แร่ทังสเตน

Download Report

Transcript แร่ทังสเตน

แร่ดบี ุก และ แร่ทงั สเตน
ทัว่ ไป
ชื่อ, สัญลักษณ์, เลขอะตอม
ดีบุก, Sn, 50
อนุกรมเคมี
หมู่, คาบ, บล็อก
โลหะหลังทรานซิ ชนั
14, 5, p
สี เทาเงินเป็ นประกาย
ลักษณะ
แร่แคสซิเทอไรต์ (SnO2)
มวลอะตอม
การจัดเรี ยงอิเล็กตรอน
118.710 (7) กรัม/โมล
[Kr] 4d10 5s2 5p2
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน 2, 8, 18, 18, 4
แร่แคสซิเทอไรต์ (SnO2)
คุณสมบัตขิ องแร่ ดีบุก
แร่แคสซิเทอไรต์
(SnO2)
แหล่ งที่พบแร่ ดีบุก
ส่วนใหญ่
ภาคใต้
พบทางซี กด้านตะวันตกของประเทศติดกับชายแดนประเทศสหภาพพม่า
พบทุกจังหวัด ในภาคใต้
ภาคเหนื อ
กาแพงเพชร ตาก เชียงใหม่ ลาปาง เชียงราย และแม่ฮ่องสอน
ภาคกลาง
อุทยั ธานี ชัยนาท สุ พรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี และเพชรบุรี
ภาค
ตะวันออก
ชลบุรี ระยอง และจันทบุรี
การถลุงแร่ ดีบุก และกระบวนการ
ขัน้ ที่ 1
ขัน้ ที่ 2
รี ดิวซ์ SnO2 ด้วย CO
นา CO2 รี ไซเคิล
ใส่ เตาถลุง
แบบนอน
ผสมแร่ ดีบุก+ถ่านโค้ก+หิ นปูน
อัตราส่ วน 20:40:5 โดยมวล
ใช้กระแสไฟหรื อ
น้ ามัน
SnO2(s) + 2CO(g)
เผากับถ่านหิ น
ถ่านโค้ก + O2 = CO
เป็ นตัวรี ดิวซ์
Sn(s) + 2CO2(g)
C(s) + CO2(g)
SiO2 เป็ น Sn
2CO(g)
นาถ่านโค้กผสมกับแร่ ดีบุก
และหิ นปูนก่อนนาแร่ ไปถลุง
ถลุงแร่ ดีบุกใช้หินปูน
กาจัด SiO2
หินปูน + ความร้อน = สลาย
CaCO3(s)
CaO(s)+CO2(g)
CaO ทากับ SiO2 ได้
ผลิตภัณฑ์ CaSiO3
CaO(s) + SiO2(s)
CaSiO3(s)
แต่ถา้
ถลุงแล้วยังไม่บริ สุทธิ์
สามารถถลุงดีบุก
ออกได้อีก
ประโยชน์ ของแร่ ดีบุก
ผสมกับตะกัว่ ทาตะกัว่ บัดกรี
ผสมกับ Zr ทาภาชนะบรรจุแท่งเชื้อเพลิงในเครื่ องปฏิกรณ์ปรมาณู
ผสมกับทองแดงเป็ นทองสัมฤทธิ์ หรื อทองบรอนซ์ใช้หล่อพระพุทธรู ป
ผสมกับTi และ Ai ทาชิ้นส่ วนของเครื่ องบินและยานอวกาศ
นามาเคลือบโลหะเพื่อ ทาภาชนะบรรจุอาหาร
ส่ วนประกอบของดีบุก ใช้ ผลิตแก้วแก้วเนื้อทึบ สิ่ งทอพลาสติก สี ทาบ้าน
กระจก แผ่นเรี ยบ เครื่ องปั้ นดินเผา
ทัว่ ไป
ชื่อ, สัญลักษณ์, เลข
อะตอม
อนุ กรมเคมี
หมู,่ คาบ, บล็อก
ทังสเตน, W, 74
โลหะทรานซิชนั
6, 6, d
grayish white, lustrous
ลักษณะ
แร่วุลแฟรไมต์ (Fe,Mn)WO4
มวลอะตอม
การจัดเรียงอิเล็กตรอน
อิเล็กตรอนต่อระดับ
พลังงาน
183.84 (1) กรัม/โมล
[Xe] 4f14 5d4 6s2
2, 8, 18, 32, 12, 2
แร่ซไี ลต์ CaWO4
คุณสมบัตขิ องแร่ ทงั สเตน
โลหะสีเทาเงิน
ทังสเตน
(W)
ผสมเป็ น
เหล็กกล้า
แหล่ งที่พบแร่ ทงั สเตน
เชียงราย เชียงใหม่ ลาปาง แม่ฮอ่ ง
สอน แพร่ และตาก
สุ พรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และ
ประจวบคีรีขนั ธ์
ภาคกลาง
ส่วนใหญ่พบเกิดร่วมกับแร่ดบี ุก
แร่ชไี รต์
ภาคใต้
สุ ราษฎร์ธานีนครศรีธรรมราชระนองพังงา ภูเก็ต สงขลา
ปั ตตานีและยะลา
ดอยหมอก อาเภอเวียงป่ า
เป้า จังหวัดเชียงราย
การถลุงแร่ ทงั สเตน และกระบวนการ
ขัน้ ที่ 1
ทังสเตนทาปฏิกริ ิ ยากับด่าง
ทังสเตน + แอลคาไลน์
สารประกอบออกไซด์
ทังสเตนไตรออกไซต์(WO3)
ขัน้ ที่ 2
รีดวิ ซ์ออกไซด์
ด้วย (C) , (H2)
2WO3(s) + 3C(s)
ความร้อน
2W + 3CO2(s)
WO3(s) + 3H2(g)
ความร้อน
W(s) + 3H2O(g)
ประโยชน์ ของแร่ ทงั สเตน
1.ใช้ทาไส้และขัว้
หลอดไฟฟ้ า
2.เครื่ องฉายรังสี
เอกซ์
5.เครื่ องเชื่อมประสาน
โลหะ (USGS, 1999)
8.มีด
9.ตกแต่งแก้วและ
เครื่ องปั้ นดินเผา
11.เคลือบฉากรับรังสีเอกซ์
และหลอดภาพโทรทัศน์
3.เตาอุณหภูมิ
สู ง
6.วัตถุสาหรับตัด
เหล็กกล้า
10.การย้อมไหม
4.ตะไบ
7.ใบเลื่อย
ผู้จัดทา
1.
2.
3.
4.
นาย ธนวัต ศรีโพธิ์กลาง เลขที่ 7
นางสาว วรรณพร มานะ เลขที่ 27
นางสาว ปาริ ชาติ หัตถกอง เลขที่ 28
นางสาว ศิริพร ไชยสิทธิ์ เลขที่ 39
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ ี 6/2
โรงเรียนเชียงของวิทยาคม
รายวิชาเคมี 5 ว 30225
เสนอ…อาจารย์ แสงหล้า คาหมัน้