พาวเวอร์พอยต์ หน่วยที่ 7 - STREE-KM

Download Report

Transcript พาวเวอร์พอยต์ หน่วยที่ 7 - STREE-KM

หน่ วยการเรียนรู้ที่
7
เอกภพ
เอกภพ
ระบบสุ ริยะ
ดาวฤกษ์
ดาวเคราะห์
ในระบบสุ ริยะ
เทคโนโลยีอวกาศ
กาแล็กซีและเอกภพ
ระบบสุ ริยะ
กาเนิดระบบสุ ริยะ
• ดวงอาทิตย์และบริ วารเกิดขึ้นเมื่อประมาณ
4,600 ล้านปี มาแล้ว
• มวลสารของแก๊สและมวลสารของกลุ่มธุลีใน
อวกาศรวมตัวกัน ทาให้เกิดดวงอาทิตย์และ
ดาวบริ วาร
• ดวงอาทิตย์จะหมุนรอบตัวเอง ส่ วนดาวบริ วาร
จะหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์
วัตถุในระบบสุ ริยะ
ดวงอาทิตย์ (Sun)
• เป็ นดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ มีอายุประมาณ 5,000
ล้านปี
• เป็ นศูนย์กลางของระบบสุ ริยะ
• ประกอบด้วยแก๊สไฮโดรเจนที่อดั แน่นภายใต้
แรงดึงดูดสูง
• มีอุณหภูมิที่ผวิ ประมาณ 5,800 องศาเซลเซี ยส
ดาวเคราะห์ (Planet)
• เป็ นดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง
• มีท้ งั หมด 8 ดวง ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์
ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
ดาวเคราะห์ น้อย (Asteroids)
• เป็ นดาวที่มีขนาดเล็ก ซึ่ งในระบบสุ ริยะมีอยูป่ ระมาณ 50,000 ดวง
• มีวงโคจรอยูร่ ะหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี
• ดาวเคราะห์นอ้ ยดวงแรกที่ถูกค้นพบชื่อว่า เซเรส
ดาวหาง (Comet)
• เป็ นกลุ่มมวลสารที่หลงเหลือจากการกาเนิ ดระบบสุ ริยะ
• ประกอบด้วยแก๊สที่รวมตัวกันเป็ นก้อนแข็ง น้ า ฝุ่ นธุลี และก้อนหิ นที่อยูก่ นั อย่างหลวมๆ
ซึ่ งไม่มีแสงในตัวเอง
• การที่มองเห็นดาวหางมีแสงเนื่องจากดาวหางโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์
อุกกาบาต (Meteor)
• เป็ นสะเก็ดดาวหรื อเศษชิ้นส่ วนที่หลุดออกจาก
ดวงดาว ซึ่ งโคจรอยูร่ อบดวงอาทิตย์
• เมื่อผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกจะถูก
แรงดึงดูดของโลกดึงดูดเข้ามาและเสี ยดสี กบั
บรรยากาศจนเกิดการลุกไหม้
ดาวเคราะห์ แคระ (Dwaf Planet)
• เป็ นวัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่ างคล้าย
ทรงกลม แต่มีวงโคจรเป็ นรู ปวงรี
ซึ่ งซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอื่น
ดาวพลูโต
ดาวอีรีส
ดาวเซเรส
ดาวเคราะห์ ในระบบสุ ริยะ
ดาวเคราะห์ ในระบบสุ ริยะ
• ดาวเคราะห์วงใน คือ ดาวเคราะห์ที่อยูใ่ กล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก ได้แก่ ดาวพุธ และ
ดาวศุกร์
• ดาวเคราะห์วงนอก คือ ดาวเคราะห์ที่อยูห่ ่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าโลก ได้แก่
ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
โลก (Earth)
โลกถือเป็ นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่มี
อุณหภูมิและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ต่อการดารงชีวติ ของสิ่ งมีชีวิต
โลกกับดวงอาทิตย์
• โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ใช้เวลา 1 วัน หรื อ 24 ชัว่ โมง
• การที่โลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้เกิดกลางวัน กลางคืน
• โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลาประมาณ 365.24 วัน โดยโคจรในลักษณะที่
แกนเอียง 23.5 องศา ซึ่ งทาให้เกิดฤดูกาล
โลกกับดวงจันทร์
โลกมีดวงจันทร์เป็ นบริ วาร 1 ดวง โดยดวงจันทร์
จะโคจรรอบโลก ทาให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ
ข้ างขึน้ ข้ างแรม
• เกิดจากดวงจันทร์ หมุนรอบตัวเองและโคจรรอบโลก ทาให้แต่ละคืนตาแหน่งของ
ดวงจันทร์จะเปลี่ยนไป
• ช่วงเวลาที่มองเห็นส่ วนสว่างของดวงจันทร์ ค่อยๆ โตขึ้นเรื่ อยๆ เรี ยกว่า วันข้างขึ้น
• วันที่เห็นส่ วนสว่างของดวงจันทร์ เต็มดวง เรี ยกว่า วันเพ็ญ
• วันที่มองไม่เห็นส่ วนสว่างของดวงจันทร์ เลย เรี ยกว่า วันเดือนดับ
แนววงโคจรของดวงจันทร์และการเกิดข้างขึ้นข้างแรม
นา้ ขึน้ นา้ ลง
• เกิดจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ต่างส่ งแรงดึงดูดมายังโลก ทาให้เกิดน้ าขึ้นน้ าลง
ตามริ มทะเล
สุ ริยุปราคาหรือสุ ริยคราส
• เกิดจากโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
เคลื่อนที่มาอยูใ่ นแนวเดียวกัน โดยดวงจันทร์
อยูร่ ะหว่างโลกกับดวงอาทิตย์
• ดวงจันทร์ไปบังแสงจากดวงอาทิตย์ ทาให้
ไม่สามารถมองเห็นแสงอาทิตย์
จันทรุ ปราคาหรือจันทรคราส
• เกิดจากโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เคลื่อนที่มา
อยูใ่ นแนวเดียวกัน โดยโลกอยูร่ ะหว่างดวงอาทิตย์
กับดวงจันทร์
• โลกไปบังแสงอาทิตย์ แสงอาทิตย์จึงส่ องไปไม่ถึง
ดวงจันทร์ ทาให้มองเห็นดวงจันทร์ มืดลงชัว่ ขณะ
ดาวพุธ (Mercury)
เป็ นดาวเคราะห์ที่อยูใ่ กล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด
ไม่มีดวงจันทร์ เป็ นบริ วาร
ไม่มีบรรยากาศปกคลุม
กลางวันอุณหภูมิสูงถึง 430 องศาเซลเซี ยส กลางคืน
อุณหภูมิจะต่าถึง -170 องศาเซลเซี ยส
• ได้รับฉายาว่าเตาไฟแช่แข็ง
•
•
•
•
ดาวศุกร์ (Venus)
• เป็ นดาวเคราะห์ที่มองเห็นสว่างที่สุดในท้องฟ้ า
• ไม่มีดวงจันทร์ เป็ นบริ วาร
• ถ้าเห็นตอนหัวค่า เรี ยกว่า ดาวประจาเมือง ถ้าเห็น
ตอนเช้ามืด เรี ยกว่า ดาวประกายพรึ ก
• มีฉายาว่าดาวเคราะห์ฝาแฝดของโลก
ดาวอังคาร (Mars)
• เป็ นดาวที่มีขนาดเล็กกว่าโลกประมาณครึ่ งหนึ่ง
• เป็ นดาวที่นกั วิทยาศาสตร์ เชื่อว่าน่าจะมี
