Exercises and DM

Download Report

Transcript Exercises and DM

Exercises and DM
นพ.วีรชาติ เลิศนิธิกุล
เบาหวาน
เบาหวานชนิดที2่
พบมากในผูใ้ หญ่
ประมาณ10%ของ
ประชากรไทยเป็ น
เบาหวาน
5%
ทราบว่า
ตนเอง
เป็ น
เบาหวาน
• คนอเมริกนั 24ล้านคนเป็ นเบาหวาน ประมาณ25%ของคนจานวนนี้ไม่ทราบว่าตนเอง
เป็ นเบาหวาน
• คนอเมริกนั ประมาณ60ล้านคนมีภาวะprediabetes
• ประมาณกันว่าคนอเมริกนั ทีเ่ กิดหลังปี 2000มีโอกาสราวหนึ่งในสามทีจ่ ะเป็ นเบาหวาน
และในกลุม่ ประชากรทีม่ ีความเสีย่ งสูงอาจมีโอกาสเป็ นเบาหวานสูงถึง50%
• DM เป็ นความเสีย่ งต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต ตาบอด
amputation
• 39%ของผูป้ ่ วยเบาหวานเท่านัน้ ทีอ่ อกกาลังกายสมา่ เสมอ ในขณะที5่ 8%ของผูท้ ไ่ี ม่เป็ น
เบาหวานออกกาลังกายสมา่ เสมอ
• ปั จจัยสาคัญทีท่ าให้คนไม่คอ่ ยออกกาลังกายได้แก่ รายได้ โรคประจาตัว อ้วนมากๆ ภาวะ
ซึมเศร้า
• ในกลุม่ ประชากรทีอ่ อกกาลังกายน้อยลงเรือ่ ยๆ จะมีอุบตั กิ ารณ์ของเบาหวานเพิ่มขึ้น
เรือ่ ยๆ
Physical activity คือ การเคลือ่ นไหว
ร่างกายเพื่อให้มกี ารใช้พลังงาน
Exercise คือการเคลือ่ นไหวร่างกายทีม่ ุง่ จะให้
เกิดความแข็งแรงกับกล้ามเนื้อ ระบบหัวใจและหลอด
เลือดและการฝึ กความยืดหยุน่
ผลของการออกกาลังกายต่อการใช้พลังงาน
 การหดตัวของกล้ามเนื้อต้องใช้นา้ ตาลจากกระแสเลือด
 นา้ ตาลจากกระแสเลือดมาจากการสลายกลัยโคเจนจากตับและสร้างเป็ นนา้ ตาลและยังใช้แหล่งพลังงานจากที่
อืน่ เช่นกรดไขมันเมื่อจาเป็ น
 มีหลายปัจจัยทีม่ ีผลต่อการใช้พลังงานของกล้ามเนื้อแต่ทสี่ าคัญทีส่ ุดคือความหนักและระยะเวลาในการออก
กาลัง
 ในระยะแรกของactivityจะเป็ นการใช้พลังงานผสมผสานระหว่างกรดไขมัน นา้ ตาล กลัยโคเจนจาก
กล้ามเนื้อและกรดอะมิโนจานวนเล็กน้อย
 แต่เมื่อออกกาลังหนักขึ้นกล้ามเนื้อจะเริม่ ใช้คาร์โบไฮเดรทมากชึ้นโดยเริม่ จากการสลายกลัยโคเจนออกมาก่อน
Aerobic exercise
 การออกกาลังกายทีไ่ ม่ตอ้ งรุนแรงมากเพื่อให้กล้ามเนื้อได้ใช้พลังงาน
และออกซิเจนเป็ นตัวเผาผลาญ แนะนาให้ทาโดยระยะเวลาต่อเนื่อง
นานพอสมควรและสมา่ เสมอ ตัวอย่างเช่น การเดินเร็ว วิง่ เหยาะๆ ปั่ น
จักรยาน ว่ายนา้ เต้นแอโรบิก ให้อตั ราการเต้นของหัวใจอยูทป่ี ระมาณ
60-85%ของอัตราการเต้นสูงสุด (220-อายุ ครัง้ ต่อนาที)
Anaerobic execise
 การออกกาลังกายอย่างหนักรุนแรงในเวลาสัน้ ๆเช่นการยกนา้ หนัก
การวิง่ ระยะสัน้ จะมีการใช้พลังงานโดยการเผาผลาญโดยไม่ใช้
ออกซิเจน
 เมื่อกลัยโคเจนในกล้ามเนื้อลดลงและยังคงออกกาลังกายต่อไปเรื่อยๆ กล้ามเนื้อจะ
