จากการศึกษาของ Hal Varian พบว่า ปริมาณของ
สารสนเทศใหม่ที่จดั เก็บในรูปของสิ่งพิมพ์ ฟิ ล์ม แถบแม่เหล็ก
และการจัดเก็บทางออฟติกลั ในปี 2002 มีอยูป่ ระมาณ 5
x 1018 bytes หรือเท่ากับ 5 exabytes (
1 byte = 8 bits) เท่ากับห้องสมุดรัฐสภาของ
อเมริกา (Library of Congress) จานวน
37,000 แห่ง ปริมาณของสารสนเทศจะเพิ่มขึ้ นเท่ากับ
หนึ่ งในสามทุก ๆ ปี
จากที่อา้ งไว้ใน Wired.com แสดงว่าสารสนเทศที่มีเสนอ
สนองเราในปี 2009 มีจานวนถึง 800,000
petabytes ถ้าเราเก็บข้อมูลเหล่านี้ ลงใน DVDs เราจะ
สามารถกองสูงถึงดวงจันทร์ท้งั ไปและกลับทีเดียว และถึงปี
2020 ข้อมูลจะเพิ่มเป็ น 35 zettabytes หรือ 44
เท่าของปี 2009
เหตุผลที่เราศึกษาเศรษฐศาสตร์สารสนเทศเป็ นเพราะ
•สารสนเทศเป็ นสินค้าที่ น่าสนใจ เศรษฐศาสตร์เป็ นการเข้าใจเรื่อง
what, how, and for whom นักเศรษฐศาสตร์จึง
ต้องมุง่ ศึกษาตลาด ซึ่งเป็ นกลไกที่สาคัญในการนามาซึง่ คาตอบของ
what, how, and for whom แต่บทบาทของ
ตลาดเป็ นอะไรที่ไม่เคยเข้าใจได้ง่ายๆ อย่างที่คิด เพราะ “ความรู ้
เกี่ยวกับสถานการณ์ที่เราต้องนามาใช้น้ันไม่เคยปรากฎอยูใ่ นรูปแบบ
ที่รวมตัวกันหรือรวบรวมเอาไว้แล้ว แต่มกั กระจัดกระจายกันใน
รูปแบบที่ไม่สมบูรณ์ และแต่ละบุคคลมักจะมีความรูห้ รือสารสนเทศ
ที่ขดั แย้งกัน” Friedrich A. Von Hayek จึงกล่าวว่า
ปั ญหาทางเศรษฐศาสตร์ที่แท้จริงจึงเป็ นเรื่องของการทาอย่างไรใน
การที่จะรวบรวมสารสนเทศที่กระจัดกระจายกันเหล่านี้
• เศรษฐศาสตร์เป็ นเรื่ องเกี่ ยวกับสารสนเทศ เพราะ
สารสนเทศเป็ นสินค้า และตลาดรวบรวมเอาสารสนเทศที่แต่
ละบุคคลมีอยูเ่ ล็กๆ น้อยๆ เข้าด้วยกันเพื่อแสดงออกในระบบ
ราคา
• สารสนเทศมีความสาคัญทางกลยุทธ์ สารสนเทศเป็ น
รากฐานของเหตุการณ์และปั ญหาจานวนมากในโลกอย่าง
แท้จริง
สารสนเทศมีมิติที่ตอ้ งพิจารณาอยู่ 2 มิติคือ ด้านวิศวกรรม
(engineering) และด้านความหมาย (semantic)
โดยมิติดา้ นวิศวกรรมของสารสนเทศนั้นจะพิจารณาปั ญหาเช่น จะ
ส่งผ่านสารสนเทศจากผูส้ ่งไปถึงผูร้ บั ให้มากที่สุดได้อย่างไร ภายใต้
เงื่อนไข 1. ช่องทางการส่งผ่านมีความสามารถจากัด และ 2. การ
ส่งผ่านอาจถูกรบกวนโดยคลื่นบางอย่างจากภายนอก ปกติจึงมักต้อง
มีการยอมแลก (trade-off) บางอย่างระหว่างความมี
ประสิทธิภาพ (efficiency) กับความถูกต้องแม่นยา
(robustness) แลกกับความผิดพลาดในการส่งผ่าน
มิติทางด้ านความหมายของสารสนเทศแสดงว่า ข้ อความที่สง่ ไปนันมี
้
ความหมาย ซึง่ เป็ นสิง่ ที่ผ้ สู ง่ รู้และหวังว่าผู้รับจะรู้ด้วย ทังหมดนี
้
้อยู่
ภายใต้ เงื่อนไขว่า ผู้รับมีสารสนเทศพื ้นฐานที่เพียงพอต่อการเข้ าใจ
สารสนเทศที่สง่ ผ่านไป
นักเศรษฐศาสตร์ ใช้ แนวคิดด้ านวิศวกรรมในรูปของ
Information theory และใช้ แนวคิดด้ านความหมายในรูปของ
