Trichoderma harzianum - สำนักงาน เกษตร จังหวัด บุรีรัมย์

Download Report

Transcript Trichoderma harzianum - สำนักงาน เกษตร จังหวัด บุรีรัมย์

กลมุ่ อารักขาพืช
สานักงานเกษตรจังหวัดบ ุรีรมั ์
เชื้อราไตรโคเดอรมาชนิดสด
เชื้อราไตรโคเดอรมา
เป็นเชื้อจุลินทรี์ปฏิปักษ ต่อเชื้อราสาเหต ุโรคพืช
หลา์ชนิด มีสีเขี์ว เจริญได้ดีทงั้ ในดิน บนเศษ
ซากพืช และซากอินทรี์วัตถ ุตามธรรมชาติ
ประโ์ชน
ใช้ในการควบค ุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราหลา์
ชนิด เช่น โรครากเน่าโคนเน่า แอนแทรคโนส
โรคไหม้ เป็นต้น
ชนิดของโรคพืชที่ควบค ุมได้
1. เชื้อรา พิเที์ม (Pythium spp.)
์อดเน่า รากเน่า-โคนเน่า ต้นเน่า เน่าคอดิน
2. เชื้อรา ฟิวซาเรี์ม (Fusarium spp.)
โรคกล้าไหม้ โคนเน่า ต้นเน่า หรือกอเน่าแห้ง ผลเน่า โรค
เหี่์ว
3. เชื้อรา สเคลอโรเที์ม (Sclerotium rolfsii.)
โรครากเน่า ราเมล็ดผักกาด
4. เชื้อรา ไรซ็อกโทเนี์ (Rhizoctonia solani)
โรคหัวเน่า รากเน่า เน่าคอดิน กาบใบแห้ง
5. เชื้อรา ไฟท็อปธอร่า (Phytopthora spp.) โรคราก
เน่า-โคนเน่า ส้ม ท ุเรี์น
6.เชื้อรา(Colletotrichum spp) โรคแอนแทรคโนส
โรคเหี่์วในมะเขือเทศ
Fusarium wilt
โรคจากเชื้อพิเที์ม
เน่าคอดินต้นกล้า
รากเน่า
โรคที่เกิดจากเชื้อรา สเคลอโรเที์ม
โรคราเมล็ดผักกาด
ราเมล็ดผักกาดในแครอท
ลักษณะการควบค ุมโรค
- เป็นปรสิต(Parasite)โด์การพันรัดเส้นใ์
เชื้อราสาเหต ุโรคพืช
- สร้างปฏิชีวนสาร(Antibiotics)เพื่อ์ับ์ัง้
และทาลา์เส้นใ์ของเชื้อราโรคพืช
ลักษณะการควบค ุม/ทาลา์
ใช้เส้นใ์พันรัดเส้นใ์ของโรคพืช
ลักษณะการเป็นปรสิต
เส้นใ์เชื้อราโรคพืช
ไตรโคเดอรมา
- มีความสามารถในการแข่งขันสูง(Competition)
สร้างเส้นใ์/สปอรได้รวดเร็ว
ไรซ็อคโทเนีย
ไตรโคเดอร์มา
ไรซ็อคโทเนีย
เชื้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดต่ างๆ
ชนิดผงแห้ง
ใช้เมล็ดข้าวฟ่างผลิต
ใช้ขา้ วเจ้าผลิต
วัสด ุ-อ ุปกรณ
1.ข้าวเจ้า
2.ถ้ว์ตวง
3.น้าสะอาด
4.หม้อห ุงข้าวไฟฟ้า
5.ทัพพี
วัสด ุ-อ ุปกรณ
6.ถ ุงพลาสติกทนร้อน 8X12 นิ้ว
7.์างรัด
8.เข็มหมุด
9.ตราชัง่ ขนาดเล็ก
10.หัวเชื้อราไตรโคเดอรมาบริส ุทธิ์
ขัน้ ตอนการผลิต
ห ุงข้าวด้ว์หม้อห ุงข้าวไฟฟ้า
ข้าว 3 ส่วน + น้า 2 ส่วน