สิ่ งมีชีวติ อาศัยอยู่ จึงมีการส่ งยานอวกาศไป
สารวจหลายครั้ง
ดาวพฤหัสบดี (Jupiter)
• เป็ นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด จึงมีฉายาว่า
ดาวเคราะห์ยกั ษ์
• มีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์
• มีดวงจันทร์เป็ นบริ วาร 63 ดวง
• พื้นผิวเต็มไปด้วยแก๊สที่มีความหนาแน่นสูง
ดาวเสาร์ (Saturn)
•
•
•
•
•
มีขนาดใหญ่เป็ นอันดับสองรองจากดาวพฤหัสบดี
มีดวงจันทร์ เป็ นบริ วารอย่างน้อย 30 ดวง
ดวงจันทร์ บริ วารที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ไททัน
เป็ นดาวเคราะห์ที่สวยที่สุดเมื่อมองผ่านกล้องโทรทรรศน์
มีวงแหวนล้อมรอบประมาณ 7 ชั้น และมีวงแหวนเล็กๆ ซ้อนกันอยูจ่ านวนมาก
ดาวยูเรนัส (Uranus)
•
•
•
•
เป็ นดาวเคราะห์แก๊สสี เขียวอ่อน
มีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 3 ในระบบสุ ริยะ
มีวงแหวนบางๆ ล้อมรอบอย่างน้อย 9 วง
โคจรรอบดวงอาทิตย์โดยเอาขั้วนาไปก่อน
จึงมองเห็นวงแหวนในแนวดิ่ง
ดาวเนปจูน (Naptune)
• มีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 4 ในระบบสุ ริยะ
• แผ่พลังงานออกมามากกว่าได้รับพลังงานจาก
ดวงอาทิตย์
• พื้นผิวมีอุณหภูมิเย็นจัดถึง -200 องศาเซลเซี ยส
กาแล็กซีและเอกภพ
กาแล็กซี
เป็ นบริ เวณที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ บริ วารของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์นอ้ ย
ดาวหาง อุกกาบาต รวมทั้งแก๊สและฝุ่ นธุลีในอวกาศ
ชนิดของกาแล็กซี
หากใช้รูปร่ างหรื อลักษณะที่มองเห็นจากโลกเป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่ง
ออกเป็ น 4 กลุ่มดังนี้
• กาแล็กซี กงั หัน
• กาแล็กซี กงั หันแบบมีคาน
• กาแล็กซี รูปไข่
• กาแล็กซี รูปร่ างไม่แน่นอน
กาแล็กซีกงั หัน: เมื่อมองจาก
ด้านบน ตรงกลางจะมีขนาดใหญ่ ซึ่ ง
เต็มไปด้วยดวงดาวที่มีอายุมาก ส่ วน
ดาวที่อยูต่ ามแขนของกังหันเป็ นดาวที่
มีอายุนอ้ ย
กาแล็กซีกงั หันแบบมีคาน: บริ เวณ
ตรงกลางมีลกั ษณะคล้ายคานและมีแขน
ต่อออกมาจากปลายคานทั้งสองข้าง
มีการหมุนเร็ วกว่ากาแล็กซี ทุกประเภท
กาแล็กซีรูปไข่ : มีรูปร่ างขึ้นอยู่
กับการหมุนของกาแล็กซี ถ้าหมุนช้า
จะมีรูปร่ างกลม แต่ถา้ หมุนเร็ วจะมี
รู ปร่ างยาวรี
กาแล็กซีรูปร่ างไม่ แน่ นอน:
ส่ วนใหญ่เป็ นกาแล็กซี ขนาดเล็ก
องค์ ประกอบของกาแล็กซี
• กระจุกดาว: กลุ่มดาวฤกษ์ต้ งั แต่สิบดวงขึ้นไปจนถึงหลายสิ บล้านดวง
• สสารระหว่ างดาว: ประกอบด้วยแก๊ส ฝุ่ นธุลี และชิ้นส่ วนของสะเก็ดดาว
• เนบิวลา: สิ่ งที่ปรากฏเป็ นเมฆ หมอก หรื อฝุ่ นธุลีที่อยูค่ งที่ท่ามกลางดาวฤกษ์บนท้องฟ้ า
แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ดังนี้
- เนบิวลาสว่าง โดยแบ่งออกได้เป็ นเนบิวลาสะท้อนแสง ซึ่ งสะท้อนแสงสว่างที่ส่องมา
จากดาวฤกษ์ และเนบิวลาเรื องแสง ซึ่ งเปล่งแสงออกมาจากตัวเอง
- เนบิวลามืด เป็ นกลุ่มแก๊สและฝุ่ นธุลีจานวนมากที่หนาทึบ
เอกภพ
บริ เวณอันกว้างใหญ่ไพศาล ไม่มีขอบเขตจากัด ซึ่ งประกอบด้วยกาแล็กซี หลายกาแล็กซี
รวมกันอยูเ่ ป็ นระบบ
กาเนิดเอกภพ
ทฤษฎีบิกแบง (Big-Bang Theory) กล่าวว่า “ สรรพสิ่ งทั้งมวลในเอกภพที่ปรากฏอยูน่ ้ ี
ครั้งหนึ่งเคยรวมตัวกันเป็ นกลุ่มก้อน และอัดตัวอยูร่ วมกันแน่นด้วยพลังมหาาาล ต่อมา
เอกภพเกิดการระเบิดครั้งยิง่ ใหญ่ ซึ่ งมวลและ
พลังงานมหาาาลถูกปล่อยออกมา แต่ความร้อน
และพลังงานได้ดึงดูดกันไว้ ทาให้สารต่างๆ
รวมตัวกันเกิดเป็ นดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์
กระจุกดาว กาแล็กซี และพลังงานต่างๆ”
การขยายตัวของเอกภพ
กาแล็กซี แต่ละกาแล็กซี กาลังเคลื่อนตัว
ออกห่างกันไปเรื่ อยๆ ทุกทิศทาง โดย
สามารถตรวจสอบได้จากการเปลี่ยนแปลง
เส้นสเปกตรัมของแสงที่ได้รับที่บ่งบอกว่า
กาลังเคลื่อนที่ออกไป ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่แสดงให้
เห็นว่า เอกภพมีการขยายตัวออกไปเรื่ อยๆ
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
• ดาวฤกษ์ คือ มวลของกลุ่มแก๊สร้อนรู ปทรงกลม
ที่สามารถปล่อยพลังงานแสง ความร้อน และ
รังสี ต่างๆ ออกมาได้
• พลังงานที่ปล่อยออกมาจากดาวฤกษ์ เกิดจาก
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน
• ดาวฤกษ์มีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ ไฮโดรเจน
ฮีเลียม และธาตุโลหะ ที่อยูใ่ นสภาพแก๊ส
วิวฒ
ั นาการของดาวฤกษ์
• เริ่ มจากมวลสารระหว่างดวงดาวมารวมกันแล้วเกิดแรงอัดตัวกันกลายเป็ นดาวฤกษ์
• ดวงอาทิตย์ คือ ดาวฤกษ์ดวงหนึ่ ง ซึ่ งปั จจุบนั มีสีเหลืองแต่ต่อไปเมื่อใกล้หมดอายุจะมี
ขนาดใหญ่ข้ ึนและเปลี่ยนเป็ นสี แดง เรี ยกว่า ดาวยักษ์ แดง หลังจากนั้นจะค่อยๆ หดตัว
จนมีขนาดเล็กลงและมีสีขาว เรี ยกว่า ดาวแคระขาว
ดาวยักษ์ แดง
ดาวแคระขาว
กลุ่มแก๊ สและฝุ่ นธุลี
ทีร่ วมเป็ นดาวฤกษ์
จุดเริ่มต้ น
การแตกดับ
อุณหภูมแิ ละสี ของดาวฤกษ์
• สี ของดาวฤกษ์สามารถบอกถึงอุณหภูมิของดาวแต่ละดวง และยังบอกถึงอายุของ
ดาวฤกษ์ได้
• ดาวฤกษ์ที่มีอายุนอ้ ยจะมีอุณหภูมิสูง และมีสีน้ าเงิน ส่ วนดาวฤกษ์ที่มีอายุมากจะมี
อุณหภูมิต่าและมีสีแดง
กลุ่มดาวฤกษ์
เป็ นกลุ่มดาวประจาที่ ซึ่ งมีระยะห่างกันคงที่เสมอ ทาให้เกิดเป็ นรู ปร่ างต่างๆ ตามที่
ผูม้ องจินตนาการ
กลุ่มดาว 12 ราศี
• กลุ่มดาวฤกษ์ 12 กลุ่ม ที่ปรากฏอยูต่ ามเส้นแถบ
