หน่วยที่ 8 - มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Download
Report
Transcript หน่วยที่ 8 - มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 8
เทคโนโลยีสารสนเทศแห่ งอานาคต
Information Technology in the future
อ.เอกภพ อินทรภู่
ห้องพัก: 3111 Innovative E-Learning อาคาร31
โทรศัพท์ : 0-2160-1267
Email: [email protected]
ศูนย์นวัตกรรมการเรี ยนรู้อิเล็กทรอนิกส์
สานักวิชาการศึกษาทัว่ ไปและนวัตกรรมการเรี ยนรู้อิเล็กทรอนิ กส์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศปั จจุบนั สู่อนาคต
1. เทคโนโลยีทางด้ านโทรคมนาคมและเครือข่ าย
(Communication & Networking)
• RFID (Radio Frequency Identification)
เป็ นระบบเก็บข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ในการคานวณและการรักษา
ความปลอดภัยผ่านคลื่นแม่เหล็กหรื อคลื่นไฟฟ้ าหรื อคลื่นความถี่วิทยุ
การทางาน
RFID (Radio Frequency Identification)
ส่ งสัญญาณ
อ่าน
ตรวจสอบ
ฐานข้อมูล
หน้าที่
แท็ก : TAG
TAG คือ ส่ วนทีใ่ ช้ ตดิ กับวัตถุต่างๆ
TAG มีหน้ าที่ ส่ งสั ญญาณข้ อมูลทีบ่ ุคคลต้ องการบันทึกและ
ตรวจสอบข้ อมูลเพือ่ นาเข้ าสู่ ฐานข้ อมูล
เช่ น ไมโครชิฟ (Microchip) ทาหน้ าที่ ส่ งสั ญญาณข้ อมูลทีถ่ ูกบันทึก
ไปยังเครื่องอ่ าน (Reader)
ผ่ านคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ
หน้าที่
เครื่ องอ่าน : Reader
Reader มีหน้ าที่ เป็ นเครื่องอ่ านข้ อมูลจากแท็ก ถอดรหัส เพือ่ ติดต่ อไป
ยังฐานข้ อมูลในคอมพิวเตอร์
หน้าที่ ฐานข้อมูล: Data based
Data based มีหน้ าที่ จัดเก็บรายละเอียดต่ าง ๆ ของวัตถุ
ไว้ ในระบบฐานข้ อมูลทีอ่ ยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ผ่านเครื่องอ่าน
เทคโนโลยีกราฟิ กและมัลติมีเดีย
(Graphics & multimedia)
1. อินเทอร์ เน็ต ทีวี (internet TV)
เป็ นการส่ งสั ญญาณภาพ เสี ยง และวีดโี อ
ผ่ านระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต แบบบรอดแบรนด์ (Broadband)
รู ปแบบ
1.1 การถ่ ายทอดสด (Live straming)
1.2. การจัดวีดโี อนาเสนอตามต้ องการ ( Video on Demand)
2. เทคโนโลยีกราฟิ กและมัลติมีเดีย
(Graphics & multimedia)
การให้ บริการ อินเทอร์ เน็ต ทีวี (internet TV)
- แบบไม่ เสี ยค่ าใช้ จ่าย ดูได้ ฟรี
- แบบสมัครสมาชิกรายเดือน
- แบบเสี ยค่ าใช้ จ่ายต่ อการรับชมรายการ 1 ครั้ง
เทคโนโลยีกราฟิ กและมัลติมีเดีย (Graphics & multimedia)
