การกระจายตัวของยา

Download Report

Transcript การกระจายตัวของยา

Slide 1

บทที่ 4
การกระจายตัวของยา
(Drug Distribution)

การออกฤทธิ์ของยา

1


Slide 2

การกระจายตัวของยา
• หมายถึง การทีย่ าเคลือ่ นที่จากเลือด
ผ่ านเนื้อเยือ่ ไปยังอวัยวะต่ างๆ ของ
ร่ างกายและไปยัง บริ เวณที่ยาออกฤทธิ์
ซึ่งส่ วนที่เกีย่ วข้ องกับการกระจายของยา
คือ นา้ เลือด ผนังเส้ นเลือดฝอย
และเยือ่ บุของอวัยวะ
ปกติ “เลือด” ไม่ ใช่ บริเวณทีย่ าออกฤทธิ์ แต่ เป็ น
ส่ วนลาเลียงยาไปยังอวัยวะเป้ าหมาย

2


Slide 3

เมือ่ ยาถูกดูดซึมแล้ วจะแบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วน
• 1. ส่ วนทีเ่ ข้ ารวมกับโปรตีนในเลือด (albumin) แบบชั่วคราว
(reversible) เรียกว่ า Bound drug ทาให้ โมเลกุลใหญ่ ขนึ้
จึงไม่ สามารถผ่ านผนังเส้ นเลือดได้ และยาส่ วนนีจ้ ะอยู่ใน
ร่ างกายได้ นานกว่ าปกติ
• 2. ส่ วนที่ไม่ จับกับโปรตีน แต่ ละลายอยู่ในนา้ เลือด เรียกว่ า
Free drug เป็ นยาอิสระและเป็ นส่ วนทีอ่ อกฤทธิ์ในการรักษา
• 3. ส่ วนสุ ดท้ ายจะจับตัวกับเนื้อเยือ่ ของอวัยวะ
บางชนิด

การออกฤทธิ์ของยา

3


Slide 4

รู ปที่ 3-5
แสดงถึงชนิดและสัดส่ วนของพลาสมาโปรตีนชนิดต่างๆ และ
ตัวอย่างยาที่จบั กับพลาสมาโปรตีนแต่ลการออกฤทธิ
ะชนิ ด์ ของยา

4


Slide 5

• ยาทีม่ ีค่า protein-binding ability สู ง แสดงว่ าละลายได้ ดีในส่ วน lipid
ของ plasma ส่ วนค่ าต่าแสดงว่ าละลายในส่ วนนา้ และลาเลียงไปใน
ส่ วน aqueous phase ของ plasma
• free drug เป็ นยาส่ วนเล็กน้ อยเท่ านั้นทีไ่ ปออกฤทธิ์ที่อวัยวะ
เป้าหมาย ยาพวกนี้ ออกจากกระแสเลือดได้ เร็ว และขึน้ อยู่กบั
concentration gradient คือจากความเข้ มข้ นสู งไปยังความเข้ มข้ นต่า
• ยาส่ วนใหญ่ ทเี่ หลือยังคงอยู่ใน interstitial fluid, plasma, fatty tissue,
non target organs

การออกฤทธิ์ของยา

5


Slide 6

รู ปที่ 3-6
ของยา

แสดงถึง อิทธิ พลของสิ่ งต่างๆ ต่อระดับยาในเลือดและ/ หรื อฤทธิ์
การออกฤทธิ์ของยา

6


Slide 7

Dosage consideration
• เมื่อยาจะออกฤทธิ์ โมเลกุลของยาทีเ่ ป็ น free drug ต้ องทา
ปฎิกริยากับตัวทีอ่ วัยวะเป้าหมาย ซึ่งหากเข้ ากันได้ พอดี จะทาให้
เกิด biological effect
ได้ ผลในการออกฤทธิ์
• เนื่องจาก 80% ของเซลเป็ นของเหลว ดังนั้น ยาในรูปของแข็ง
จะต้ องมีการเปลีย่ นแปลงให้ อยู่ในรูปของเหลวก่อนทีจ่ ะมีการ
ดูดซึม และจะต้ องมีขนาดยาทีส่ ามารถกระจายไปทัว่ ร่ างกาย
และถึงระดับที่พอเพียงทีจ่ ะมาจับกับ receptor เพือ่ ทาให้ เกิดฤทธิ์

การออกฤทธิ์ของยา

7


Slide 8

ปัจจัยทีม
่ ี
ผลกระทบต่อการกระจายยา
1. Concentration gradient
2. สภาพร่ างกาย
3. Barrier
4. ปริ มาณเลือดที่ไหลไปยังอวัยวะ

