โรคข้าวโพด

Download Report

Transcript โรคข้าวโพด

โรคข้ าวโพด
จัดทาโดย
ผศ. อดิศักดิ์ บ้ วนกียาพันธุ์
การขาดธาตุของข้ าวโพด
ขาดไนโตรเจน
-ต้ นกล้ าเหลือง แคระแกร็น
-ใบเหลืองจากเส้ นใบออกไป เป็ นรู ปตัว v
-อาการแสดงที่ใบล่ าง ใบล่ างแห้ งตาย
ขอบใบยังเขียว
-ปลายฝักเมล็ดไม่ เต็ม โค้ งเล็กน้ อย ต้ นผอมบาง
โค้ ง
สภาพที่ส่งเสริมให้ แสดงอาการ
1.ดินทรายทีม่ ีอนิ ทรีย์วตั ถุตา่ ขาดอินทรีย์วตั ถุและพืชตระกูล
ถัว่ บารุงดิน
2.อินทรีย์วตั ถุทใี่ ส่ ลงในดินสลายตัวยังไม่ สมบูรณ์
3.พืชขาดนา้ หรือนา้ ท่ วมขัง
4.ดินถูกชะล้ างมากเนื่องจากความลาดชันสู ง
ขาดฟอสฟอรัส
-พืชแคระแกร็น ใบมีสีม่วงหรือแดง
-เมื่ออายุยงั น้ อย ปลายใบไหม้
-ฝักเล็กโค้ ง แถวเมล็ดไม่ ตรง ปลายฝักโค้ งไม่
ติดเมล็ด
-ต้ นผอมบาง โค้ ง
สภาพที่ส่งเสริมให้ แสดงอาการ
1.นา้ ท่ วมขัง หรือพืชขาดนา้ ดินแน่ น รากเจริญได้ น้อย รากเป็ นแผล
2.พืชได้ รับปุ๋ ยฟอสฟอรัส ไม่ เพียงพอ ดินมีธาตุนีต้ า่
3.ใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนและโปแตสเซียมสู งกว่ า ฟอสฟอรัสมาก ธาตุนีจ้ งึ
ถูกยับยั้ง
ขาดโปแตสเซียม
-ใบเหลือง ปลายใบล่ างไหม้ ตาย
-ต้ นหักง่ าย เพราะอ่ อนแอต่ อโรครากเน่ า
-ฝักมีขนาดเล็ก เมล็ดหลวม ปลายฝักไม่ ติดเมล็ด
สภาพที่ส่งเสริมให้ แสดงอาการ
1.ดินทราย ดินทีม่ ีอนิ ทรีย์วตั ถุทสี่ ภาพเปี ยกหรือแน่ นเกินไป
2.ดินทีม่ ีธาตุ โปแตสเซียมตา่
3.ปลูกข้ าวโพดตามหลังพืชทีใ่ ช้ โปแตสเซียมในดินสู ง
4.ดินมีธาตุแมกนีเซียมและแคลเซียมอัตราสู งกว่ าโปแตสเซียม
โรคข้ าวโพดขาดความสมดุลของธาตุอาหาร
แคลเซียม
อาการ
-อายุประมาณ 4 สั ปดาห์ ลาต้ นอวบ
ใหญ่ ข้ อสั้ น ต้ นเตีย้
-ยอดอ่ อนห่ อตัวบิดริ้วเป็ นเกลียว
-ยอดอ่ อนห่ อตัว บิดริ้วเป็ นเกลียว
ปลายใบติดเข้ าด้ วยกัน
-ปลายใบห่ อติดกัน คลี่ออกยาก บาง
ต้ นยอดโค้ งงอ เนือ้ ใบขรุขระ
-ช่ วงสร้ างดอกบริ เวณเนื้อเยื่อเจริ ญตาม
ข้ อและยอดฉ่ าน้า และฉี กขาดกรวงแห้ ง
ตาย
-ช่ อดอกตัวผู้เน่ าและไม่ สมบูรณ์ หรือแทง
ช่ อออกมาลาบาก
-เนือ้ เยือ่ เจริญตามข้ อและยอดฉ่านา้ ต่ อมา
แห้ งตายฉีดขาดทาให้ กาบใบแห้ ง ช่ อดอก
ตัวผู้เน่ าและไม่ สมบูรณ์
สาเหตุ
• ขาดการเพิม่ อินทรีย์วตั ถุลงไปในดิน
• การใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนในปริมาณสู งในรู ปของยูเรียหรือ
แอมโมเนียมซัลเฟต
• สภาพความเป็ นกรด- ด่ างบริเวณรอบๆ รากข้ าวโพด
เปลีย่ นแปลงไปมาก
การป้ องกันกาจัด