มูลค่าและกลยุทธ์ในการใช้ สารสนเทศ โดย Kenneth Arrow
เสนอแนวคิดของการเลือกที่เป็ นผลร้ าย (adverse selection)
และอันตรายทางจรรยา (moral hazard) ซึง่ เป็ นการอธิบาย
พฤติกรรมของมนุษย์เมื่อมีผ้ คู นบางคนได้ รับสารสนเทศที่อสมมาตร ใน
ส่วนของนักเศรษฐศาสตร์ นนั ้ เราค่อนข้ างให้ ความสาคัญกับมิติด้าน
ความหมายมากกว่าด้ านวิศวกรรม ดังคากล่าวที่วา่ “actions
speak louder than words”
แก่นของทฤษฎีความพึงปรารถนาที่ประจักษ์ (Revealed
preference theory) ในบริบทของความอสมมาตร
ในสารสนเทศ ซึ่งปั จเจกชนหนึ่ งรูม้ ากกว่าคนอื่นๆ การกระทาที่
เกิดขึ้ นอาจเปิ ดเผยความปรารถนาหรือสารสนเทศส่วนตัวของคน
อื่น เช่น ถ้ามีใครมาเสนอขายรถยนต์ใช้แล้วในราคา
750,000 บาท นัน่ หมายความว่า เขาส่งข้อความมาสอง
ข้อความด้วยกันคือ ประการแรก เขาเต็มใจที่จะขายในราคา
ดังกล่าว และประการที่สอง รถยนต์คนั นั้น อย่างน้อยก็สาหรับ
ผูข้ าย มีมลู ค่าน้อยกว่า 750,000 บาท
Hirshleifer และ Riley ได้ แยกรูปแบบต่างๆ ของสารสนเทศไว้
ดังนี ้
•Knowledge (ความรู)้ คือข้อมูลหรือหลักฐานที่สะสมมา
ส่วน news (ข่าวสาร)หรือ message (ข้อความ) เป็ นส่วน
เพิ่มต่อจากข้อมูลหรือหลักฐานที่สะสมไว้
•สารสนเทศอาจเป็ นได้ท้งั ความรูแ้ บบรูปธรรม (objective)
หรือความเชื่อแบบนามธรรม (subjective)
•แหล่งที่มาของสารสนเทศเป็ นบริการให้ขอ้ มูลข่าวสาร
(message service) เช่นบริการพยากรณ์อากาศ ขณะที่
ข้อมูลข่าวสาร (message) โดยตัวมันเองเป็ นการพยากรณ์ที่
แท้จริง
•Foreknowledge (การรู้ลว่ งหน้ า)เป็ นสารสนเทศ
เกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต เช่น การพยากรณ์อากาศของวัน
พรุ่งนี ้ ในขณะที่ discovery (การค้ นพบ) เป็ นความรู้
เกี่ยวกับกฏของธรรมชาติหรื อเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
•Fundamental information (สารสนเทศ
พื ้นฐาน) เป็ นเรื่ องเกี่ยวข้ อเท็จจริงของธรรมชาติ ในขณะที่
meta-information (สารสนเทศระดับที่สงู กว่า) เป็ น
เรื่ องเกี่ยวกับสารสนเทศของบุคคลอื่นหรื อเรื่ องที่ผ้ อู ื่นหรื อ
สังคมรู้
ตัวสารสนเทศมีคณ
ุ สมบัติบางอย่างที่แตกต่างไปจากสินค้ า
อื่นๆ เช่น
•สามารถขายได้ แต่ไม่ต้องยกให้ ไป
•มีต้นทุนต่าในการทาซ ้า
•ไม่สามารถกาจัดไปได้ อย่างหมดจด
•ไม่สามารถค้ นให้ เจอได้ ในตัวบุคคล
•มักไม่สามารถป้องกันไม่ให้ แพร่กระจายได้
•มักไม่สามารถกาหนดมูลค่าล่วงหน้ าได้
•อาจเป็ นข้ อเท็จจริงหรื อเกี่ยวกับสารสนเทศของบุคคลอื่น
โครงสร้างของสารสนเทศ (Information structures)
เริ่มจากข้อสมมติที่วา่ โลกที่แท้จริงมีหลายสถานะ (state) แต่
ละสถานะก็เป็ นคาอธิบายถึงข้อเท็จจริงที่ปรากฎ แต่จะมีเพียง
สถานะเดียวที่จริงแท้อย่างถาวร เราจะเรียกทั้ง set ของสถานะ
ทั้งหมดที่เป็ นไปได้วา่ state space แสดงเป็ นสัญญลักษณ์