สุ ริยวิถี กลางท้องฟ้ าที่พาดผ่านจากขอบฟ้ าด้าน
ทิศตะวันออกไปถึงขอบฟ้ าด้านทิศตะวันตก
• วิธีการสังเกต คือ ขณะที่ดวงอาทิตย์กาลังลับจาก
ขอบฟ้ า กลุ่มดาว 12 ราศี จะปรากฏบริ เวณใกล้ๆ
กับที่ดวงอาทิตย์ตก
กลุ่มดาว 12 ราศีในแต่ ละเดือน
กลุ่มดาว 12 ราศีในแต่ ละเดือน
กลุ่มดาว 12 ราศีในแต่ ละเดือน
กลุ่มดาวฤดูกาลต่ างๆ
• กลุ่มดาวฤดูหนาว: กลุ่มดาวนายพราน กลุ่มดาววัว
กลุ่มดาวลูกไก่
• กลุ่มดาวฤดูร้อน: กลุ่มดาวหมีใหญ่หรื อกลุ่มดาว
จระเข้ กลุ่มดาวกางเขนใต้ กลุ่มดาวสิ งโต กลุ่มดาว
คนยิงธนู กลุ่มดาวหญิงพรหมจารี
• กลุ่มดาวฤดูฝน: กลุ่มดาวหงส์ กลุ่มดาวพิณ
กลุ่มดาวเฮอร์คิวลิส กลุ่มดาวแมงป่ อง
กลุ่มดาวนายพราน
แผนทีด่ าว
แผนที่แสดงตาแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้ าที่โคจร
รอบโลก มีลกั ษณะเป็ นทรงกลม ซึ่ งกาหนดให้ตวั ผูด้ ู
เป็ นศูนย์กลางของท้องฟ้ าเสมอ
การทาแผนที่ดาว จะต้องทราบสิ่ งต่างๆ ดังนี้
• ทิศบนท้ องฟ้า: ดวงอาทิตย์และดวงดาวขึ้นทางทิาตะวันออกและลับขอบฟ้ าทาง
ทิาตะวันตก
• เส้ นขอบฟ้า: เส้นวงกลมบนพื้นโลกที่จรดกับขอบฟ้ าล้อมรอบตัวเรา
• เส้ นเมอริเดียนท้ องฟ้า: เส้นที่แบ่งครึ่ งท้องฟ้ าออกเป็ นสองส่ วน คือ ซี กโลกตะวันออก
และตะวันตก
• เส้ นศูนย์ สูตรท้ องฟ้า: อยูใ่ นระนาบเดียวกับเส้นาูนย์สูตรของโลก
• จุดยอดท้ องฟ้า: จุดสู งสุ ดบนท้องฟ้ าซึ่ งจะอยูเ่ หนือาีรษะพอดี
ตาแหน่ งและเส้ นต่ างๆ ทีค่ วรทราบในการทาแผนทีด่ าว
การอ่านแผนที่ดาว
แหงนหน้าขึ้นไปบนท้องฟ้ าแล้วยกแผนที่ดาวขึ้นเหนือศีรษะ ตั้งทิศแผนที่ดาวและทิศจริ ง
ให้ตรงกัน จะทาให้เห็นดาวบนฟ้ าตรงกับแผนที่ดาว
การใช้ ประโยชน์ จากดาวฤกษ์
การหาทิศ
• ดาวที่นิยมใช้ในการหาทิศ คือ ดาวเหนือ ซึ่ งอยูใ่ น
กลุ่มดาวหมีเล็ก
• หากต้องการหาทิศใต้ อาจใช้กลุ่มดาวกางเขนใต้
การบอกเวลา
• กลุ่มดาวหมีใหญ่เป็ นกลุ่มดาวที่นิยมใช้บอกเวลา
ซึ่ งคนไทยเรี ยกอีกอย่างหนึ่ งว่า กลุ่มดาวจระเข้
• เวลา 24.00 น. กลุ่มดาวจระเข้จะอยูก่ ลางท้องฟ้ า
โดยส่ วนหัวจะชี้ไปทางทิศเหนือ และเวลาใกล้สว่าง
ส่ วนหัวจะค่อยๆ ลับขอบฟ้ าไปทางทิศตะวันตก
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ หมายถึง การนาความรู ้ เครื่ องมือ และวิธีการต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์
มาปรับใช้กบั การศึกษาทางดาราศาสตร์ และอวกาศ ตลอดจนสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้
สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติ และการดารงชีวติ ของมนุษย์
การเดินทางสู่ อวกาศ
การเดินทางสู่ อวกาศจาเป็ นต้องศึกษาปั จจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