1. การปลูกพืชเดีย่ วซ้าทีเ่ ดิมเป็ น เวลานาน ควรมีการเติม
อินทรีย์วตั ถุในดินให้ สูงกว่ า 1.5 %
2. ควรมีการวิเคราะห์ ดนิ ใส่ ปูนขาวเพือ่ ปรับความเป็ นกรด-ด่ าง
(pH 5.5-8.0)
ขาดแมกนีเซียม
-ต้ นกล้าแสดงจุดด่ างขาว
-ใบบนเหลือง
-พืน้ ทีร่ ะหว่ างเส้ นใบเหลืองซีด ใบแก่มีสีแดง
ตามขอบใบและปลายใบ ถ้ าขาดมากอาจตาย
-ต่ อมาทั้งต้ นจะแสดงอาการเนือ้ ใบเหลือง
(เส้ นใบยังเขียว)
-แคระแกร็น แต่ ไม่ รุนแรงเหมือนธาตุฟอสฟอรัส
และโปแตสเซียม
สภาพที่ส่งเสริมให้ แสดงอาการ
1.ดินทราย ดินเป็ นกรด แหล่ งทีม่ ีฝนตกชุก ดินถูกชะล้ างมาก
2.มีโปแตสเซียมสู ง ขาดความสมดุลกับธาตุนี้
3.ใส่ หินปูนมาก มีแคลเซียมมาก ยับยั้งการใช้ ธาตุแมกนีเซียม
ของพืช
ขาดสั งกะสี
-เมื่อต้ นกล้ าอายุ 2 สั ปดาห์ ข้ อสั้ น ใบมีเส้ น
เหลือง
-ต่ อมาเนือ้ ใบเหลืองมาก ข้ างเส้ นกลางใบที่ยงั
เขียว ขอบใบและเส้ นกลางใบยังเขียว
-ใบใหม่ มีสีซีดจนขาว
-ข้ อล่ างของลาต้ นมีสีเข้ ม
สภาพที่ส่งเสริมให้ แสดงอาการ
1.ดินเป็ นด่ าง
2.ดินใส่ ปุ๋ยโปแตสเซียมสู งจน ขาดความสมดุลกับธาตุสังกะสี
3.ดินทรายทีเ่ ป็ นกรดและถูกชะล้ างมาก
4.ภาวะนา้ ท่ วมขัง
ขาดธาตุโบรอน
-ต้ นกล้ามีจุดสี ขาวทีเ่ นือ้ ใบ ต่ อมาขยาย
เป็ นแถบสี ขาวเป็ นเงานูนจากเนือ้ ใบ
-ข้ อสั้ น เกสรตัวผู้ และฝักไม่ โผล่ ต้ นเป็ น
พุ่ม
-เส้ นกลางใบกรอบ เปราะปลายราก
ฝอยบวมพอง
-ฝักเล็ก โค้ ง เมล็ดติดไม่ ดี ไม่ เต็มฝัก
ปลายฝักขาวโค้ ง เมล็ดผิดรูปร่ าง
สภาพที่ส่งเสริมให้ แสดงอาการ
1.พืชเครียดเพราะขาดนา้
2. ดินทีม่ ีความเป็ นกรดหรือด่ างสู ง
3.ดินทีม่ ีการชะล้ างสู ง
4.การใส่ ปูนขาวปริมาณสู ง
5.ธาตุโบรอนในดินทีน่ ้ อย กว่ า 0.5 ส่ วนในล้ าน
อาการผิดปกติของข้ าวโพดจากสารเคมี
• อาการใบไหม้ ข าวโพด
จากสารเคมีเมทธิลโบลไมด์
• อาการใบไหม้ ของต้ น
กล้ าจากสารคลุกเมล็ด
ฟูราดานที่ใช้ เกินอัตรา
กาหนด
โรครานา้ ค้ างข้ าวโพด
Corn Downy Mildew
• อาการโรคราน้า ค้ า งที่รุ น แรง
ช่ อดอกตัว ผู้เปลี่ยนเพศ ไปเป็ น
ต้ นกล้ าเจริญเติบโตขึน้ มา
• อาการโรคที่เรียกว่ าใบลายมีสี
เขียวอ่ อนหรื อเหลืองสลับเขียว
สร้ างสปอร์ ผงสี ขาวเมื่ อมี
นา้ ค้ าง
• อาการเริ่ ม แรกของระยะกล้ า
แผลจุดสี เหลือง ขยายออกเป็ นปื้ น
เหลือง (local symptom)
• ฝักจากต้ นที่เป็ นโรค
เมล็ดไม่ สมบูรณ์
เชื้อราสาเหตุ Peronosclerospora sorghi ( Weston & Uppal )
C.G. Shaw
การแพร่ ระบาดของเชื้อ
-ระบาดต้ นฤดูฝน พ.ค. มิ.ย. ก.ค. และ ส.ค.