2. การผสานโลกแห่ งความจริงกับโลกเสมือนจริง
(Augmented Reality)
เป็ นการสร้ างภาพกราฟิ กของวัตถุ 2 มิติ หรือ 3 มิติ แล้ วซ้ อน
ภาพให้ เสมือนภาพนั้นอยู่ในสถานทีจ่ ริง
เทคโนโลยีกราฟิ กและมัลติมีเดีย (Graphics & multimedia)
Virtual Reality เป็ นการสร้ างภาพขึน้ มาทั้งหมด
เทคโนโลยีกราฟิ กและมัลติมีเดีย (Graphics & multimedia)
2. การผสานโลกแห่ งความจริงกับโลกเสมือนจริง
(Augmented Reality)
เป็ นการสร้ างภาพกราฟิ กของวัตถุ 2 มิติ หรือ 3 มิติ แล้ วซ้ อน
ภาพให้ เสมือนภาพนั้นอยู่ในสถานทีจ่ ริง
3. เทคโนโลยีทางด้านหุ่นยนต์ (Robotics)
• Humanoid Robot คือ หุ่นยนต์ ทเี่ ลียนแบบมนุษย์ ไม่ ว่าจะเป็ นรู ปร่ าง
การเคลือ่ นไหว หรือความสามารถในการทางาน
• สามารถทางานบางอย่ างแทนมนุษย์ ได้
เทคโนโลยีทางด้านหุ่นยนต์ (Robotics)
• Home Robot คือ หุ่นยนต์ ทถี่ ูกออกแบบมา เพือ่
สนับสนุนการทางานภายในบ้ าน
• สามารถทาความสะอาดได้ ทุกซอกทุกมุม ตามพืน้ ที่ ทีเ่ รา
ตั้งโปรแกรมกาหนด พร้ อมทั้งสามารถตรวจจับวัตถุและ
หักหลบสิ่ งกีดขวางได้ ด้วยตัวเอง
เทคโนโลยีทางด้านหุ่นยนต์ (Robotics)
• Nano bots คือ หุ่นยนต์ จวิ๋ ขนาดเล็ก
เทคโนโลยีทางด้านหุ่นยนต์ (Robotics)
• สามารถจัดการกับอะตอม หรือโมเลกุลแต่ ละตัว การประกอบตัว
หรือการขยายพันธุ์ การทาสาเนาตัวเอง การช่ วยสั งเคราะห์ การ
ควบคุมปฏิกริ ิยาต่ างๆ ผ่ านเซลล์
เทคโนโลยีทางด้านหุ่นยนต์ (Robotics)
• การทาหน้ าทีเ่ ป็ นส่ วนหนึ่งของอวัยวะมนุษย์ หรือสัตว์ เพือ่ ให้
สามารถเคลือ่ นไหวได้ เช่ น โปรตีน ก็เป็ นหุ่นยนต์ นาโนที่ได้ รับ
ความสนใจเป็ นอย่ างมาก
4. เทคโนโลยีทางด้านการแสดงผล (Display Technology)
เทคโนโลยีจอภาพแบบโค้ งงอและจอภาพ
• มีคุณสมบัตเิ ปล่ งแสงออกมาได้ เมื่อได้ รับกระแสไฟฟ้า
• จอภาพชนิดนีไ้ ม่ ต้องใช้ Backlight เหมือนกับจอแบบ LCD
เทคโนโลยีทางด้านการแสดงผล (Display Technology)
เทคโนโลยีจอภาพแบบโค้ งงอและจอภาพ
• แต่ ละพิกเซลสามารถเปล่ งแสงออกมาได้ ด้วยตัวเอง อีกทัง้ ยังให้ ภาพที่
ชัดเจนกว่ าและใช้ พลังงานน้ อยกว่ าจอภาพแบบ LCD ด้ วย
เทคโนโลยีทางด้านการแสดงผล (Display Technology)
ข้ อดีของจอภาพแบบ OLED
• จอภาพแบบ OLED สร้ างขึน้ บนบนวัสดุทยี่ ดื หยุ่น เช่ น
พลาสติกได้ ส่ งผลให้ จอภาพสามารถม้ วนหรือดัดให้
โค้ งงอได้
• จอภาพแบบ OLED สามารถให้ ความสว่ างได้ มากกว่ า
จอภาพแบบ LCD