แรงโน้ มถ่ วงของโลก
• เป็ นแรงที่ดึงดูดต่อวัตถุท้ งั หมดบนโลก
ไม่ให้หลุดลอยออกไปนอกโลก
• การส่ งยานอวกาศหรื อดาวเทียมจาก
โลกสู่ อวกาศ จะต้องอาศัยแรงขับ
มหาศาล และความเร็ วสูงมากๆ
• ความเร็ วที่ทาให้ยานอวกาศเคลื่อนที่
หลุดจากแรงโน้มถ่วงของโลก เรี ยกว่า
ความเร็ วหลุดพ้น
แรงกิริยาและแรงปฏิกริ ิยา
การส่ งยานอวกาศหรื อดาวเทียมขึ้นไปต้องอาศัยกฎการเคลื่อนที่ขอ้ ที่ 3 ของนิวตัน
ซึ่ งกล่าวว่า ทุกแรงกิริยาก็ยอ่ มมีแรงปฏิกิริยาที่มีขนาดเท่ากันกระทาในทิศตรงกันข้ามเสมอ
วงโคจรของดาวเทียม
ดาวเทียมที่โคจรรอบโลกได้เนื่องจาก
ความเร็ วของดาวเทียมที่โคจรรอบโลก
สมดุลกับแรงโน้มถ่วงของโลก
ความก้ าวหน้ าของการสารวจอวกาศ
ยุคก่อนอวกาศ
• พ.ศ. 2152 กาลิเลโอประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์
ตัวแรกขึ้น
• พ.ศ. 2474 มีการใช้คลื่นวิทยุสารวจดวงดาวที่
เรี ยกว่า วิทยุดาราศาสตร์ และในเวลาต่อมามีการ
สร้างกล้องโทรทรรศน์วิทยุ
• การสารวจวัตถุบนท้องฟ้ าในอดีตทาได้เพียงการ
ใช้กล้องโทรทรรศน์ และกล้องโทรทรรศน์วิทยุ
เท่านั้น
ยุคอวกาศ
• มีการประดิษฐ์ยานอวกาศเพื่อส่ งไปสารวจอวกาศ
• สหภาพโซเวียตส่ งดาวเทียมดวงแรกขึ้นสู่ อวกาศชื่อ สปุตนิก 1
• มีการจัดตั้งโครงการสารวจอวกาศ โดยทั้งสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริ กา และ
อีกหลายประเทศได้ส่งดาวเทียมและยานอวกาศขึ้นไปโคจรรอบโลก
• มีการส่ งยานอวกาศไปสารวจดาวเคราะห์ต่างๆ และมีการจัดตั้งสถานีอวกาศ
เพื่อเป็ นสถานีทดลองทางวิทยาศาสตร์บนอวกาศ
เทคโนโลยีสารวจอวกาศ
ดาวเทียม
เป็ นสิ่ งประดิษฐ์ที่มนุษย์ส่งไปโคจรรอบโลก โดยอาศัย
ความเข้าใจเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงของโลกและวงโคจรของ
ดาวเทียม ซึ่ งดาวเทียมมีประโยชน์ต่อมนุษย์หลายด้าน
ด้ านการสื่ อสาร
• ใช้ดาวเทียมเป็ นสถานีรับส่ งคลื่นวิทยุ
เพื่อการสื่ อสาร และโทรคมนาคม
• ใช้ติดต่อสื่ อสารทั้งในและต่างประเทศ
ด้ านการพยากรณ์ อากาศ
• ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาส่ งสัญญาณภาพถ่ายทางอากาศมา
สู่ พ้นื ดิน ซึ่ งเป็ นข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยา
• ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาดวงแรกที่ส่งขึ้นไปโคจรรอบโลก
คือ ดาวเทียมไทรอส-1
ดาวเทียมไทรอส-1
ด้ านการสารวจทรัพยากรธรรมชาติ
• ใช้ประโยชน์จากดาวเทียมในด้านป่ าไม้ การเกษตร การใช้ที่ดิน อุทกวิทยา ธรณี วิทยา
สิ่ งแวดล้อม และการทาแผนที่
• ดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติ ที่สาคัญ ได้แก่ ดาวเทียมแลนด์แซท ดาวเทียม
สปอต ดาวเทียมมอส-1 ดาวเทียมธีออส
