สังกะสี แคดเมียม
Download
Report
Transcript สังกะสี แคดเมียม
1
2
สังกะสี (Zinc) เป็ น ธาตุแรกของหมู่ II B สัญลักษณ์ คือ Zn
เป็ นธาตุประเภทโลหะที่มีความไวต่อปฏิกิริยาเคมีพอสมควรกับออกซิเจนและธาตุ
ที่ไม่ใช่โลหะ สังกะสีเมื่อทาปฏิกิริยากับกรดเจือจางจะปล่อยก๊ าซไฮโดรเจนออกมา
3
คุณสมบัติของแร่
1. Zn เป็ นโลหะสี เงิน แต่สีจะหมองคล้ าเมื่อถูกกับอากาศ เพราะเกิดเป็ นออกไซด์
เคลือบบางๆ ที่ผวิ
2. Zn เมื่อเผาให้ร้อนในอากาศ จะเป็ น ZnO ซึ่ งมีสีขาว และสี ไม่หมองคล้ า ZnO
ละลายน้ าได้นอ้ ย แต่ละลายได้ดีในกรดแก่และเบสแก่
3. Zn ทาปฏิกิริยากับอโลหะอื่นๆ ได้สารประกอบต่างๆ
4
แหล่งที่พบ
สังกะสี พบในรู ปสังกะสี ซิลิเกต เช่น แร่ เฮมิเมอร์ไฟต์ ( Zn 4(Si 2O 7)(OH) 2(H 2O))
แร่ สมิทซอไนต์ ( ZnCO 3) และแร่ ซิงไคต์ ( ZnO) สาหรับแร่ สังกะสี ที่พบมากที่สุดในโลก
คือ แร่ สฟาเลอไรต์ ( ZnS) ส่ วนในประเทศไทย พบแร่ สังกะสี พบมากที่อาเภอแม่สอด
จังหวัดตาก
5
การถลุงสังกะสี
นาสิ นแร่ สงั กะสี ZnS,
มาทาให้เป็ นออกไซด์
Zn
ด้วยการเผา
ได้
นาสังกะสี ออกไซด์
(ZnO) มาแยก Zn
Zn ออก
จาก ZnO
ทาปฏิกิริยากับถ่านโค้ก
นาไปใช้แยก
ได้ Zn(s) + CO(g)
CO ที่เกิดขึ้นทา
ปฏิกิริยากับ ZnO
แยกZn
ได้ Zn(s) + CO 2(g)
CO 2 ที่เกิดขึ้น
C ที่เหลือเกิด CO
ทาปฏิกิริยากับ
6
นาแร่ มาบด
เครื่ องบดเปี ยก
ละเอียดเป็ นผง
ทาปฏิกิริยากับ
กรดซัลฟิ วริ ก
แคดเมียม
เติมผง
สังกะสี
ได้สารละลายที่มี
𝑍𝑛𝑆𝑂4 ละลายอยู่
พลวง
เติมผง
สังกะสี
ทองแดง
เติมผง
สังกะสี
กรองแยกกากแร่
ออกจากกัน
บ่อเก็บแร่
ปรับสภาพให้เป็ นกลางด้วยปูนขาว
สารละลายที่กรองได้ จะมีเกลือของ
แคดเมียม พลวง ทองแดงละลายอยู่
7
ประโยชน์ของแร่ สงั กะสี
1. ใช้ เคลือบผิว (galvanizing) ของเหล็กกล้ าเพื่อป้องกันการเกิดสนิม
2. ใช้ ในรูปของโลหะเจือ ในการผลิตขึ ้นรูปเป็ นแผ่นสังกะสี
3. ใช้ เป็ นส่วนผสมของสีและยาง
4. ใช้ เป็ นชิ ้นส่วนรถยนต์ ฟิ วส์ไฟฟ้า ขัวของถ่
้
านไฟฉาย
5. ใช้ เตรี ยมสารเคมีของสังกะสี
8
แคดเมียม (Cadmium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 48สัญลักษณ์คือ Cd
แคดเมียมเป็ นโลหะทรานซิ ชนั สี ขาว-ฟ้ า
คุณสมบัติของแร่
แคดเมียม เป็ นโลหะหนัก มีสีขาว ฟ้ า วาว มีลกั ษณะเนื้ออ่อน สามารถ
บิดโค้งงอได้และถูกตัดได้ง่ายด้วยมีด มักอยูใ่ นรู ปแท่ง แผ่น เส้นลวด หรื อเป็ นผง
เม็ดเล็กๆ ในอากาศที่มีความชื้นแคดเมียม จะถูกออกซิ ไดซ์ชา้ ๆ ให้แคดเมียม
ออกไซด์ ในธรรมชาติแคดเมียมมักจะอยูร่ วมกับกามะถันเป็ นแคดเมียมซัลไฟด์
และ มักปนอยูใ่ นสิ นแร่ สังกะสี ตะกัว่ หรื อทองแดง
9
วิธีทา Cd จากกากแคดเมียม
เป็ นขั้นตอนดังนี้
1. เติม H2SO4 ลงในกากแคดเมียมที่บดแล้ว ทาให้เป็ นกลางด้วย CaCO3 นาไปกรอง
2. เติมผง Zn ลงในสารละลายที่กรองได้ จะได้ Cd ที่พรุ นตะกอน นาไปกรองจะได้
ตะกอน Cd มีลกั ษณะพรุ น
3. นา Cd ที่พรุ นไปเติม H2SO4 อีกครั้งแล้วทาเป็ นกลางด้วยCaCO3 แล้วกรองเอาตะกอน
ออก
4. สารละลายที่ได้นาแยก Cd ออกด้วยกระแสไฟฟ้ า นา Cd ที่ข้ วั Cathode ( - ) ไปทาเป็ น
ก้อน หรื อเป็ นแท่ง เพื่อนาไปใช้เป็ นประโยชน์ต่อไป
10
ประโยชน์ของแร่
โลหะแคดเมียมมีสีเทาเงิน จัดเป็ นโลหะอ่อน ง่ายต่อการตัด มีสมบัติคล้าย
สังกะสี แต่แคดเมียมเป็ นสารพิษ(เกิดโรคอิโต-อิไต) ไม่ควรได้รับฝุ่ นแคดเมียมเกิน
0.01 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร นานเป็ นเวลา 40 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ เพราะจะทาให้
เป็ นอันตรายได้ สามารถทาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิ เจน และทาปฏิกิริยากับกรด แต่
ไม่ทาปฏิกิริยากับเบส ใช้เคลือบโลหะที่เกิดการผุกร่ อนเหมือนสังกะสี ใช้ทา
ขั้วไฟฟ้ าในเซลล์นิกเกิล-แคดเมียม โลหะแคดเมียมดูดซับนิวตรอนได้ดี จึงใช้เป็ น
แท่งควบคุมการเกิดปฏิกิริยาฟิ ชชันในเตาปฏิกรณ์ โลหะผสมของแคดเมียมจะมีจุด
หลอมเหลวต่า
11
1. นาย สยามรัฐ อิ่นแก้ ว เลขที่ 8
2. นาย ศศิพงษ์ กันทะเนตร เลขที่ 13
3. นาย ศักดิธชั ชัยลังกา เลขที่ 11
4. นางสาว ทิพย์วิไล คาเรื อง เลขที่ 18
5. นางสาว ศิริลกั ษณ์ ตาคา เลขที่ 41
นักเรี ยนชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 6/2
เสนอ
ครู แสงหล้ า คาหมัน้
รายวิชา เคมี 5
รหัสวิชา ว30225
โรงเรี ยนเชียงของวิทยาคม
12