Transcript Star2

โครงการอบรมครู ระดับมัธยมศึกษา
เรื่อง โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่ วมกับ สถาบันส่ งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี (สสวท.)
การบรรยายเรื่อง ดาวฤกษ์
โดย รองศาสตราจารย์ บุญรักษา สุ นทรธรรม
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ดวงดาวในท้ องฟ้า
ในอวกาศมีวตั ถุทอ้ งฟ้ าเป็ นจานวนมากทั้งที่มองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า
และที่มองไม่เห็นได้ดว้ ยตาเปล่า วัตถุทอ้ งฟ้ าที่เห็นส่ วนใหญ่จะเป็ นดาว
ฤกษ์ นอกจากนี้อาจเห็น ดาวเคราะห์ เนบิวลา กาแลกซี ดาวหาง ฯลฯ
กลุ่มดาวมีท้ งั หมด 88 กลุ่มบนท้องฟ้ า ในแต่ละเดือนกลุ่มดาวที่
ปรากฏบนท้องฟ้ าจะแตกต่างกัน
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ระบบพิกัด (Coordinate System)
การบอกตาแหน่งของวัตถุทอ้ งฟ้ า กาหนดเป็ นระบบพิกดั
1. ระบบเส้นขอบฟ้ า (Horizontal Coordinate System)
- มุมเงย (Altitude)
- มุมอาซิมุท (Azimuth)
2. ระบบอิเควเตอร์ (Equatorial Coordinate System)
- เดคลิเนชัน (Declination)
- ไรท์ แอสเซนชัน (Right Ascension)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ระบบเส้ นขอบฟ้า
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
มุมเงยของดาวเหนือ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
การเคลื่อนที่ของดาวบนท้ องฟ้า
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
กลุ่มดาวที่น่าร้ ู จกั
- กลุ่มดาวจระเข้ ( กลุ่มดาวหมีใหญ่ (Ursa Major))
- กลุ่มดาวค้างคาว ( กลุ่มดาวแคสซิ โอเปี ย (Cassiopia))
- กลุ่มดาวเต่า ( กลุ่มดาวนายพราน ( Orion))
- กลุ่มดาวในจักราศี (Zodiac)
ฯลฯ
ดูในระบบสารสนเทศสาหรับโรงเรี ยน ในหัวข้อ “ดูดาวเป็ น”
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
กลุ่มดาวในจักราศี
เป็ นกลุ่มดาวที่เป็ นเส้นทางเดินของดวงอาทิตย์เมื่อสังเกต
จากโลก มีท้ งั หมด 12 กลุ่ม เส้นทางเดินของดวงอาทิตย์เรี ยกว่า
“เส้นสุ ริยะวิถี (Ecliptic)”
โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปตะวันออก คน
บนโลกจึงเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนที่ผา่ นกลุ่มดาวจักราศีจาก
ทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก
* ดูในสารสนเทศดาราศาสตร์สาหรับโรงเรี ยน หัวข้อ “ดาวในจัก
ราศี”
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
กลุ่มดาวในจักราศี
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ใน 1 ปี
การดังนั้นใน 1 วัน ดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนที่ไปตามกลุ่ม
ดาวจักราศี เป็ นระยะทางประมาณ 1 องศา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
คาถาม
1. เดือนกรกฎาคม คนบนโลกจะเห็นดวงอาทิตย์ปรากฎใน
กลุ่มดาวอะไร?
2. เดือนกรกฎาคม เมื่อตอนดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้ าพอดี
เราจะเห็นกลุ่มดาวจักราศีอะไรอยูต่ าแหน่งสู งสุ ดบนท้องฟ้ า? และ
กลุ่มดาวนี้จะตกลับขอบฟ้ าเวลาอะไร?
3. เดือนกรกฎาคม กลุ่มดาวจักราศีใดปรากฏอยูบ่ นท้องฟ้ า
นานที่สุด?
4. ในแต่ละคืนหากเราเฝ้ าสังเกตกลุ่มดาวจักราศี เราจะ
สังเกตได้มากที่สุดกี่กลุ่ม?
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วัตถุท้องฟ้าในยามค่าคืน
1. ดาวฤกษ์ (Star)
2. ดาวเคราะห์ (Planet)
3. ทางช้างเผือก (Milky Way)
4. กระจุกดาว (Star’s Cluster)
5. เนบิวลา (Nebula)
6. กาแล็กซี (Galaxy)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ดาวฤกษ์ (Star)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ดาวพฤหัสบดี
(Jupiter)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
กาแล็กซีทางช้ างเผือก
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
กระจุกดาวเปิ ด
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
กระจุกดาวทรงกลม (Globular Cluster)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
เนบิวลาเรื องแสง (Emission Nebula)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ระบบดาว : กาแลกซี (galaxies)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ระบบดาว:กระจุกกาแลกซี (Cluster of Galaxies)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
กาเนิด
ระบบสุริยะ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
การวิวัฒนาการของดาวฤกษ์
การวิวฒั นาการของดาวฤกษ์
1. การยุบตัวของกลุ่มก๊าซขนาดใหญ่หรื อเนบิวลา
2. สภาพดาวฤกษ์ก่อนเกิด (Protostar)
3. สภาพดาวฤกษ์ (Star)
4. สภาพหลังดาวฤกษ์
- ดาวยักษ์แดง (Red Giant)/ ดาวซุปเปอร์ยกั ษ์
(Supergiant)
- เนบิวลาดาวเคราะห์ (Planetary Nebula)/
ซูเปอร์โนวา (Supernova)
- ดาวแคระขาว (White Dwarf)/ดาวนิวตรอน (Neutron
Star)/หลุมดา (Black Hole)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
การวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ มวลน้ อย
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
เนบิวลาดาวเคราะห์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ซูเปอร์ โนวา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ดาวนิวตรอนและพัลซาร์ (Pulsar)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
หลุมดา (Black Hole)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ความสว่ างและลาดับความสว่ างของดาวฤกษ์
ความสว่าง (Brightness) ของดาวฤกษ์ เป็ นพลังงานที่แผ่
ออกมาจากดาวฤกษ์ใน 1 วินาที (จูล/วินาที)
อันดับความสว่าง (Magnitude) ของดาวฤกษ์ เป็ นสเกล
ความสว่างของดาวฤกษ์ (ไม่มีหน่วย) โดยตาเปล่าสามารถเห็นดาว
ริ บหรี่ ที่สุดมีอนั ดับความสว่าง = 6
ดาวที่มีอนั ดับความสว่าง 1 สว่างกว่าดาวที่มีอนั ดับความ
สว่าง 6 อยู่ 100 เท่า
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
สี และอุณหภูมิผวิ ของดาวฤกษ์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
การหาระยะทางของดาวฤกษ์
การหาระยะทางของ
ดาวฤกษ์ทาได้โดย วิธี
แพรัลแลกซ์ (Parallax)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)