เริม่ ดึงนา้ ตาลจากในเลือดมาใช้และเอามาใช้เพิ่มขึ้นเรือ่ ยๆเมื่อเวลาผ่านไป รวมทัง้ เริม่
สลายไขมันทีอ่ ยูใ่ นกล้ามเนื้อออกมาใช้เป็นพลังงานด้วย การสลายไขมันออกมาใช้จะ
ยังคงดาเนินต่อไปเมื่อออกกาลังกายนานพอและยังคงใช้ไขมันเป็นแหล่งพลังงานต่อไป
แม้จะหยุดออกกาลังกายไปแล้ว
 การมีเพียง physical activity PA จะเพิ่มการเอานา้ ตาลจากในเลือดมาใช้
และเมื่อมีการเคลื่อนไหวต่อเนื่องนานพอจะยิ่งดึงนา้ ตาลในเลือดออกมามากขึ้นทาให้
เกิดการสลายกลัยโคเจนจากตับออกมาเป็ นนา้ ตาลเพื่อให้รา่ งกายได้ใช้ตอ่ ไป
 เหตุผลในเรือ่ งนี้ เกิดจากในภาวะปกติ อินซูลินจะเป็นตัวนานา้ ตาลเข้าสูก่ ล้ามเนื้อ แต่
ภาวะเบาหวานจะทากลไกการนานา้ ตาลเข้าสูก่ ล้ามเนื้อเสือ่ มไป ในขณะทีก่ ารออกกาลัง
ทาให้กล้ามเนื้อหดตัวและมีการนานา้ ตาลเข้าสูก่ ล้ามเนื้อเพื่อใช้เป็ นพลังงานโดยกลไก
อืน่ ทีย่ งั ดีอยู่
 กลไกการควบคุมระดับนา้ ตาลในเลือดภายหลังการออกกาลังกาย
 ในช่วงของการออกกาลังกายชนิด moderate aerobic exerciseจะ
มีการใช้พลังงานมากขึ้นและทาให้มีการหลัง่ ฮอร์โมน catecholamines
ทาให้มีการใช้นา้ ตาลในกล้ามเนื้อและในเลือดมากขึ้น แต่การหลัง่ อินซูลินมักจะเท่า
เดิมหรือไม่เพิ่มขึ้น ดังนัน้ ระดับนา้ ตาลในเลือดจึงจะลดลงแต่ไม่มาก โอกาสเกิด
ระดับนา้ ตาลในเลือดตา่ หลังการออกกาลังกายจึงน้อยในทางตรงกันข้ามอาจมีระดับ
นา้ ตาลในเลือดเพิ่มขึ้นเล็กน้อยได้แต่จะมีผลอยูไ่ ม่นานนัก
 Aerobic exercise จะช่วยควบคุมระดับนา้ ตาลในเลือดได้
ดีกว่า anaerobic exerciseหรือ resistant
exercise มีบางการศึกษาระบุวา่ การทาทัง้ สองอย่างร่วมกันได้ผล
ดีกว่าทาอย่างเดียว
 Taichi Yogaให้ผลในการช่วยควบคุมระดับนา้ ตาลได้นอ้ ยกว่า
Physical activity ช่วยเพิ่มการหลัง่ อินซูลินเพิ่มขึ้นได้
ประมาณ2-72ชัว่ โมง
 การออกกาลังกายมีผลลดภาวะไขมันพอกตับก่อนทีน่ า้ หนักตัวจะลด
ผลระยะยาวของการออกกาลังกายต่อเบาหวาน
 ฝึ กออกกาลังกายเพียง1อาทิตย์ทาให้รา่ งกายใช้นา้ ตาลในเลือดได้ดขี ้ ึน การ
หลัง่ อินซูลินเพิ่มขึ้น ภาวะดื้ออินซูลินลดลง
 เมื่อออกกาลังทัง้ Aerobic exercise and resistant
training จะทาให้การใช้นา้ ตาลดีข้ ึน
ผลของการออกกาลังกายต่อไขมันในเลือด
 Aerobic exercise ช่วยลดระดับโคเลสเตอรอล LDL
triglyceride และช่วยเพิ่มHDL
 การลดนา้ หนักและเพิ่มphysical activity มีผลต่อระดับไขมัน
ในเลือดเช่นกัน
ผลของการออกกาลังกายต่อความดันโลหิตสูง
 Aerobic exercise จะลดความดันโลหิต systolicได้
เล็กน้อย แต่ไม่คอ่ ยมีผลต่อความดันโลหิค diastolic
 Physical activity มีผลน้อยมากต่อความดันโลหิต
