ht01 - โรงพยาบาลพัทลุง

Download Report

Transcript ht01 - โรงพยาบาลพัทลุง

สมุนไพรกับโรคความดันโลหิตสูง
•โรคความดันโลหิ ตสูงที่พบบ่อยมักจะเป็ นชนิดที่ไม่ทราบ
สาเหตุ ส่ วนน้อย คือ ประมาณร้ อยละ 5 จะรู้สาเหตุที่
•ทาให้ ความดันสู ง เช่ น ไตวาย หลอดเลือดแดงทีไ่ ปเลีย้ งไตตีบ หรือมีเนือ้ งอกทีต่ ่ อมหมวกไต
•ส่ วนมากเกิดกับผูส้ ู งอายุ
ผู้ป่วยความดันโลหิตสู งอาจจะไม่ มีอาการใดๆ เลย หรือ
อาจจะพบว่ ามีอาการปวดศีรษะ มึนงง เวียนศีรษะ และ
เหนื่อยง่ ายผิดปกติ อาจมีอาการแน่ นหน้ าอกหรือนอนไม่ หลับ
 เกิดจาก 2 ปัจจัยใหญ่ คือ
 1) กรรมพันธุ์ ซึ่งเป็ นปัจจัยทีแ
่ ก้ไขไม่ ได้ จากหลักฐานทางระบาด
วิทยา พบว่ าผู้ทมี่ ีบิดา หรือมารดาเป็ นความดันโลหิตสู ง มีโอกาสเป็ น
ความดันโลหิตสู ง ได้ มากกว่ า ผู้ทบี่ ิดามารดาไม่ เป็ น ยิง่ กว่ านั้นผู้ทมี่ ี
ทั้งบิดาและมารดา เป็ นความดันโลหิตสู ง จะมีความเสี่ ยง ทีจ่ ะเป็ น
มากทีส่ ุ ด ผู้สูงอายุกม็ ีโอกาส เป็ นความดันโลหิตสู ง เมื่ออายุมากขึน้ ๆ
 2) สิ่ งแวดล้ อม ซึ่งเป็ นปัจจัยที่แก้ ไขได้ เช่ น ภาวะอ้ วน เบาหวาน การ
รับประทานอาหารเค็ม การดื่มสุ รา และสู บบุหรี่ ภาวะเครียด เป็ นต้ น
ฯลฯ
หลักเกณฑ์ที่ถือว่าเป็ นโรค ความดันโลหิตสูง
ผูช้ าย อายุนอ้ ยกว่า 45 ปี
มีความดันโลหิ ตสูงกว่า 130/90 มม.ปรอท
ผูช้ าย อายุมากกว่า 45 ปี
มีความดันโลหิ ตสูงกว่า 140/95 มม.ปรอท
ผูห้ ญิง อายุมากกว่า 45 ปี
มีความดันโลหิ ตสูงกว่า 160/95 มม.ปรอท
ตาราง แสดงความดันโลหิตสูงในระดับต่าง ๆ ซงึ่ แบ่งตามความรุนแรงในผู ้ใหญ่ทม
ี่ อ
ี ายุ
ตัง้ แต่ 18 ปี ขน
ึ้ ไป
ความดันตัวบน
ความดันตัวล่าง
(มม.ปรอท)
(มม.ปรอท)
ระดับ 1 ความดันโลหิตสูงอย่าง
อ่อน
140-159
90-99
ระดับ 2 ความดันโลหิตสูงปาน
กลาง
160-179
100-109
ระดับ 3 ความดันโลหิตสูง
รุนแรง
>180
>109
ความดันโลหิตสูงเฉพาะตัวบน
>140
<90
ระดับความดันโลหิต
ผลแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิ ตสูง

1. หัวใจ

ความดันโลหิตสู ง จะมีผลต่ อหัวใจ 2 ทาง คือ ทาใหัหัวใจโต และหลอดเลือดหัวใจหนาตัว และแข็งตัวขึน้ ทาให้ เกิดการเจ็บ
หน้ าอกจากหัวใจขาดเลือด หรือหัวใจล้มเหลว ทาให้ มอี าการเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ ได้ หรือหัวใจเต้ นผิดปกติ ทาให้ มอี าการ
ใจสั่ น

2. สมอง

ความดันโลหิตสู ง เป็ นสาเหตุของอัมพาต อัมพฤกษฺ ทีพ่ บบ่ อย ซึ่งมักจะเกิดจากหลอดเลือดเล็ก ๆ อุดตัน โดยเกล็ดเลือด ซึ่ง
พบบ่ อย หรือ เกิดจากหลอดเลือดในสมองแตก ทาให้ เลือดออกในสมอง