จนสิ้นฤดูฝน
-อุณหภูมิ 20-26 องศาเซลเซียส ความชื้นสู ง
การป้ องกันกาจัด
1.
2.
3.
4.
ไม่ ควรปลูกก่ อนฝนตกชุก หรือก่ อนฤดูฝน
กาจัดพืชอาศัย วัชพืช ส่ วนที่เป็ นโรคออกจากแปลง
ใช้ เมล็ดพันธุ์ทปี่ ราศจากโรค
ใช้ พนั ธุ์ต้านทาน เช่ น นครสวรรค์ 1 นครสวรรค์ 72
สุ วรรณ 1 สุ วรรณ 5 สุ วรรณ3601
5. ใช้ สารเคมี เช่ น เมตาแลกซิล (Apron 35 SD)
โรคใบไหม้ แผลเล็กของข้ าวโพด
Southern or Maydis Leaf Blight
ลักษณะอาการ
-เริ่มจากจุดเล็กๆ สี เขียวอ่ อนฉ่านา้
ต่ อมาขยายออกตามความยาวของใบ
-กลางแผลมีสีเทา ขอบแผลมีสีเทานา้ ตาล
-ขนาดแผลไม่ แน่ นอน
ลักษณะอาการ(ต่ อ)
-กรณีเป็ นรุนแรงแผลจะขยายใหญ่ ทาให้ ใบแห้ งตาย
-ในระยะกล้ า ต้ นกล้ าเหี่ยว และแห้ งตายภาย ใน 3-4 สั ปดาห์ หลังปลูก
-ในต้ นแก่ อาการเกิดที่ใบล่ างๆ ก่ อน
-เกิดได้ ท้งั กับ ต้ น กาบใบ ฝัก และเมล็ด
เชื้อราสาเหตุ Bipolaris maydis (Nisik.) Shoemaker.
มีชื่อเดิมว่ า Helminthosporium maydis Nisik.
สภาพแวดล้ อมที่เหมาะสม
-ความชื้นสู ง อุณหภูมิระหว่ าง 20-32 องศาเซลเซียส
-เชื้อแพร่ กระจายไปกับลม ฝน
การป้ องกันกาจัด
1.ใช้ เมล็ดพันธุ์ทปี่ ราศจากโรค
2.ถอนเผาทาลายต้ นที่เป็ นโรค วัชพืช
3.ใช้ พนั ธุ์ต้านทาน เช่ น นครสวรรค์ 1 นครสวรรค์ 72 สุ วรรณ 1
สุ วรรณ2 สุ วรรณ5 สุ วรรณ 3851
4.ใช้ สารเคมี ไตรโฟรีน (ซาพรอล)
โรคใบไหม้ แผลใหญ่ ของข้ าวโพด
Northern Leaf Blight
ลักษณะอาการ
-เกิดทุกส่ วนของข้ าวโพด ทั้งกาบใบ ลาต้ น ฝัก
เกิดเป็ นแผลขนาดใหญ่ สีเทา หรือนา้ ตาล
-แผลทีใ่ บอาจเกิดเดีย่ วๆ หรือหลายแผลซ้ อนรวม
กันขยายเป็ นขนาดใหญ่
-แผลรวมกันมากใบจะแห้ งตาย
-พบโรคนีไ้ ด้ ตลอดฤดูเพาะปลูก
เชื้อราสาเหตุ Bipolaris turcica (Pass.) Shoemaker.
