การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ปี 2555 สำหรับผู้มีเงินได้ ม.40

Download Report

Transcript การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ปี 2555 สำหรับผู้มีเงินได้ ม.40

การตรวจสอบพันธุ์ใบยากับการจัดเก็บ
ภาษีของกรมสรรพสามิต
โดย
ส่ วนตรวจสอบป้องกันและปราบปราม
1
ประเภทของยาสู บ (Type of Tobacco)
ยาสู บทีใ่ ช้ ในอุตสาหกรรมผลิตบุหรี่ของโรงงานยาสู บ สามารถแบ่ งออกเป็ น
ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภทคือ
 ยาสู บประเภทบ่ มไอร้ อน (Flue – Cured Tobacco)
ได้ แก่
ยาสู บเวอร์ ยเิ นีย
 ยาสู บประเภทบ่ มอากาศ (Air –Cured Tobacco)
ได้ แก่
ยาสู บเบอร์ เลย์
 ยาสู บประเภทบ่ มแดด (Sun – Cured Tobacco)
ได้ แก่
ยาสู บเตอร์ กชิ
ใบยาเวอร์ ยเิ นีย
ลักษณะใบยาเวอร์ ยเิ นีย
- ใบจะมีสีเขียวเข้ ม
- ใบใหญ่
- ลักษณะใบโน้ มลง
พืน้ ทีเ่ พาะปลูกใบยาเวอร์ ยเิ นีย
- ปลูกมากทางภาคเหนือ
- ภาคอีสาน ปลูกที่หนองคาย,
นครพนม, บึงกาฬ
- ภาคใต้ ปลูกมากที่ ปั ต ตานี ,
ยะลา, นราธิวาส
ลักษณะของต้ นยาสู บ
ลักษณะใบ
พันธ์ ทนี่ ิยมปลูก
- K 326
-Coker 206
การเก็บใบยา
- ต้ นยาสู บอายุประมาณ 70 วัน หลัง
ปลูก พร้ อมที่จะเก็บใบยาครั้งแรก
- ต้ นยาสู บ เวอร์ ยเิ นีย มีอายุ
ประมาณ 110-120 วัน เก็บใบยา
ได้ ประมาณ 5-7 ครั้ง/ต้ น
- การเก็บใบยา จะเก็บจากใบล่ างสุ ด
ขึน้ ไปหาตรงส่ วนยอด
การบ่ มใบยาสู บเวอร์ ยเิ นีย
การบ่ มใบยาสู บเวอร์ ยเิ นีย
- การบ่ มใบยาสู บเวอร์ ยเิ นีย ใช้ วธิ ีการบ่ ม
ด้ วยไอร้ อน
- มีการควบคุมอุณหภูมแิ ละความชื้นในโรง
บ่ มตลอดเวลา
- ใบยาแห้ งจะมีสีเหลือง หรือสีส้มสดใส มี
ความหอม
- ใช้ ระยะเวลาในการบ่ มประมาณ 110-120
ชั่วโมง ประมาณ 5 วัน
ใบยาเวอร์ยเิ นียที่นาไปใช้ในอุตสาหกรรมยาสู บ
- เป็ นองค์ประกอบส่ วนใหญ่ของยาเส้นในบุหรี่ (45-75%)
ใบยาเบอร์ เลย์
ลักษณะใบยาเบอร์ เลย์
- จะมีสีเขียวอ่อน
- ลักษณะใบจะตั้ง
พืน้ ทีเ่ พาะปลูกใบยาเบอร์ เลย์
- ภาคเหนือ
- ภ า ค อี ส า น ห น อ ง ค า ย ,
นครพนม
พันธุ์ทนี่ ิยมปลูก
- พันธุ์ TN 90 ให้ ผลผลิตดี มีความต้ านทางสู ง
ต่ อโรคใบด่ าง
- พันธุ์ KY 14 เป็ นพันธุ์ที่ให้ ผลผลิตต่ อไร่ สูง
มีความต้ านทานโรค รากเน่ า โรคใบยาด่าง
การเก็บใบยา
- เก็บใบยาครั้งแรก เมือ่ ต้ นยาสู บ อายุ 60-70 วัน
- ทยอยเก็บใบยาที่สุก ครั้งละ 2.-3 ใบ
- เก็บใบยาทั้งหมดประมาณ 5-8 ครั้ง
(20-24 ใบ/ต้ น)
การบ่ มใบยาสู บเบอร์ เลย์
- บ่ มด้ วยอากาศ เป็ นให้ ใบยาสดกลายเป็ นใบยาแห้ ง ภายใต้ สภาพ