การออกฤทธิ์ของยา

8


Slide 9

1. Concentration gradient
• ร่ างกายสั ตว์ เป็ น biological system ทาให้ ยากระจาย จากบริเวณทีใ่ ห้
ยาไป ยังส่ วนต่ างๆไม่ เท่ ากันทั่วร่ างกาย เนื่องจากมีขบวนการ
หลายหลาก เช่ น ขบวนการของเอ็นซัยม์ และ barrier ต่ าง ๆ
• ความแตกต่ างของความเข้ มข้ นยาในส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกายทาให้ เกิด
concentration gradient โดยทีโ่ มเลกุลของยามีแนวโน้ มเคลือ่ นทีจ่ าก
ความเข้ มข้ นสู งไปยังความเข้ มข้ นต่า

การออกฤทธิ์ของยา

9


Slide 10

2. สภาพร่ างกาย
• สั ตว์ อ่อนแอขาดอาหารจะทาให้ โปรตีน
ในเลือดต่า เมื่อยาถูกดูดซึมเข้ าไปในเลือด
ก็จะรวมกับโปรตีนในเลือดซึ่งมีอยู่
น้ อยกว่ าระดับปกติ ทาให้ เหลือยาในรูป
free drug มากเกินไป เปรียบเหมือนกับ
การได้ รับยาในขนาดทีส่ ู งกว่าปกติ
ทาให้ มีโอกาสแพ้ยาได้ ง่ายขึน้
การออกฤทธิ์ของยา

10


Slide 11

2. สภาพร่ างกาย (ต่ อ)
• สั ตว์ ทอี่ ้วนหรือถ้ าขาดอาหารไม่ สมดุลและมีไขมันมาก ไขมันจะเก็บ
ยาไว้ ได้ มาก ทาให้ ต้องเพิม่ ขนาดยาขึน้ เพือ่ ให้ ออกฤทธิ์ได้ ตามปกติ
แต่ ต่อมายาในไขมันอาจจะออกมาในกระแสเลือดอีก
• กรณีบวมนา้ จะมียาเข้ าไปอยู่ในนา้
ระหว่ างเซลมาก ทาให้ ต้องเพิม่ ขนาดยา
กรณีขาดนา้ ซึ่งมีการสู ญเสี ยนา้ ในเซล
และนา้ ระหว่ างเซล ทาให้ มียาในเลือด
สู งเกินไป
การออกฤทธิ์ของยา

11


Slide 12

3. Barrier
3.1. Blood-brain barrier (BBB)
• ยาเคลือ่ นที่ไปยังระบบประสาทส่ วนกลางได้ 2 ทาง คือ
• 1. ทางหลอดเลือดฝอย
• 2. ทางนา้ หล่อเลีย้ งสมองส่ วนไขสั นหลัง (cerebrospinal fluid)

การออกฤทธิ์ของยา

12


Slide 13

3. Barrier
3.1. Blood-brain barrier (BBB) (ต่ อ)
• เป็ นโครงสร้ างทางกายภาพของเส้ นเลือดฝอย (capillaries) ที่ไป
เลีย้ งเนือ้ เยื่อสมอง ซึ่งต่ างจากเส้ นเลือดฝอยทีอ่ วัยวะอืน่ ๆ คือ
• 1. มีลกั ษณะเป็ น tight junction
ไม่ มีช่องเปิ ดเหมือนกับ peripheral capillaries
• 2. มีจานวน mitochondria มากเพือ่ ใช้ ในการสร้ าง ATP สาหรับ
ขบวนการ active transport system
• 3. รอบ ๆ brain capillaries มี cells ชนิดหนึ่งเรียก astrocyte ซึ่งจะ
มี ส่ วน astrocyte foot process มี sheath ที่หนาประมาณ 300500 0 A ไม่ มีรูทมี่ องเห็นได้ มาหุ้มรอบ brain capillaries ทาให้
มีผลควบคุม brain capillary permeability
13


Slide 14

3.1. Blood-brain barrier (BBB) (ต่ อ)
• โดยปกติอาหารแทรกผ่ าน BBB ได้
แต่ สิ่งแปลกปลอม (เช่ นยา) ผ่ านเข้ ายาก
• เนื่องจากไม่ มีช่องว่ างระหว่ างเซล
ทีพ่ อจะให้ โมเลกุลแทรกผ่ านได้
ยาจะต้ องมีความสามารถซึมผ่ าน
เซลประสาทได้ โดยตรง ซึ่งยานั้น
จะต้ องโมเลกุลยาขนาดเล็กมาก
หรือมีคุณสมบัติทลี่ ะลายในไขมัน
ได้ ดีและอยู่ในสภาพ
non-ionized form
การออกฤทธิ์ของยา