สภาพแวดล้ อมที่เหมาะสม
-ชอบความชื้นสู ง อากาศเย็นประมาณ 18-27 องศาเซลเซียส
การป้ องกันกาจัด
1.ปลูกพืชหมุนเวียน
2.ไม่ ปลูกพืชหนาแน่ น ไม่ ควรใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนในปริมาณทีส่ ู ง
3.ไม่ ปลูกพืชแซมไม้ ยนื ต้ นเช่ น มะม่ วง ยางพารา มะละกอ
เพราะจะทาให้ เชื้อระบาดมาก
4.ใช้ พนั ธุ์ต้านทาน เช่ น นครสวรรค์ 1 นครสวรรค์ 72
5.ใช้ สารเคมี ไตรโฟรีน (ซาพรอล)ฉีดพ่น
โรคใบจุดจากเชื้อเฮลมินโธสปอเรี่ยม
Northern Leaf Spot หรือ Helminthosporium Leaf Spot
ลักษณะอาการ
-พบอาการตั้งแต่ ใบแรกถึงใบธง
-แผลเป็ นจุดค่ อนข้ างกลม สี เหลือง
หรือนา้ ตาล ขนาดเล็ก มีวงแหวน
สี เหลืองล้ อมรอบ
-เมื่อความชื้นสู งแผลขยายใหญ่
เนือ้ ใบแห้ งตาย หูใบแห้ ง
-กาบใบและกาบฝักไหม้ แห้ ง
ฝักเน่ า
เชื้อราสาเหตุ Bipolaris zeicola (Stout.) Shoemaker
ชื่อเดิมคือ Helminthosporium carbonum Ullstrup.
Drechslera zeicola. (Stout) Subram. & Jain.
การป้ องกันกาจัด
1.ใช้ เมล็ดพันธุ์ทปี่ ราศจากโรค
2.ถอนเผาทาลายต้ นที่เป็ นโรค วัชพืช
3.ใช้ พนั ธุ์ต้านทาน เช่ น นครสวรรค์ 1 นครสวรรค์ 72 สุ วรรณ 1
สุ วรรณ2 สุ วรรณ5 สุ วรรณ 3851
4.ใช้ สารเคมี ไตรโฟรีน (ซาพรอล)
โรคราสนิม
Southern Rust
ลักษณะอาการ
-เป็ นจุดนูนเล็กๆ สี นา้ ตาลแดง
-แผลเกิดด้ านบนใบ มากกว่ า ด้ านล่ างใบ
-ต่ อมาแผลแตกออก มองเห็นเป็ นผงสี
สนิมเหล็ก
-กรณีเป็ นรุนแรง ใบจะแห้ งตาย
เชื้อราสาเหตุ Puccinia polysora Underw.
-เชื้อระบาดปลายฤดูฝน ต้ นฤดูหนาว
-ชอบความชื้นในอากาศสู ง 95-100%
-อุณหภูมิ ค่ อนข้ างเย็น ประมาณ 24-28 องศาเซลเซียส
การป้ องกันกาจัด
1.ปลูกพันธุ์ต้านทาน
2.กาจัดวัชพืช และต้ นที่เป็ นโรคออกจากแปลง
3.ใช้ สารเคมี ไดฟิ โนโคนาโซล (สกอร์ ) หรือ แมนโคเซบ 80% WP
โรคกาบและใบไหม้
Banded Leaf and Sheath Blight
ลักษณะอาการ
-อาการเริ่มจากส่ วนล่ างของกาบฝักชั้นนอก
สุ ด
-แผลบนกาบฝักกระจายตัว และอาการเป็ น
แถบจะเห็นชัด
-พบจุดฉ่านา้ รู ปร่ างไม่ แน่ นอนทั้งด้ าน
หน้ าและหลังของโคนกาบใบ
-ต่ อมาจุดเหล่ านั้นจะเปลีย่ นเป็ นสี ฟาง
ข้ าว ในข้ าวโพดพันธุ์ต้านทาน เช่ นพวก
inbred line
-ในพันธุ์ทอี่ ่ อนแอแผลจะขยายปกคลุม
ทั่วทั้งกาบใบ
- ทีล่ าต้ น เกิดจุดหรือแผลบนเปลือกของ
ลาต้ น ซึ่งอยู่ใต้ กาบใบทีเ่ ป็ นโรคแผลเป็ น
สี นา้ ตาลเข้ มถึงดา
- แผลอาจยุบตัวลงในเปลือก
- แผลจะขยายตัวบนข้ อทีส่ ี่ หรือห้ านับจาก
โคนต้ นขึน้ มา
- แผลจะขยายรวมกันทางด้ านข้ างของ
ปลายแผลแต่ ละแผล
- บางครั้งแผลแห้ งเป็ นสะเก็ดนา้ ตาลเข้ ม
เชื้อราสาเหตุ Rhizoctonia solani Kuhn.f.sp.sasakii Exner.