ห ุงข้าวด้ว์หม้อห ุงข้าวไฟฟ้า
คนข้าวให้รว่ น
• ตักข้าวที่ห ุงส ุกใหม่ๆใส่ถ ุงพลาสติกทนร้อน ขนาด
8x12 นิ้ว ถ ุงละ 250 กรัม รีดอากาศออก แล้วพับ
ปากถ ุง วางไว้ให้อ ุณหภ ูมิอนุ่ เกือบเ์็น
วางทิ้งไว้ให้อนุ่ (เกือบเ์็น)
• ใส่หวั เชื้อราไตรโคเดอรมาลงไปบนข้าว โด์ใส่
เพี์งเล็กน้อ์ รัดปากถ ุงด้ว์์างรัด แล้ว
คล ุกเคล้าให้ทวั่ ถ ุง
• ใช้เข็มหมุดแทงรอบๆปากถ ุงใต้บริเวณ์างรัด
15-20 จ ุด เพื่อให้อากาศภา์ในถ ุงถ่า์เทได้
เล็กน้อ์
• นาไปวางบ่มเชื้อไว้ในที่รม่ อากาศถ่า์เท และมี
แสงสว่างส่องถึงหรือเปิดไฟให้แสงสว่าง
เชือ้ ราไตรโคเดอร์มาที่ขยายโดยใช้ขา้ วขาวเสาไห้ อายุ 1 วัน
เชื้อราไตรโคเดอร์มาที่ขยายโดยใช้ปลายข้าวขาวดอกมะลิ 105 อายุ 4 วัน
เชื้อราไตรโคเดอร์มาที่ขยายโดยใช้ขา้ วขาวตาแห้ง105 อายุ 5 วัน
ครบ 2 วันข์าข้าวในถ ุงอีกครัง้ แล้ววางไว้ที่เดิมอีก
5-7 วัน เชื้อจะเจริญเต็มถ ุงและมีสีเขี์วเข้ม
เชื้อราไตรโคเดอรมาที่เจริญเต็มที่แล้ว
เชื้อราฯที่ปนเป้ ื อน
เชื้อราฯที่ปนเป้ ื อน
เชื้อราฯที่ปนเป้ ื อน
การเก็บรักษา
• ควรเก็บเชื้อราไตรโคเดอรมา ไว้ในที่เ์็น 7-10 oc
สร ุปขัน้ ตอนการผลิต
ห ุงข้าวด้ว์หม้อห ุงข้าวไฟฟ้า
ข้าว 3 ส่วน/น้า 2 ส่วน
ตักข้าวใส่ถ ุงพลาสติกขณะร้อน 250 กรัม/ถ ุง
พับปากถ ุงเกลี่์ข้าวให้กระจา์ ทิ้งให้เ์็น
ใส่หวั เชื้อ
นาไปวางบ่มเชื้อ
5-7 วัน เชื้อเจริญทัว่ ถ ุง
การนาไปใช้ ควบคุมโรค
การนาไปใช้
• ใช้คล ุกเมล็ด
เชื้อสด 10กรัม (1 ช้อนแกง) ต่อเมล็ดพันธ ุ
1 กิโลกรัม เติมน้า 10 ซี.ซี. คล ุกเคล้าให้ทวั่
แล้วนาไปปล ูก
ใช้ผสมกับปุ๋์อินทรี์
• เชื้อราฯ 1 ก.ก.
• ราละเอี์ด 4 ก.ก.
• ปุ๋์อินทรี์(ปุ๋์หมักหรือปุ๋์คอก) 100 ก.ก.
• ผสมค ุกเคล้า รดน้าให้มีความชื้นเล็กน้อ์
ผสมเชื้อราฯกับส่วนผสม
ใช้กระสอบหรือเศษฟางคล ุมทิ้งไว้ที่รม่ 3 วัน
การนาไปใช้
1.ใช้ผสมกับวัสด ุปล ูกหรือเพาะกล้า
ในอัตรา1ส่วนต่อวัสด ุปล ูก 4 ส่วน
2.รองก้นหล ุม
-ห์อดเมล็ด ใช้ 10-20 กรัม(1-2ช้อนแกง)
-ปล ูกด้ว์ต้นกล้า ใช้ 50-100 กรัม/หล ุม
-พืชต้นใหญ่ ไม้ผล 3-5 ก.ก./หล ุม
3. ใช้หว่านในแปลงปล ูก
หว่านส่วนผสม อัตรา 50-100 กรัม/ตรม.
4. โร์รอบโคนต้นพืช
โร์ส่วนผสมรอบโคนต้นจนถึงรอบชา์พุ่มหรือ
ระหว่างแถวพืชที่ปล ูกแล้ว 50 – 100 กรัม/ตรม.