เทคโนโลยีทางด้านการแสดงผล (Display Technology)
จุดด้ อยของจอภาพแบบ OLED
• ปัจจุบันนีก้ ระบวนการผลิตจอภาพแบบ OLED มี
ราคาแพง และกาลังการผลิตยังมีน้อยมาก
• จอภาพเสี ยหายได้ ง่ายเมื่อโดนนา้
เทคโนโลยีจอภาพ 3 มิติ (3D Display Technology)
• คือ การรับรู้ ถงึ ภาพและวัตถุใน 3 มิติ
• เช่ น ความใกล้ ไกล ความลึก หรือ นูน เกิดจากการที่
คนเรามีตาสองข้ าง ตาแต่ ละข้ างจะรับภาพในมุมที่
ต่ างกันเล็กน้ อย
การพิมพ์ภาพ 3 มิติ (3D Printing)
• 3D Printing เป็ น เทคโนโลยีใหม่ ที่ใช้ ในการสร้ างวัตถุ
สามมิตขิ นึ้ มาจากโมเดลสามมิติที่สร้ างจากโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
• หลักการทางาน การนาโมเดลสามมิตมิ าแบ่ งตัดขวาง
เป็ นแผ่ นบางๆ หรือ ทีเ่ รียกว่ า เลเยอร์ แล้ ว
เครื่องพิมพ์ จะค่ อยๆ พิมพ์แต่ ละแผ่ นเลเยอร์ เริ่มจาก
ล่ างสุ ด พิมพ์ซ้อนขึน้ มาเรื่อยๆ จนได้ เป็ นวัตถุสามมิติ
ของจริงทีส่ มบูรณ์
การพิมพ์ภาพ 3 มิติ (3D Printing)
5. เทคโนโลยีแห่งอนาคต
โฮโลแกรม (Hologram)
• Hologram คือ เทคโนโลยีฉายภาพสามมิตเิ สมือนจริง เสมือนกับว่ า
มีวตั ถุสามมิตอิ ยู่ตรงหน้ าจริงๆ ไม่ จาเป็ นต้ องใช้ แว่ นตาสามมิติ
คอมพิวเตอร์ ควอนตัม (QuantumComputer)
• เป็ นรู ปแบบใหม่ ของคอมพิวเตอร์ แห่ งอนาคต
• ที่จะใช้ ปรากฏการณ์ ทางกลศาสตร์ ควอนตัม มาใช้ ในการจัดการ
ข้ อมูลและประมวลผลข้ อมูล
Brain – Computer Interfaces
• เป็ นศาสตร์ หนึ่งทีเ่ พิง่ เกิดเมื่อประมาณ 30 ปี ทีแ่ ล้ ว (1970)
เพือ่ ช่ วยผู้พกิ ารทีไ่ ม่ สามารถใช้ ร่างกายในการติดต่ อกับ
คอมพิวเตอร์
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาในอนาคต
• นิเวศน์ อเิ ล็กทรอนิกส์ (Digital Ecosystem)
อนาคตการเข้ าถึงข้ อมูลข่ าวสารทาได้ จากทุกที่
การจัดการและ
จัดรูปแบบการ
จัดเก็บข่าวสาร
การจัดเก็บ
และการ
นามาใช ้
ื่ มต่อ
การเชอ
ข่าวสารได ้
ตลอดเวลา
การสร ้าง วิเคราะห์
สงั เคราะห์
ข ้อมูลข่าวสาร
้ อ
อนาคตก ับการทางานและการใชข
้ มูลข่าวสาร
ิ ธิผล
เพิม
่ ประสท
• การทางานร่วมก ัน
• เคลือ
่ นทีไ่ ด้ทก
ุ หนแห่ง
• มีระบบร ักษาความปลอดภ ัยทีด
่ ี
•
•
•
•
•
ใชง้ า
่ ย
ชุดซอฟต์แวร์
เครือข่าย
อินเทอร์เน็ ต
อีเมล์
่ นบุคคล
• คอมพิวเตอร์สว
• ซอฟต์แวร์สร้างเอกสาร
• เครือ
่ งพิมพ์เลเซอร์
ื่ สารเป็นหนึง่ เดียว
• การรวมสอ
• บอร์ดแบนด์มท
ี ก
ุ หนทุกแห่ง
• ว ัฒนธรรมการดาเนินการ
เปลีย
่ นไป
• ปฏิรป
ู การทางานก ับการใช ้
ข่าวสาร