-เส้ นใยเจริญเติบโตเร็ว ทีอ่ ุณหภูมิ 20-30 องศาเซลเซียส
-ความชื้นสั มพัทธ์ 90-100%
การป้ องกันกาจัด
1.ใช้ เมล็ดพันธุ์ทปี่ ราศจากโรค
2.ถอนและเผาทาลายต้ นที่เป็ นโรค วัชพืช พืชอาศัย
3.เตรียมดินให้ มีการระบายนา้ ที่ดี
4.ไม่ ควรใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินความจาเป็ น
5.ปลูกพืชหมุนเวียน
6.เพิม่ จุลนิ ทรีย์ปฏิปักษ์ เช่ น Trichoderma harzianum, T. viride หรือ
Bacillus subtilis เชื้อเหล่ านีส้ ามารถเจริญแข่ งขันและย่ อยสลายเส้ นใย
ของเชื้อสาเหตุเหล่ านีไ้ ด้
โรคใบจุด
Leaf Spot
ลักษณะอาการ
-พบที่ใบ กาบใบ และในฝักด้ วย
-เป็ นจุดเล็กๆ ตรงกลางจุดแห้ งมีสีเทา
หรือนา้ ตาลอ่ อน ขอบแผลสี นา้ ตาลแดง
-และแผลเปลีย่ นเป็ นสี นา้ ตาลไหม้
-มีวงแหวนสี เหลืองล้ อมรอบอีกชั้นหนึ่ง
พบเมื่ออากาศร้ อนชื้น
เชื้อราสาเหตุ Curvularia lunata (Wakker) Boed. Var. aeria
การป้ องกันกาจัด
1.ใช้ เมล็ดพันธุ์ทปี่ ราศจากเชื้อ
2.ปลูกพันธุ์ต้านทานโรค เช่ น นครสวรรค์ 1 นครสวรรค์ 72
สุ วรรณ5
3.ไม่ ปลูกพืชหนาเกินไป
4.ไม่ ควรใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินความจาเป็ น
โรคจุดสี นา้ ตาล
Brown Spot
• อาการใบจุดสี นา้ ตาล สาเหตุจากเชื้อ
ราPhysoderma maydis บนใบพบจุด
สี นา้ ตาลขอเหลืองเป็ นกลู่ม บนกาบใบ
และเส้ นกลางใบ แผลมีสีน้าตาลเข้ ม
ขนาดใหญ่ กว่ าบนใบ
• ลาต้ นที่เป็ นโรค พบผงสปอร์
สี นา้ ตาลเข้ มทีผ่ วิ นอก
• เมื่อผ่ าดูภายในพบผงสปอร์
สี นา้ ตาลในลาต้ น
เชื้อราสาเหตุ Physoderma maydis Miyabe
-เข้ าทาลายพืชเมื่อมีความชื้นสู ง นา้ ค้ างแรง
-อุณหภูมิทเี่ หมาะสม อยู่ระหว่ าง 23-30 องศาเซลเซียส
การป้ องกันกาจัด
1.ไถกลมเศษเหลือของพืชทีเ่ ป็ นโรค
2.ปลูกพันธุ์ต้านทาน เช่ น นครสวรรค์ 1 นครสวรรค์ 72 สุ วรรณ5
3.ไม่ ใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินความจาเป็ น
4.ไม่ ปลูกพืชหนาแน่ น
โรคต้ นเน่ าเกิดจากเชื้อฟิ วซาเรียม
Fusarium Stalk Rot
• อาการโรคต้ น เน่ า
จากเชื้อรา แสดง
อาการใบไหม้
• ล าต้ นที่ ถู กเชื้ อ ราเข้ า
ทาลายจากการปลูกเชื้อจะ
มีสีนา้ ตาลแดง
• ฝักจากต้ นเป็ นโรคไม่
สมบูรณ์ เมล็ดมีเชื้อรา
เข้ าทาลาย
เชื้อราสาเหตุ Fusarium moniliforme Sheld.