Ω(w) ประกอบไปด้วย elements {w1,
w2,…wn} ตัวอย่างเช่น ถ้าเราทอดลูกเต๋าลูกหนึ่ ง (ให้อย่าง
อื่นๆ คงที่) จะได้ set ของสถานะที่เป็ นไปได้คือ Ω = {1,
2, 3, 4, 5, 6} มีขอ้ สมมุติพนฐานสองประการเบื้
ื้
องหลัง
แนวทางการศึกษานี้ คือ
•Set ของสถานะที่เป็ นไปได้ จะมีเขตจากัด (finite) ซึง่ เราเรี ยกข้ อ
สมมุตินี ้ว่าเป็ น small-world assumption
•ทุกๆ คนสามารถเขียนสถานะที่เป็ นไปได้ เหล่านี ้ นัน่ หมายความว่าจะไม่
มีใครไม่ร้ ูวา่ อะไรที่อาจเกิดขึ ้นได้
โครงสร้างสารสนเทศหนึ่ งๆ จะเป็ นผลของการแบ่ง state
space เป็ น subsets ซึ่งเราเรียกเป็ นการแบ่งเป็ นส่วนย่อย
(partition) ของ state space จากตัวอย่างของการ
ทอดลูกเต๋าข้างต้น state space ประกอบไปด้วย 6
elements ดังนั้น “คู่-คี่” จึงเป็ น partition หนึ่ งนัน่ เอง
elements ของ partition หนึ่ งมักเรียกเป็ น
information sets
Information source จะบอกให้ เรารู้วา่ เหตุการณ์ใด
(subset ของ state space) เป็ นสัญญาณ (signal)
ของสิง่ ที่เกิดขึ ้นจริง เช่นในตัวอย่างของการทอดลูกเต๋า signal
จะบอกเป็ น {คู,่ คี}่ ว่าเหตุการณ์ใดเกิดขึ ้น
1
3
5
2
4
6
สัญญาณอาจจะให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์อย่างแท้จริงหรือไม่ก็
ได้ โดยอาจเป็ นสัญญาณที่สมบูรณ์ (perfect
signal) หรือสัญญาณที่ไม่มีประโยชน์หรือไม่สมบูรณ์
(void signal) ดังเช่นสัญญาณ {คู่ –คี่} เป็ น
สัญญาณที่ไม่สมบูรณ์ เพราะมีสถานะที่เป็ นไปได้มากกว่าหนึ่ ง
สถานะ
สารสนเทศทีไ่ ม่เป็ นแบบเดียวกันและอสมมาตร (Heterogeneous
and asymmetric information)
โครงสร้ างสารสนเทศช่วยให้ เราสามารถเปรี ยบเทียบประเภทและ
จานวนของสารสนเทศที่แต่ละบุคคลมีอยูไ่ ด้ เราจะใช้ คาว่า สารสนเทศที่เป็ น
แบบเดียวกัน (homogeneous information) สาหรับ
โครงสร้ างสารสนเทศที่ subsets ไม่มีการเหลื่อมล ้ากันระหว่างบุคคล
แต่ปกติแล้ ว มักมีโครงสร้ างสารสนเทศหนึง่ ที่ดีกว่าโครงสร้ างอื่น ซึง่ เราเรี ยก
เป็ นสารสนเทศอสมมาตร (asymmetric information)
ตัวอย่างเช่น ในการทอดลูกเต๋า นาย ก มีสารสนเทศว่าผลการทอดลูกเต๋าจะ
เป็ นคูห่ รื อคี่ ในขณะที่ นาย ข รู้วา่ จะเป็ นสูงหรื อต่า ทังสองจึ
้
งมีสารสนเทศที่
ไม่เป็ นแบบเดียวกัน (heterogeneous information) คือมี
โครงสร้ างสารสนเทศที่แตกต่างกัน
นาย ก
นาย ข
1
1
2
3
4
5
6
4
2
3
5
6
นาย ก
นาย ข
2
1
1
2
3
4
5
6
3
4
5
6
ในรูปที่ 1.3 นั้น นาย ข รูท้ ุกอย่างที่ นาย ก รู ้ (คือจะออกคู่
หรือคี่) บวกกับเขามีสารสนเทศส่วนตัว (คือจะออกสูงหรือ
ตา่ ) สารสนเทศแบบนี้ จึงเป็ นอสมมาตร
(asymmetric) ทั้งสารสนเทศที่ไม่เป็ นแบบเดียวกัน
(heterogeneous information) และ
สารสนเทศอสมมาตร (asymmetric
information) มีนัยยะทางเศรษฐศาสตร์