ผลของการออกกาลังกายต่ออัตราการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
 ยิ่งร่างกายแข็งแรงหรือ มีphysical activity มากขึ้นจะทาอัตรา
การตายลดลง อัตราการป้ วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดลดลงด้วย
ผลของการออกกาลังกายต่อการลดนา้ หนัก
 การออกกาลังกายช่วยลดนา้ หนักได้บา้ งแต่ตอ้ งออกกาลังกายค่อนข้างหนัก
 Physical activity ควบคุมนา้ หนักได้ดพี อควร
 เมื่อลดนา้ หนักได้แล้วควรออกกาลังกายอย่างสมา่ เสมออยูเ่ พื่อควบคุม
นา้ หนักตัวไม่ให้เพิ่มขึ้น
ผลของการออกกาลังกายต่อสภาพจิต
 ทาให้สภาพจิตใจดีข้ ึน ภาวะซึมเศร้าลดลง
 การออกกาลังกายหรือแม้เพียงการเพิ่มphysical activityมีผลต่อการป้ องกัน
เบาหวานได้เท่าๆกับหรือดีกว่าการให้ยาmetformin
 ผลของการออกกาลังกายต่อการป้ องกันเบาหวานสามารถให้ผลได้ตงั้ แต่46-58%
 Physical activityทีเ่ พิ่มขึ้นส่งผลดีตอ่ การป้ องกันเบาหวานในทุกเพศ เชื้อชาติ
 เดินวันละ30นาทีหรือให้ได้สปั ดาห์ละ2.5ชัว่ โมงป้ องกันเบาหวานได้30%
 แม้ในคนท้อง คาแนะนาเรือ่ งการออกกาลังกายและphysical activity มี
ความสาคัญเหมือนคนธรรมดาในการป้ องกันและรักษาเบาหวาน
การประเมินก่อนการออกกาลังกาย
 ไม่มีความจาเป็ นต้องทา exercise stress testing ก่อนในผูป้ ่ วยเบาหวานทุก
ราย
 แต่หากมีโรคหัวใจและหลอดเลือดอยูแ่ ล้วไม่วา่ จะเป็ น coronary heart disease
stroke neuropathy smoking hypertension ควรได้รบั การ
ประเมินและควบคุมให้ดกี ่อนกาหนดการออกกาลังกาย
UKPDS risk engine
http://www.dtu.ox.ac.uk/riskengine/
การออกกาลังกาย
ออกกาลังกายหนักปานกลาง 150 นาที/สัปดาห์
ออกกาลังกายหนักมาก 90 นาที/สัปดาห์ ควร
กระจายอย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์
ไม่งดออกกาลังกายติดต่อกันเกิน 2 วัน
ข้อควรจาก่อนการออกกาลังกาย
1. เลือกกิจกรรมทีช่ อบและรูส้ กึ สนุกสนานด้วย
2. ปรึกษาแพทย์ประจาตัว
3. อาจจาเป็ นต้องตรวจนา้ ตาลในเลือดบ้างหากชอบออกกาลังกายนานๆโดยเฉพาะเกินกว่า1
ชัว่ โมง
4. พกอาหารทีม่ ีคาร์โบไฮเดรทไว้ดว้ ย
5. อย่ารีบร้อนออกกาลังกาย ค่อยๆทา ค่อยๆเพิ่มทัง้ ความหนักละเวลา
6. เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสักอาทิตย์ละสองครัง้ ยกนา้ หนัก หรือออกกาลังกายทีต่ อ้ ง
ใช้แรงต้าน
7. ทาให้เป็ นนิสยั ทีถ่ ูกต้องทัง้ การกินอาหาร กินยา ออกกาลังกายในเวลาเดียวกันของทุกวันอย่าง
สมา่ เสมอ
8. ออกกาลังกายในทีๆ่ มี เพื่อน ทีส่ าธารณะ
9. ดูแลเรือ่ งเท้าให้ดี ใช้รองเท้าทีเ่ หมาะสม
10. ดืม่ นา้ หรือเตรียมนา้ ให้เพียงพอ
11. หากรูส้ กึ ผิดปกติ เจ็บปวด ให้หยุดทันที อย่าฝื น