ผสมน้ารดหรือฉีดพ่น
เชื้อราฯ 1 ก.ก./น้า 200 ลิตร รดหรือฉีดพ่น
1.ฉีดพ่นน้าเชื้อสดลงในกระบะเพาะกล้า
กระถาง หรือถ ุงปล ูกพืช หลังจากห์อดเมล็ด
์้า์กล้า หรือระหว่างช่วงการเจริญเติบโต
โด์ฉีดให้ดินเปี์กชมุ่
2. ฉีดพ่นน้าเชื้อสดลงในหล ุมปล ูกหลังจาก
เพาะเมล็ด ์้า์พืชลงปล ูก โด์ฉีดให้ดิน
เปี์กชื้น
3. ฉีดพ่นน้าเชื้อสดลงบนแปลงปล ูกพืช หลัง
หว่านเมล็ด แล้วคล ุมแปลงด้ว์ฟางข้าวหรือ
ก่อนคล ุมด้ว์พลาสติกดา หรือฉีดพ่นพืชที่
กาลังเจริญเติบโตอัตรา 10-20 ลิตรต่อ100
ตารางเมตร
4. ฉีดพ่นน้าเชื้อสดโคนต้นพืชและใต้ทรงพุ่ม
ขอบชา์พุ่ม ให้ดินพอเปี์กชื้น
ข้อแนะนา
• ควรใช้ไตรโคเดอรมา เพื่อการป้องกันโรค
เป็นวิธีที่ดีที่ส ุด
• หลีกเลี่์งการใช้รว่ มกับสารเคมีกาจัดเชื้อรา
ถ้าจาเป็นต้องใช้รว่ มกับสารเคมีกาจัดเชื้อรา
ควรทิ้งระ์ะเวลาห่างกัน 7-10 วัน
• ควรผสมเชื้อราไตรโคเดอรมา ในปริมาณที่
พอดีใช้หมดในครัง้ เดี์ว
• ควรใช้ให้ถ ูกต้อง ใช้ให้บ่อ์ และใช้อ์่าง
ต่อเนื่อง จึงจะเห็นผล
โรคเมล็ดด่ าง(Dirty Panicle Disease)
- Cercospora oryzae I.Miyake
- Trichoconis padwickii Ganguly
- Helminthosporium oryzae Breda de Haan. - Sarocladium oryzae
-Fusarium semitectum Berk & Rav.
โรคกาบใบแห้ ง
RHIZOCTONIA SHEATH BLIGHT – Rhizoctonia solani
โรคใบจุดสี นา้ ตาล
BROWN SPOT
Helminthosporium oryzae
เมล็ดพันธขุ้ าว
รดน้าที่มีสว่ นผสมไตรโคเดอรมา
อีกครัง้ ในช่วง 24 ชม.
แช่น้า 1 คืน
แช่ในน้าที่มีสว่ นผสมไตรโคเดอรมา
1 ก.ก./น้า 200ลิตร นาน 30 นาที
เปรี์บเที์บการงอกหลังการเพาะเมล็ด 1 คืน
น้าธรรมดา
น้าผสมไตรโคเดอรมา
การเจริญของต้นกล้า หลังการเพาะ 7 วัน
น้า
น้า+ไตรโคเดอรมา
รากต้นกล้าที่ใช้ไตรโคเดอรมา
รากข้าวอา์ ุ 3 วัน
รากข้าวอา์ ุ 30 วัน
การหว่านข้าวที่บ่มเพาะเมล็ดด้ว์ไตรโคเดอรมา
เมล็ดพันธขุ้ าวที่บ่ม
เพาะไว้ 1 วัน 1 คืน
ข้าวที่หว่านแล้ว
เตรี์มการหว่าน
หว่านข้าว
การใช้เชื้อราไปกับระบบการให้น้า
เชื้อสด 1ก.ก./น้า 200 ลิตร
นาไปใส่กระจา์ให้ทวั่ แปลงนา
คนให้สปอรเชื้อราฯเข้ากับน้า
ใส่ไปกับระบบการให้น้า
ฉีดพ่นเชื้อราไตรโคเดอรมาผสม
น้า 1 ก.ก./น้า 200 ลิตร
- ช่วงข้าวกาลังเจริญเติบโต-ระ์ะตัง้ ท้องให้ฉีด
พ่นท ุก10-15 วัน ป้องกันโรคใบจ ุด ใบไหม้
- ช่วงข้าวตัง้ ท้อง-เริม่ ออกรวง ให้ฉีดพ่นอีก 1-2
ครัง้ ช่ว์ป้องกันการเกิดโรคใบจ ุด โรคเมล็ด
ด่าง
HARVESTNG TIME
ผลการใช้ไตรโคเดอรมาในข้าว
พบว่าเชื้อราไตรโคเดอรมาเคลือบอ์ูร่ อบ
รากข้าวท ุกระ์ะของการเจริญจนเก็บเกี่์ว
ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น 42 %
โรคเมล็ดด่างเกิดขึ้นลดลง 66.25 %
เมล็ดเสี์หรือไม่สมบูรณ ลดลง 66.38 %