บรรยากาศตามธรรมชาติ
- ปัจจัยสภาพแวดล้อมทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อการบ่ มใบยาเบอร์ เลย์ อุณภูม,ิ
ความชื้นสั มพันธ์ , การไหลเวียนของอากาศ
การนายาสูบเบอร์เลย์ไปใช้ในอุตสาหกรรมยาสูบ
- ใช้ ในการผลิตบุหรี่อเมริกนั ให้ ใช้ ใบยาเบอร์ เลย์ (15-45%)
ใบยาเตอร์ กชิ
ลักษณะใบยาเตอร์ กชิ
-ใบมีขนาดเล็ก
พืน้ ทีเ่ พาะปลูกใบยาเตอร์ กชิ
- ป ลู ก ม า ก ท า ง ภ า ค อี ส า น
ร้ อยเอ็ ด สารคาม , สกลนคร,
นครพนม
-พื้ น ที่ ป ลู ก ยาสู บเตอร์ กิ ช ที่ มี
คุ ณภาพดีที่สุดในโลก คือ จังหวัด
ร้ อยเอ็ด
การขยายพันธ์
- ขยายพันธ์ ด้วยเมล็ด
พันธ์ ทนี่ ิยมปลูก
- คือพันธ์ Samsun เนื่องจากมีรสจัดและมีกลิ่น
หอมแรง สามารถใช้ เป็ นตัวนารสชาติได้ ดแี ละยัง
ช่ วยเสริมความหอมในการปรุงบุหรี่รสอเมริกนั
การเก็บใบยาเตอร์ กชิ
- เก็บใบยาสดครั้งแรก เมื่อต้ นยาสู บอายุ 50-60
วัน
- เก็บใบยาสดที่สุก ครั้งละ 2-4 ใบ
- ระยะเวลาในการเก็บแต่ ละครั้งห่ างกัน 5-7 วัน
- เก็บยาสดทั้งหมด ประมาณ 5-8 ครั้ง (20-24ใบ/
ต้ น)
การบ่ มใบยาสู บเตอร์ กชิ
- บ่ มด้ วยแดด
- ควบคุมให้ ใบยาเปลีย่ นเป็ นสี
เหลืองหรือสีส้มในที่ร่มก่ อน
แล้ วจึงนาออกตากแดด เพือ่ ให้ ใบ
ยาแห้ งมีสีเหลือง, สีส้ม, มีความ
หอม
- ใช้ ระยะเวลาในการบ่ ม 15-20 วัน
- นาใบยาที่แห้ งแล้ว แขวนเป็ น
พวงไว้ ในที่ร่มเพือ่ ให้ ก้านแห้ ง
สนิท ระยะเวลา 10-15 วัน
การรับซื้อใบยา
ในการรับซื ้อใบยาจะ
ประกอบด้ วย ประธาน 1 คน และ
กรรมการร่วมอีก 2 คน
ั้
ชนใบยา
(Grades)
เป็ นหน่วยย่อยของยาสูบในแต่ละประเภท (Type)
ั ลักษณ์ 3 ตัวสาหรับ
โดยแบ่งออกตามหมู,่ คุณภาพ และส ี ใชส้ ญ
่
ใบยาเวอร์ยเิ นียและเบอร์เลย์ และ 2 ตัวสาหรับใบยาเตอร์กช
ิ เชน
ั ้ B3F : ใบยาบน, คุณภาพที่ 3 สส
ี ม้
• ใบยาเวอร์ยเิ นีย ชน
ั ้ C1L : ใบยากลาง, คุณภาพที่ 1 สเี นือ
• ใบยาเบอร์เลย์ ชน
้
ั ้ A2 : ใบยาถัดยอด, คุณภาพที่ 2
• ใบยาเตอร์กช
ิ
ชน
สเี หลืองหรือสม้
ั้
ชนใบยาเวอร์
ยเิ นียไทย
(Thai Virginia Tobacco Grades)
หมู่ (Group)
ั้ (Grades)
ต ัวอย่างชน
ใบยาบน (B)
B1F
ใบยากลาง (C)
C3L
ใบยาล่าง (X)
X4V
ั้
มีทงหมด
ั้
67ชน
คุณภาพ : ดีเลิศ (1) - ดีมาก (2) - ดี (3) - พอใช ้ (4) - ตา่ (5)
ส ี : เหลือง (L) - สม้ (F) - ติดเขียว (V) - สลิค (S) - เพีย
้ น (K) - เขียว (G)
องค์ประกอบ
ของคุณภาพ
ความแก่
ระดับตา่ - สูง
ไม่แก่
ไม่สก
ุ
แก่
สุก
โครงสร ้างของใบ
ทึบมาก
ทึบ
แน่น
โปร่ง
เนือ
้
หนามาก
หนา
ปานกลาง
บาง
น้ ามัน