3. ไต

เป็ นอวัยวะทีม่ หี ลอดเลือดมากทีส่ ุ ดในร่ างกาย ทาหน้ าทีก่ รองของเสี ยออกจากเลือด ความดันโลหิตสู งก็มผี ลต่ อหลอดเลือดที่
ไต เช่ นเดียวกับหลอดเลือดหัวใจ ทาให้ เลือดไปเลีย้ งไตไม่ พอ มีผลให้ ไตเสื่ อมสมรรถภาพ จนถึงขั้นไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วยจะ
มีอาการเริ่มแรกของภาวะไตวายเรื้อรัง คือ ปัสสาวะบ่ อยตอนกลางคืน ขาบวมตอนสาย หากเป็ นมากจะมีอาการ
อ่อนเพลีย ไม่ ค่อยมีแรงจากภาวะซีด ซึ่งมักพบในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง และคลืน่ ไส้ อาเจียน ซึมลง ในผู้ป่วยไตวายระยะ
สุ ดท้ าย

4. ตา

ความดันโลหิตสู งจะมีผลต่ อหลอดเลือดทีต่ า เช่ น เลือดออกทีจ่ อตา หลอดเลือดเล็ก ๆ ทีจ่ อตาอุดตัน หรือ ทาให้ จอตาหลุด
ลอกออกได้ ผู้ป่วยอาจไม่ มอี าการใด ๆ หรือตามัว จนถึงตาบอดได้ เบาหวาน ซึ่งมักพบร่ วมกับความดันโลหิตสู ง จะทาให้
เกิดผลแทรกซ้ อนทางตาได้ เร็ว