14

รู ปที่ 3-7 แสดงผนังเส้นเลือดฝอย


Slide 15

ภาพแสดงการกระจายตัว
ของยาเข้ าสู่ ระบบ
ประสาทส่ วนกลางที่
ตาแหน่ งแตกต่ างกัน

การออกฤทธิ์ของยา

15


Slide 16

3.1. Blood-brain barrier (BBB) (ต่ อ)
• การทางานของ BBB จะเสี ยไป
ถ้ าสมองได้ รับกระทบกระเทือน
เช่ นได้ รับบาดเจ็บทางสมอง หรือ
เกิดการติดเชื้อที่สมองทาให้
เยือ่ หุ้มสมองอักเสบ

การออกฤทธิ์ของยา

16


Slide 17

3.2 Placental barrier
• เป็ น barrier ที่ไม่ แน่ นหนาเท่ ากับที่สมอง เนื่องจากมีโครงสร้ าง
กายภาพของ capillaries เหมือนอวัยวะอืน่ ๆ แต่ ที่รกนี้จะมีเนื้อเยื่อ
ของส่ วนแม่ และลกู มาประสานกันทาให้ มีเซลหลายชั้นมากขึ้นและ
เป็ นผลทาให้ มีการดูดซึมของยาได้ น้อยลง
• ยาทีจ่ ะดูดซึมผ่ านรกได้ จะต้ องมีโมเลกุลไม่ ใหญ่ เกิน ไป (<600 A)
หรือมีคุณสมบัติทลี่ ะลายในไขมันได้ ดีและอยู่ในสภาพ non-ionized
form
• มียาหลายชนิดทีส่ ามารถผ่ านไปสู่ รก และมีผลเสี ยต่ อลูกได้ เช่ น
ยาสลบ ยาสเตียรอยด์ แอลกอฮอล์ เป็ นต้ น
การออกฤทธิ์ของยา

17


Slide 18

4. ปริมาณเลือดทีไ่ หลไปยังอวัยวะ
ส่ วนของร่ างกายทีม่ ีปริมาณเลือดไปเลีย้ งสู ง เช่ น หัวใจ ปอด ตับ
ไต ได้ รับยาในปริมาณสู งกว่ าและระดับสมดุลได้ เร็วกว่ าอวัยวะทีม่ ี
เลือดไปเลีย้ งน้ อย เช่ น กล้ามเนือ้ ไขมัน แต่ การกักเก็บยาในเนือ้ เยื่อ
นั้นก็ขนึ้ กับปัจจัยอืน่ ด้ วย

การออกฤทธิ์ของยา

18


Slide 19

การสะสมของยาในร่ างกาย
• ยาไม่ กระจายอย่ างสม่าเสมอในทุกอวัยวะ แต่ จะมีการสะสมใน
บางอวัยวะ เช่ น
1.เนือ้ เยื่อไขมัน
• ยาพวก lipid-soluble ทีอ่ ยู่ในกระแสเลือด ผ่ านเข้ าไปในเนือ้ เยือ่ ไขมัน
ได้ อย่ างง่ าย โดยไขมันจะทาหน้ าที่เป็ นแหล่งเก็บยา ทาให้ เหลือปริมาณยา
free drug ในเลือดไม่ ถึงระดับที่ต้องการ ซึ่งจะต้ องให้ ยาเพิม่ แต่ ถ้า
ให้ ยามากเกินไปอาจจะเป็ นอันตราย จากการที่มียาซึมออกจากไขมัน
(Redistribution)
การออกฤทธิ์ของยา

19


Slide 20

การสะสมของยาในร่ างกาย (ต่อ)
2.

ตา

• ยาหลายชนิดมีความจาเพาะทีจ่ ะจับกับสารสี ใน
retina ในตา อาจทาให้ เกิดการเป็ นพิษต่ อตาได้

3. ไต
• เนื่องจากไตเป็ นอวัยวะทีม่ ีเลือดมาเลีย้ งมาก
และยังมีโปรตีนชื่อ metallothionein ทาให้
สามารถจับกับโลหะและเป็ นที่สะสมของ
ยาบางชนิดได้ เช่ น ยาต้ านจุลชีพในกลุ่ม
Aminoglycosides
การออกฤทธิ์ของยา

20


Slide 21

4. ปอด
• เป็ นอวัยวะทีร่ ับเลือดมากทีส่ ุ ดในร่ างกาย
ยาทีม่ ีการสะสมทีป่ อดคือยาทีม่ ีคุณสมบัติเป็ นเบส

5. กระดูก
• ยาทีส่ ะสมทีก่ ระดูกคือยาทีส่ ามารถ
สร้ างสารประกอบกับส่ วนประกอบของกระดูกได้
เช่ น Tetracycline และ โลหะหนัก
เป็ นต้ น
การออกฤทธิ์ของยา

21