สปอร์ ขนาดเล็ก (microconidia) ต่ อกันเป็ นลูกโซ่ ยาว
การป้ องกันกาจัด
1.เผาทาลายเศษซากข้ าวโพดหลังเก็บเกีย่ ว
2.ไม่ ควรใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป และ โปแตสเซียมน้ อยเกินไป
3.ไม่ ควรปลูกแน่ น มีการระบายนา้ อากาศดี
4.ใช้ พนั ธุ์ต้านทาน
โรคโคนเน่ า
Basal Stem Rot Disease
อาการที่โคนต้ น
-พบมากบริ เวณที่ล่ ุมน้าขังบริ เวณโคนต้ น
ช่ วงข้ อที่ 1-2 พบแผลฉ้าน้าคล้ ายอาการโรค
ที่เกิดจากเชื้แบคทีเรีย แต่ ไม่ มีกลิน่ เหม็น
-เมื่อถอนลาต้ นพบว่ าถอนง่ ายเพราะระบบ
รากถูกทาลาย
• ล าต้ น ที่ ถู ก เชื้ อ ราเข้ า
ทาลาย เมื่อลอกเปลือก
ออกพบเส้ นสี น้ า ตาล
โคนต้ น มี ก ลุ่ ม เส้ นใยสี
ขาว
-รากจะเปลีย่ นเป็ นสี ฟางข้ าวถึงสี นา้ ตาล
และมีเส้ นใยสี ขาวของเชื้อสาเหตุปกคลุม
อยู่ทรี่ าก
-ลาต้ นทีถ่ ูกเชื้อราเข้ าทาลาย เมื่อลอก
เปลือกออกพบเส้ นสี นา้ ตาล โคนต้ นมี
กลุ่มเส้ นใยสี ขาว
- เส้ นใยสี ขาวของเชื้อรา marasmiellus
paspali เจริญอยู่ทโี่ คนต้ นทีแ่ สดงอาการ
เน่ า
สาเหตุ เชื้อรา Marasmiellus paspali
การป้ องกันกาจัด
1.เตรียมดินให้ มีการระบายนา้ ที่ดี เพิม่ อินทรีย์วัตถุในดิน
2.ระยะข้ าวโพด อายุ 50-60 วันเมื่อพบอาการควรถอนและเผา
ทาลาย
3.กาจัดเศษวัชพืช พืชอาศัยออกจากแปลง
4.ใช้ เมล็ดพันธุ์ทปี่ ราศจากโรค
5.ปลูกพันธุ์ต้านทาน เช่ น นครสวรรค์ 1 นครสวรรค์ 72 สุ วรรณ 5
สุ วรรณ 3851
โรคต้ นเน่ าเกิดจากเชื้อมาโครโฟมิน่า
Charcoal Rot
• อาการถูกทาลายจากเชื้อรา
macrophomina phaseolina
• ล าต้ นที่ ถู ก เชื้ อ รา
เข้ าทาลายเป็ นสี เทาดา
• ลาต้ นซ้ ายมือมีสีดาถูกเชื้อ
ราเข้ าทาลายเปรียบเทียบกับ
ต้ นปกติขวามือ
• การเข้ าทาลายจากโคน
ต้ นกระจายขึน้ ไปตามท่ อ
นา้ ท่ ออาหาร
• เมื่อผ่ าลาต้ นภายในพบ
เม็ดกลมดาเล็กมากมาย
เชื้อราสาเหตุ Macrophomina phaseolina (Tassi) G. Goid
การป้ องกันกาจัด
1.ไถพรวนดิน เติมปุ๋ ยอินทรีย์ในดิน
2.ไม่ ควรใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป
3.ไม่ ปลูกข้ าวโพดหนาแน่ น
4.ใช้ พนั ธุ์ต้านทาน เช่ น นครสวรรค์ 1 นครสวรรค์ 72 สุ วรรณ 5
โรคต้ น ฝัก และเมล็ดเน่ าเกิดจากเชื้อดิโพลเดีย
Diplodia Stalk Kernel and Ear Rot
• ฝักข้ าวโพดถูกทาลายโดยเชื้อรา
Diplodia maydis เส้ นใยและ
สปอร์ ของเชื้ อ ราเจริ ญ บนฝั ก
เปรียบเทียบกับฝักปกติ
• บริ เ วณข้ อ ของล าต้ น ที่ เ ป็ นโรค
พบจุดสี ดากลมเล็กๆ (pycnidia)
ภายในสร้ างสปอร์ ของเชื้ อ รา
มากมาย
เชื้อราสาเหตุ Diplodia maydis (Berk.)Sacc.