5. หลอดเลือด

ความดันโลหิตสู ง จะทาให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงของหลอดเลือดทัว่ ร่ างกาย ทาให้ หลอดเลือดตีบแคบ หรือโป่ งพอง มีผลททา
ให้ เลือดไปเลีย้ งบริเวณแขนขา และอวัยวะภายในลดลง ผู้ป่วยเกิดไม่ ได้ ไกลเพราะปวดขาจากการขาดเลือด ต้ องนั่งพักจึงจะ
หาย และเดือนต่ อได้
ข้ อแนะนาสาหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสู ง
1. การควบคุมอาหาร การลดน้ าหนัก สามารถช่วยลดความดันโลหิตได้ และช่วยควบคุมระดับน้ าตาลในเลือด ลด
อาหารประเภทไขมันก็เป็ นสิ่ งที่ดี หลีกเลี่ยงการดื่มสุ รา ลดการดื่มแอลกอฮอล์
2. รับประทานอาหารทีไ่ ม่ เค็มจัด
การรับประทานเกลือมาก จะทาให้ความดันโลหิตสู ง และไตทางานหนัก
3. หลีกเลีย่ งไม่ ให้ เกิดอารมณ์ เครียด
พยายามตอบสนองอย่างมีสติ และนุ่มนวลต่อสภาวะเครี ยด
4. หยุดสู บบุหรี่
บุหรี่ ทาให้เกิดการทาลาย และส่ งเสริ มการหดตัวของหลอดเลือด ทาให้เพิ่มอัตราเสี่ ยงต่อการเกิดอัมพาต
5. ออกกาลังกายแต่ พอประมาณ
การเดินวันละ 20-30 นาที จะช่วยท่านลดน้ าหนักได้ ช่วยทาให้ระบบไหลเวียนของเลือดดีข้ ึน และป้ องกันโรคของหลอด
เลือดได้ ก่อนเริ่ มออกกาลังกายใด ๆ ควรปรึ กษาแพทย์ของท่านก่อน
6. รับประทานยาให้ สมา่ เสมอตามแพทย์ สั่ง
แจ้งให้แพทย์ท่านทราบถึงยาต่าง ๆ ที่ท่านรับประทานอยู่ เช่น ยาคุมกาเนิด ยาแก้ปวด เป็ นต้น
รับประทานยาตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่ งครัดกว่าแพทย์ของท่านจะบอกให้หยุด **หากมียาชนิดใดที่ทาให้ท่านรู ้สึกไม่สบาย ควร
แจ้งให้แพทย์ของท่านทราบทันที
7. ตรวจวัดความดันโลหิตสมา่ เสมอ
สมุนไพรในการ
รักษาโรคความ
ดันโลหิ ตสูงยังไม่
มีผลงานวิจยั
เด่นชัดว่ารักษา
โรคความดัน
โลหิ ตสูงได้
ในตารายาไทยจะเน้นการป้ องกันไม่ให้เกิดโรค
โดยนาสมุนไพรมาใช้ปรุ งเป็ นอาหาร เช่น
ใบบัวบก
ต้ นขึน้ ฉ่ าย
ระย่อมน้ อย
ดอกมะขาม+ยอดมะขาม
ขีเ้ หล็ก
นา้ มันดอกคาฝอย/ถั่วเหลือง/ทานตะวัน
กระเทียม
กาฝากมะม่ วง
หญ้ าหนวดแมว
หญ้ าคา
ขลู่
สรรพคุณสมุนไพรในการขับปัสสาวะ
1.หญ้าหนวดแมว
ในใบของหญ้าหนวดแมวจะมีเกลือโปตัสเซียม
ปริ มาณ 0.7-0.8 %
ใช้ใบอ่อนขับปัสสาวะมีประสิ ทธิภาพสูง
ใช้แก้โรคปวดตามสันหลังและเอว
ใช้ขบั นิ่วและลดความดันโลหิ ตสูง
ข้อควรระวัง
ไม่ควรใช้กบั ผูป้ ่ วยโรคหัวใจ (เกลือโปตัสเซียมสู ง)
ควรใช้การชง ไม่ควรใช้การต้ม
ควรใช้ใบอ่อน เพราะใบแก่ เกลือโปตัสเซียมละลายมา
มาก มีฤทธิ์กดหัวใจ หายใจผิดปกติได้
ควรใช้ใบตากแห้ง ใบสดจะมีอาการคลื่นไส้ หัวใจสัน่
ไม่ควรใช้คู่กบั ยาแอสไพริ น ทาให้มีฤทธิ์ ต่อหัวใจมากขึ้น
ควรวัดความดันอย่างสม่าเสมอ
2.หญ้ าคา
รากหญ้าคามีสาร อะรันโตอินและไซลินดริ นทั้ง
กรด อินทรี ยห์ ลายชนิด
ใช้เป็ นยาขับปัสสาวะ
แก้ขดั เบา
วิธีใช้
ต้มรากหญ้าคาสด 1 กามือ
ดื่มก่อนอาหาร วันละ 3 ครั้ง
ครั้งละ 1 ถ้วยชา (75 มิลลิลิตร)
3.ขลู่
ในใบขลู่มีสารประกอบเกลือแร่ โซเดียมคลอไรด์
เป็ นยาขับปัสสาวะ
แก้ขดั เบา
วิธีใช้
ใช้ท้ งั ต้นสดและต้นแห้งต้มวันละ 1 กามือ
ดื่มวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ครั้งละ 1 ถ้วยชา ( 75 มิลลิลิตร)
หรื อใช้ใบแห้งครึ่ งกามือ
คัว่ ให้เหลือง
ชงน้ าดื่มแทนน้ าชา
สรรพคุณสมุนไพรทีช่ ่ วยลดนา้ ตาลในเลือด
ระดับโคเรสเตอรอลในเลือดสูงเป็ นสาเหตุสาคัญ
ทาให้เกิดโรคความดันโลหิ ตสูง
1.นา้ มันเมล็ดดอกคาฝอย
จากการวิจยั ในสัตว์ทดลองและในคน
ช่วยทาให้ปริ มาณโคเรสเตอรอลในเลือดลดลง
ลดการอุดตันของไขมันในหลอดเลือดได้
2.กระเทียม
มีสารอัลลิซิน
มีฤทธิ์ ลดไขมันในหลอดเลือดได้
ใช้กระเทียมประมาณ 5-7 กลีบ
รับประทานหลังอาหารทุกมื้อ
เป็ นเวลา 1 เดือน
ปริ มาณโคเลสเตอรอลในเลือดจะลดลง
3.ถั่วเหลือง
ในถัว่ เหลืองมีกรดอะมิโน เลซิ ติน
วิตามินอีสูง
ช่วยลดระดับไขมันในหลอดเลือด
สมุนไพรทีใ่ ช้ ในการคลายเครียด นอนไม่ หลับ
ขี้เหล็ก
ใบอ่อนและดอก
มีสาร โครโมนและสารแอนตร้าควินิน
มีฤทธิ์เป็ นยาระบาย
จากการศึกษาในสัตว์ทดลอง
โดยสกัดสารจากใบขี้เหล็กด้วยแอลกอฮอล์
พบว่ามีฤทธิ์ กดประสาทส่ วนกลางของสัตว์ทดลอง
ศึกษาโดยใช้กบั ผูป้ ่ วย
มีอาการกระวนกระวายนอนไม่หลับ
พบว่า ช่วยให้นอนหลับและระงับอาการตื่นเต้นของ
ประสาทได้
แต่ไม่ใช่ยานอนหลับโดยตรง
ไม่พบอาการเป็ นพิษ
วิธีใช้
ใช้ใบขี้เหล็กแห้งหนัก
ใบสดหนัก 50 กรัม
ต้มเอาน้ าดื่มก่อนนอน
30 กรัม
ระย่ อมน้ อย
ใช้ราก
เป็ นยาแก้ไข้ เจริ ญอาหาร
ทาให้นอนหลับ
มีฤทธิ์กล่อมประสาท
รากระย่อมมีแอลคาลอยด์ที่สาคัญคือ
เรเซอบิน
มีฤทธิ์ลดความดันโลหิ ตได้ดี