ด้ านการสารวจสมุทรศาสตร์
• ใช้ดาวเทียมสารวจสมุทรศาสตร์ ทาการบันทึกข้อมูลในช่วงคลื่นไมโครเวฟ
• ดาวเทียมสารวจสมุทรศาสตร์ ที่ถูกส่ งไปโคจรรอบโลก เช่น ดาวเทียมซี แซท ดาวเทียม
เรดาร์ แซท ดาวเทียมมอส-1
ดาวเทียมธีออส
ยานอวกาศ
ยานพาหนะที่มีเครื่ องยนต์ หรื อสิ่ งอื่นที่ใช้บงั คับ
ยานอวกาศให้เคลื่อนที่ไป หรื อกลับสู่ พ้ืนโลก หรื อ
จอดบนพื้นผิวดาวเคราะห์ที่ตอ้ งการสารวจ
จรวด
• สิ่ งประดิษฐ์ที่ใช้เป็ นอาวุธและใช้ในการส่ งยานอวกาศ
หรื อดาวเทียมขึ้นจากพื้นโลก
• จรวดที่ใช้ส่งยานอวกาศหรื อดาวเทียมจะมีหลายท่อน
โดยแต่ละท่อนจะบรรจุเชื้อเพลิงได้
ยานขนส่ งอวกาศ
เรี ยกอีกอย่างว่า เครื่ องบินอวกาศ หรื อกระสวยอวกาศ
เป็ นพาหนะที่ใช้สาหรับขนส่ งเครื่ องมือ อุปกรณ์ มนุษย์
และสิ่ งต่างๆ ออกสู่ นอกโลกเพื่อปฏิบตั ิภารกิจในอวกาศ
สถานีอวกาศ
เป็ นสถานที่พกั ของยานอวกาศสาหรับเตรี ยมศึกษา
เอกภพและดวงดาว ซึ่ งประกอบด้วย 2 ส่ วนสาคัญ ดังนี้
• ส่ วนอาศัย : เป็ นที่อยูข่ องนักบินอวกาศแต่ละคน
• ส่ วนปฏิบตั ิการ : เป็ นที่ต้ งั ของอุปกรณ์ควบคุม
สถานีอวกาศ ตลอดจนเครื่ องมือเครื่ องใช้ทาง
วิทยาศาสตร์
กล้องโทรทรรศน์ อวกาศ
• อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกตการณ์ทางด้านดาราศาสตร์
• พ.ศ. 2533 องค์การนาซาส่ งกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลขึ้นไปประจาวงโคจรรอบโลก
ซึ่ งมีอุปกรณ์ที่สาคัญที่ติดไปกับกล้อง ได้แก่ ระบบคอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายภาพมุมกว้าง
เครื่ องตรวจวัดสเปกตรัม และเครื่ องปรับทิศทางของกล้อง
สรุปทบทวนประจาหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 7
• ระบบสุ ริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุต่างๆ ที่อยูภ่ ายใต้แรงดึงดูดของดวงอาทิตย์
• วัตถุในระบบสุ ริยะ ได้แก่ ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์นอ้ ย ดาวเคราะห์แคระ
ดาวหาง อุกกาบาต และดวงจันทร์ที่เป็ นบริ วารของดาวเคราะห์
• ดาวเคราะห์ในระบบสุ ริยะ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ ดาวเคราะห์วงใน และ
ดาวเคราะห์วงนอก
• กาแล็กซี กาเนิดมาจากมวลของแก๊สภายใต้ความดันและแรงดึงดูดระหว่างกัน
• เอกภพ หมายถึง บริ เวณอันกว้างใหญ่ซ่ ึ งประกอบไปด้วยกาแล็กซี หลายๆ กาแล็กซี
รวมกันอยูเ่ ป็ นระบบ
• ดาวฤกษ์ คือ มวลของกลุ่มแก๊สร้อนรู ปทรงกลมที่สามารถเปล่งพลังงานแสง
ความร้อน และรังสี ต่างๆ ออกมาได้
• เทคโนโลยีอวกาศ หมายถึง การนาความรู ้ เครื่ องมือ และวิธีการต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์
มาปรับใช้กบั การศึกษาทางดาราศาสตร์ และอวกาศ