การป้ องกันกาจัด
1.ไถพรวนตากดิน เติมอินทรีย์วตั ถุในดิน
2.ไม่ ควรใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินความจาเป็ น
3.ไม่ ควรปลูกข้ าวโพดหนาแน่ น
4.ใช้ พนั ธุ์ต้านทาน เช่ น นครสวรรค์ 1 นครสวรรค์ 72 สุ วรรณ 5
โรคสมัทหรือโรคราเขม่ าสี ดา
Common Smut
• อาการของโรคสมัทบริเวณจุดเจริ ญ
ของข้ าวโพดจะแสดงอาการบวมพอง
เนื่องจากเชื้อราสร้ างเส้ นใยภายในจุด
เจริญ เมื่อแก่ จะสร้ างสปอร์ เป็ นผงสี
ดาแตกแล้ วปลิวไปตามลม เชื้อรา
สาเหตุโรค ustilago maydis
เชื้อราสาเหตุ Ustilago maydis (DC.) Cda.
การป้ องกันกาจัด
1.เผาทาลายส่ วนที่เป็ นโรค วัชพืช พืชอาศัยออกจากแปลง
2.ปลูกพืชหมุนเวียน
3.ใส่ ปุ๋ยอินทรีย์วตั ถุบารุงดิน
4.ไม่ ควรใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินความจาเป็ น
5.ปลูกพันธุ์ต้านทาน หลีกเลีย่ งการปลูกข้ าวโพดหวาน
โรคต้ นเน่ าเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
Bacterial Stalk Rot
ลักษณะอาการ
-ใบไหม้ จากปลายใบเข้ ามาทีโ่ คนใบ
-ยอดของลาต้ นมีสีซีดเหี่ยวเฉา
-ใบไหม้ ลุกลามเป็ นยอดเน่ า
-อาการจะรุนแรงเมื่อพืชออกดอกจน
ถึงติดฝัก
-ลาต้ นฉ่านา้ มักพบตรงข้ อที่อยู่เหนือดิน
เป็ นรอยช้ามีสีนา้ ตาลแดงถึงนา้ ตาลเข้ ม
-ภายในลาต้ นมีนา้ เมือก ไหลเยิม้ มีกลิน่
เหม็น
-ต้ นหักล้ มง่ าย และก่ อนออกดอกต้ นจะ
ตายอย่ างรวดเร็ว
เชื้อแบคทีเรียสาเหตุ Erwinia chrysanthemi pv. zeae
-แกรมลบ ไม่ ติดสี ย้อมทีเ่ ป็ นกรด
-เลีย้ งบน Nutrient Agar สร้ างโคโลนี สี ขาวอมเทา นูน วาว เรียบ
ขอบสม่าเสมอ
-เลีย้ งบน Potato-glucose agar ที่ pH 6.5 อายุ 3-6 วัน โคโลนีจะมี
ลักษณะคล้ ายไข่ ดาว
การป้ องกันกาจัด
1.หลีกเลีย่ งการปลูกข้ าวโพดหวานทีอ่ ่ อนแอต่ อโรค
2.ถอนเผาทาลายต้ นที่เป็ นโรค
3.ปลูกอ้ อยพันธุ์ต้านทาน
4.เตรียมแปลงให้ มีการระบายนา้ ที่ดี
5.ไม่ ควรใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินความจาเป็ น
6.ปลูกพืชหมุนเวียน
โรคใบด่ าง
Mosaic
• อาการใบด่ าง บริ เวณโคน ยอดอ่ อนเหลืองซีดจากนั้นอาการขยาย
ออกเป็ นขีดเส้ น ๆ (broken streak) ด่ างเหลือง เป็ นแนวขนานตามเส้ นใบ
เชื้อไวรัสสาเหตุ
Maize Dwarf Mosaic Virus (MDMV)
การป้ องกันกาจัด
1.กาจัดพืชทีแ่ สดงอาการ พืชอาศัย เช่ น หญ้ าจอห์ นสั น อ้ อย ข้ าวฟ่ าง