มีน้ ามันน ้อย
ความเข ้มของส ี
ี
ซด
มีน้ ามันปานกลาง
อ่อน
ความกว ้าง
แคบ (3 – 5 นิว้ )
ความยาว
วัดเป็ นนิว้
ความสมา่ เสมอ
วัดเป็ นร ้อยละ
ตาหนิทย
ี่ อมให ้
วัดเป็ นร ้อยละ
ี ทีย
สว่ นเสย
่ อมให ้
วัดเป็ นร ้อยละ
ปานกลาง
ปกติ (5 – 8 นิว้ )
มีน้ ามันมาก
แก่
เข ้ม
กว ้าง (8 นิว้ ขึน
้ ไป)
ั้
ชนใบยาเบอร์
เลย์ไทย
(Thai Burley Tobacco Grades)
หมู่ (Group)
ใบยายอด (T)
ั้ (Grades)
ต ัวอย่างชน
T3F
ใบยาบน (B)
B4D
ใบยากลาง (C)
C2F
ใบยาล่าง (X)
X1L
ั้
มีทงั ้ หมด 43 ชน
คุณภาพ : ดีเลิศ (1) - ดีมาก (2) - ดี (3) - พอใช ้ (4) - ตา่ (5)
ส ี : เนือ
้ (L) - น้ าตาล (F) - น้ าตาลแก่ (D) - คละ (K) - เขียว (G)
องค์ประกอบคุณภาพใบยาเบอร์เลย์ไทย
•
•
•
•
•
เนือ
้
ความแก่
โครงสร ้างของใบยา
ผิวหน ้าของใบยา
ความเปล่งปลั่ง
•
•
•
•
•
ความเข ้มของส ี
ความกว ้าง
ความยาว
ความสมา่ เสมอ
ตาหนิทย
ี่ อมให ้
ั้
ชนใบยาเตอร์
กช
ิ ไทย(Thai Turkish Tobacco Grades)
ตาแหน่งบนลาต้น
ใบยายอด (1)
ั้
คุณภาพ ต ัวอย่างชน
(Grades)
1
A1
ใบยาถัดยอด (2)
2
B2
ใบยากลาง (3)
3
A3
ใบยาล่าง (4)
4
B4
ั้
มีทงั ้ หมด 11 ชน
ส ี : เหลืองหรือสม้ (A) , น้ าตาลอ่อนอมเหลืองหรือสม้ (B)
น้ าตาลอ่อนหรือ น้ าตาลแก่ (K) ,เขียวหมองคล้า,เทาหม่น (D)
องค์ประกอบคุณภาพใบยาเตอร์กช
ิ ไทย
•
•
•
•
เนือ
้
ความยืดหยุน
่
น้ ามัน
กลิน
่
• ความกว ้าง
• ความยาว
ี น
• สอ
ื่ ทีย
่ อมให ้ปนได ้
Factory grade ใบยาเตอร์กิช
• AG/ZO/RE - AG/ZO/RE-R ประกอบด้วย A1, A2
B1, B2
• AG/ZO/RO - AG/ZO/RO-R ประกอบด้วย A3, A4
B3, B4
• KP/ZO/RE - KP/ZO/RE-R ประกอบด้วย K1,K2
D
ราคาใบยาเตอร์ กชิ ฤดู 2555/56
ชั้นใบยา
A1
A2
A3
A4
B1
B2
B3
B4
K1
K2
D
ต้นฤดู
75
72
68
59
72
69
64
56
50
48
40
ปลายฤดู
75
72
68
59
72
69
64
56
50
48
40
หมายเหตุ : ราคาใบยาไม่ รวมเงินสนับสนุนปั จจัยการผลิต 4 บาท/กก.
้ ้
้
้
์
ลงวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2509 และฉบับแกไขเพิ
ม
่ เติมลาสุ
้
่ ด ฉบับที่
21 (2555)
พันธุ์เตอร์ กิช
พันธุ์เวอร์ ยเิ นีย
•
•
•
•
•
•
•
เชียงใหม่
เชียงราย
ลาปาง - พะเยา
ลาพูน - แพร่ - น่าน
แม่ฮ่องสอน
นครพนม
หนองคาย
•
•
•
•
•
•
ร้ อยเอ็ด 90 %
ขอนแก่น
นครพนม
หนองคาย
ฯลฯ
พันธุ์พื ้นเมือง
พันธุ์เบอร์ เล่ ย์
พืน้ ที่เพาะปลูก ใบยา 3
พันธุ์
และ
พันธุ์พนื ้ เมือง
•
•
•
•
•
•
สุโขทัย
เพชรบูรณ์
อุตรดิตถ์
ลาพูน - แพร่
นครพนม
หนองคาย
หมายเหตุ หนองคาย นครพนม และบึงกาฬ ปลูกได้ ครบ 4 สายพันธุ์
The End