แร่ทังสเตนที่พบในประเทศไทย

Download Report

Transcript แร่ทังสเตนที่พบในประเทศไทย

ทังสเตน
ทังสเตนหรื อวุลแฟรม ( W ) เป็ นโลหะสี เทาเงิน นาความ
ร้อนและไฟฟ้ าดีมาก ซึ่ งมีจุดหลอมเหลวสูงถึง 3410 องศาเซลเซี ยส
ความหนาแน่น 19.3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร โลหะทังสเตนจะไม่
พบในรู ปอิสระในธรรมชาติ แต่จะพบในรู ปของสิ นแร่ วลุ แฟรม
ไมต์ (Fe,Mn)WO4 และซี ไรต์ (CaWO4)
แร่ ทงั สเตนที่พบในประเทศไทย
คือ แร่ วลุ แฟรมไมต์ (Fe,Mn)WO4 แร่ ชีไลต์ (CaWO4)
นอกจากนี้ยงั พบแร่ ในกลุ่มของแร่ วลุ แฟรมไมต์ ในบางแหล่งแร่
ด้วย คือแร่ เฟอร์ เบอไรต์ (FeWO4) และแร่ เฮิบเนอไรต์ (MnWO4)
แร่ ทงั สเตนนี้มกั เกิดร่ วมกับแร่ ดีบุก ซึ่ งมีกาเนิดมาจากหิ นอัคนี
จาพวกแกรนิต โดยเฉพาะอย่างยิง่ หิ นแกรนิ ตที่มีอายุอ่อนซึ่ งโผล่
เป็ นเทือกเขาแนวยาวตั้งแต่เหนือจดใต้ทางด้านตะวันตกของ
ประเทศ
วิธีการตรวจสอบแร่ ทังสเตนชนิดต่ างๆ
สามารถทาได้โดยอาศัยคุณสมบัติของแร่ แต่ละชนิด ดังนี้
ชนิดที่ 1 Wolframite : แร่ วลุ แฟรมไมต์
เป็ นแร่ ที่มีสีดาค่อนไปทางน้ าตาลแก่
เกือบดา มีสีผงละเอียดเป็ นสี น้ าตาล
ความถ่วงจาเพาะ 7.0 – 7.5 ซึ่ งมี
คุณสมบัติเป็ นแม่เหล็กดูดติดผงแร่ เหล็ก
เล็ก ๆ ซึ่ งหากเป็ นแร่ เฟอร์ เบอไรต์จะมีสี
ของแร่ และผงแร่ เป็ นสี ดา ส่ วนแร่ เฮิบเนอร์
จะมีสีผงของแร่ เป็ นสี น้ าตาลมากกว่า
ชนิดที่ 2 Scheelite : แร่ ชีไลต์
มีสีขาว เหลือง ขาวอมเหลือง เขียว และน้ าตาล
เนื้อแร่ โปร่ งแสง มีความวาวคล้ายแก้ว มีความ
ถ่วงจาเพาะ 5.9 – 6.7 และมีความแข็ง 4.5 – 5
ซึ่ งขีดกระจกไม่เข้า สามารถตรวจสอบโดยการ
ตรวจการเรื องของแร่ ภายใต้แสงอัลตราไวโอ
เลต ซึ่ งจะทาให้สีของแสงเรื องเป็ นสี น้ าเงิน
หรื อฟ้ าอ่อน นอกจากนี้ธาตุโมลิบดินมั ยังมีผล
ต่อความเข้มข้นของการเรื องแสงอีกด้วย
ประโยชน์ ของแร่ ทังสเตน
โลหะทังสเตน ที่ถลุงแล้วมีความสาคัญอย่างยิง่ ต่ออุตสาหกรรมหนัก ใช้ผสม
เหล็กกล้าในการทาเครื่ องมือหรื ออุปกรณ์ที่ทนความร้อนสู ง ทาเครื่ องจักรกล หัว
เจาะเกราะ ใบมีด ตะไบ ใบเลื่อย ไส้หลอดไฟฟ้ า และหลอดวิทยุ นอกจากนี้ ยังใช้
ในการทาสี อุตสาหกรรมเครื่ องปั้ นดินเผาและเครื่ องแก้ว