2.กาจัดเพลีย้ อ่ อน ซึ่งเป็ นแมลงพาหะ
3.ปลูกพืชหมุนเวียน
4.ใช้ พนั ธุ์ต้านทาน เช่ น สุ วรรค์ 5 นครวสวรรค์
โรครากแผล
ลักษณะอาการ
•
•
•
•
•
เข้ าทาลายทุกระยะการเจริญเติบโต
ข้ าวโพดแคระแกรน
ระบบรากยาวเพียง 1/4-3/4 นิว้
ปลายรากพองเล็กน้ อย
รากเป็ นสี นา้ ตาลหรือสี นา้ ตาลไหม้
ลักษณะอาการ (ต่ อ)
•
•
•
•
•
ในระยะต้ นกล้ าจะแสดงอาการ chlorosis อย่ างชัดเจน
การแคระแกรนอาจเป็ นผลทาให้ ไม่ ได้ ผลผลิตเลย
ความสู งลดลง
เส้ นผ่ าศูนย์ กลางลาต้ นเล็กลง
นา้ หนักต้ นและรากลดลง
สาเหตุ
เกิดจากไส้ เดือนฝอย สกุล Pratylenchus และยังอาจ
เกิ ด ได้ จ ากไส้ เดื อ นฝอยอื่ น ๆ เช่ น Hoplolaimus
sp.,
Tylenchorhymchus sp.
ในต่ างประเทศ มีรายงานว่ าเกิดจาก Longidorus และ
Paratrichodorus ทาให้ รากเป็ นแผลและระบบรากเสี ยหาย
เกิดอาการรากกุด
การป้ องกันกาจัด
•
•
•
•
ทาลายชิ้นส่ วนรากในแปลง
การปลูกพืชหมุนเวียน
การใช้ ปุ๋ยหมัก เพือ่ เพิม่ ธาตุอาหารให้ ความแข็งแรงแก่ พชื
การใช้ สารเคมี เช่ น Telone หรือ Furadan
โรครากเน่ า
ลักษณะอาการ
• การเจริญเติบโตหยุดชะงัก
• ใบมีสีเหลืองและอาจตายในทีส่ ุ ด
สาเหตุ
เกิดจากไส้ เดือนฝอยรากแผล ในสกุล pratylenchus
(P. brachyurus) และ Hoplolaimus
การป้ องกันกาจัด
•
•
•
•
ทาลายชิ้นส่ วนรากในแปลง
การปลูกพืชหมุนเวียน
การใช้ ปุ๋ยหมัก เพือ่ เพิม่ ธาตุอาหารให้ ความแข็งแรงแก่ พชื
การใช้ สารเคมี เช่ น Telone หรือ Furadan
โรครากปม
ลักษณะอาการ
• เกิดเซลยักษ์ เริ่มเห็นได้ ชัดเมือ่ พืชถูกไส้ เดือนฝอยเข้ า
ทาลายได้ 6 วัน
• จากนั้นพืชจะแสดงอาการ chlorosis
• บางพันธุ์เป็ นปมน้ อยบางพันธุ์กเ็ ป็ นปมมาก
สาเหตุ
เกิดจากไส้ เดือนฝอยรากปม Meloidogyne spp.
วงชีวติ ของไส้ เดือนฝอยรากปมกับข้ าวโพดมีประมาณ 30 วัน
การป้ องกันกาจัด
•
•
•
•
ทาลายชิ้นส่ วนรากในแปลง
การปลูกพืชหมุนเวียน
การใช้ ปุ๋ยหมัก เพือ่ เพิม่ ธาตุอาหารให้ ความแข็งแรงแก่ พชื
การใช้ สารเคมี เช่ น Telone หรือ Furadan
ค้ นคว้ าข้ อมูลเพิม่ เติมได้ ที่
ชุ ติมันต์ พานิชศักดิ์พฒ
ั นา โกมินทร์ วิโรจน์ วฒ
ั นกุลและ อดิศักดิ์ คานวณศิลป์ .
โรคข้ าวโพดและการป้องกันกาจัด. สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการ
เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ .