D/L - วันอังคาร ที่ 28 พฤศจิกายน 2549

Download Report

Transcript D/L - วันอังคาร ที่ 28 พฤศจิกายน 2549

Khao-Kwan Foundation
โครงการส่งเสริมการจัดการความร ้ ู
เรื่อง การทานาข้าวในระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืน
กรณีศึกษาโรงเรียนชาวนา
ในระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืน
มูลนิธิขา้ วขวัญ ส ุพรรณบ ุรี
แผนผังการจัดการความรู้ โครงการส่งเสริมการจัดการความรู้
เรือ่ ง การทานาข้าวในระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืน
แหล่ งเรียนรู้
มูลนิธิข้าวขวัญ / องค์ กรอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
ใหม่
เก่า
เรียนรู้ ระหว่ างทา
-กิจกรรมต่ างๆ
ในโรงเรียนชาวนาทั้ง 3 หลักสู ตร
1.ตั้งโจทย์ ปัญหา
- ระดมความคิดเห็น
เพือ่ ตั้งโจทย์ และหาเพือ่ นร่ วมงาน
เรียนรู้ ก่อนทา
- วิทยากรภายนอก
- ศึกษาดูงานนอกพืน้ ที่
เรียนรู้ หลังทา
- สรุปบทเรียนรายสั ปดาห์
- สรุปบทเรียน 6 เดือน,ปี
- สรุปบทเรียนหลังจบหลักสู คร
องค์ ความรู้ เก่ าและใหม่
การเกษตร วัฒนธรรม ความเชื่อ วิถีปฏิบัติ
2.ตั้งเป้ า
-กาหนดเป้ าหมายและ
รูปแบบการทางานร่ วมกัน
โจทย์ปัญหาที่ได้จากการระดมความคิดเห็น








ต้นท ุนสูง
หนี้สินเพิ่ม
ใช้สารเคมีมาก
สิ่งแวดล้อมเสีย
ส ุขภาพเสื่อมโทรม
ครอบครัวและช ุมชนมีปัญหา
วัฒนธรรมประเพณี สูญหาย
ศักดิ์ศรีชาวนาตกต่า
ต้นท ุนการทานาสูง ( ปี 2549 )
ปัจจัยการผลิต
ราคา
1. การเตรียมพื้นที่
450
2. ค่าเมล็ดพันธ์ ุ
330
3. ค่าจ้างหว่าน
60
4. ค่าปุ๋ยเคมี
700
5. ค่าจ้างหว่านปุ๋ยเคมี
200
6. ค่าสารกาจัดวัชพืช
100
7. ค่าสารกาจัดแมลง
300
8. ค่าสารกาจัดศัตร ูพืช
150
9. ค่าฮอร์โมนเร่ง
200
10. ค่าจ้างฉีดยา
180
11. การเก็บเกี่ยว
550
12. ค่าขนส่ง
150
รวมต้นท ุนการผลิต
3,370
หนี้สินเพิ่มพูน
ที่มา: เอกสารประกอบการปฏิร ูประบบส ุขภาพ
สาหรับการประช ุมเวทีสมัชชาส ุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546
หนี้สินชาวนาส ุพรรณบ ุรี (พ.ศ. 2547)

เฉลี่ยครอบครัวละ 300,0000 บาท
(ที่มา) รายงานผลกระทบด้านส ุขภาพในการใช้สารเคมี
เอ็นโดซันแฟนในนาข้าว โดยมูลนิธิขา้ วขวัญ
การใช้ป๋ ยเคมี
ุ
และปุ๋ยยูเรียในนาข้าว
การใช้สารเคมีควบค ุมวัชพืช/ศัตรูพืช
สิ่งแวดล้อมเสีย
ส ุขภาพเสื่อมโทรม
ที่มา: เอกสารประกอบการปฏิร ูประบบส ุขภาพ
สาหรับการประช ุมเวทีสมัชชาส ุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546
เป้าหมายและรูปแบบการทางานร่วมกัน





ปรับเปลี่ยนวิธีการผลิต เพื่อลดต้นท ุน
แก้ไขปัญหาหนี้สิน
สิ่งแวดล้อมดี
ส ุขภาพดีทวั่ หน้า ช ุมชนอยูเ่ ย็นเป็นส ุข
ฟ้ ื นฟู วัฒนธรรมประเพณี ศักดิ์ศรีชาวนา
หลักสูตรโรงเรียนชาวนา 3 ระดับ
1. การควบค ุมโรคแมลงในนาข้าวโดยชีววิธี
2. การปรับปร ุงบาร ุงดินโดยชีววิธี
3. การปรับปร ุงพันธข์ ุ า้ วสาหรับนาอินทรีย ์
กลมุ่ ชาวนาเป้าหมาย
โรงเรียนชาวนามูลนิธิขา้ วขวัญ จังหวัดส ุพรรณบ ุรี
1. อาเภอเมือง
- บ้านโพธิ์ตะวันตก/บ้านลมุ่ บัว
บ้านลาดตานวล/บ้านไผ่แขก
บ้านบึงคัน/บ้านหนองตาโม
2.อาเภอบางปลาม้า
- บ้านวัดดาว/บ้านสังโฆ
3.อาเภออทู่ อง
- บ้านยางลาว/บ้านดอน
4.อาเภอดอนเจดีย ์
- บ้านหนองแจง/บ้านหนองแต้
บ้านหินแรง/บ้านจิกรากข่า
เชื้อสายไทย/เขมร
เชื้อสายไทย/ลาวพวน
เชื้อสายไทยทรงดา (ลาวโซ่ง)
เชื้อสายลาวเวียง
ข้อตกลงร่วมของนักเรียนโรงเรียนชาวนา





นักเรียนชาวนาท ุกคน ต้องมีแปลงนาในการทดลองของตนเอง อย่างน้อย
ที่ส ุดจานวน 2 ไร่ ไม่ใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชในแปลงนาทดลองตลอด
หลักสูตร
โรงเรียนชาวนาเปิดเรียนสัปดาห์ละ 1 วันๆ ละ 3 ชัว่ โมง คือ 09.00
– 12.00 น. กาหนดให้เป็นวันใดวันหนึ่งตลอดทัง้ หลักสูตร เช่น ท ุกวัน
อังคาร
นักเรียนชาวนาห้ามขาดเรียนติดต่อกันเกิน 2 ครัง้ แต่ถา้ หาตัวแทน
ภายในครอบครัว ที่สามารถตัดสินใจได้ ก็ถือว่าไม่ขาดเรียน
นักเรียนชาวนาห้ามขาดเรียนเกิน 5 ครัง้ หากขาดเกิน 5 ครัง้ จะไม่ได้
รับว ุฒิบตั ร
นักเรียนชาวนาที่มาลงทะเบียนเรียนต่อเนื่องกันอย่างน้อย 10 ครัง้ จึง
จะได้รบั เสื้อนักเรียนชาวนาเป็นกรรมสิทธิ์
กระบวนการเรียนร ้ ู
เรียนรูจ้ ากวิทยากรภายนอก
เรียนรภ้ ู ูมิปัญญาในท้องถิ่น
ศึกษาด ูงานนอกสถานที่
การเรียนรแ้ ู ละทางานร่วมกัน
การฝึกบันทึกการเรียนรูข้ องนักเรียนชาวนา
ตัวอย่างสมุดบันทึกการเรียนรูข้ องนักเรียนชาวนา
หลักสูตรการเรียนร ้ ู
ระดับประถมศึกษา
หลักสูตรการควบค ุมโรคแมลงในนาข้าว
โดยชีววิธี
การโฉบแมลงในแปลงนา
การคัดแยกแมลงดี-ร้าย
การบันทึกลักษณะของแมลงจากแปลงนา
เป็นเครือ่ งมือทบทวนความจา
เรียนรส้ ู มุนไพรชนิดต่างๆที่ใช้ควบค ุมโรคแมลง
วิธีการใช้สมุนไพรควบค ุมโรคแมลง
ระดับมัธยมศึกษา
หลักสูตรการปรับปร ุงบาร ุงดินโดยชีววิธี
การเรียนรูว้ ิธีตรวจสอบสภาพดิน
วัดค่ าความเป็ นกรด-ด่ าง
ตรวจสอบธาตุอาหารในดิน
ชั่งน้าหนักดิน
ดมความหอมของดิน
การเก็บจุลินทรียจ์ ากป่าสมบูรณ์
เก็บจากดินในป่ าทีส่ มบูรณ์
เก็บจากน้า
เก็บจากขอนไม้ผ ุ
การขยายพันธจุ์ ุลินทรีย ์
โฉมหน้าการเดินเชื้อของจุลินทรีย ์
ผลการวิเคราะห์จ ุลินทรียท์ ี่เก็บได้จากป่า
ผลการวิเคราะห์ใบไผ่ที่เก็บไป พบจุลินทรียช์ นิดต่างๆ ดังนี้
1.ไตรโคเดอร์มา
3 ชนิด
2.บาซิลสั
4 ชนิด
3.ไรโซปัส
3 ชนิด
4.ยีสต์
9 ชนิด
5.เชื้อรา
1 ชนิด
6.แบคทีเรีย
2 ชนิด
ตัวอย่างภาพจ ุลินทรียจ์ ากกล้องจ ุลทรรศน์
ไตรโคเดอร์มา
ไรโซปัส
บาซิลสั
ยีสต์
ผลจากการศึกษาจุลินทรียจ์ ากใบไผ่ตวั อย่าง
1.มีเชื้อราไตรโคเดอร์มาหลายสายพันธ์ ุ สามารถปลดปล่อยสารที่
เพิ่มการเจริญเติบโตของพืชได้
2.มีเชื้อราและยีสต์หลายชนิดที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมสูง และมี
ความสามารถในการสร้างเอนไซม์ต่างๆได้
3. มีแบคทีเรียบาซีลสั และยีสต์หลายชนิด ที่สามารถสร้างสารยับยัง้
เชื้อราและแบคทีเรียโรคพืชได้
4. หากนาใบไผ่น้ ี ไปใช้ในแปลงเพาะปล ูกพืช จะเป็นผลดีอย่างยิ่งต่อ
การปล ูกพืชของเกษตรกร ไม่ว่าจะเป็นการลดปัญหาด้านโรคพืช
และเพิ่มการเจริญเติบโตได้
การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย ์
วิธีการใช้น้าจ ุลินทรียใ์ นกระบวนการทานา
การใช้ จุลนิ ทรีย์ช่วงเตรียมแปลงนา
การใช้ จุลนิ ทรีย์บารุ งต้ นข้ าว
ผลจากการใช้จ ุลินทรียใ์ นการปรับปร ุงบาร ุงดิน
เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของรากข้าว
ที่เกิดจากการปรับปร ุงดินด้วยวิธีต่างๆ
ดินที่เกิดจากการเผาฟาง
ดินที่ใช้ป๋ ยชี
ุ วภาพ
ดินที่ใช้ป๋ ยเคมี
ุ
ดินที่ใช้ป๋ ยชี
ุ วภาพร่วมกับ
จุลินทรีย ์
ระดับอ ุดมศึกษา
หลักสูตรการปรับปร ุงพันธข์ ุ า้ วสาหรับนา
อินทรีย ์
การรวบรวมพันธขุ์ า้ ว
นาข้ าวเปลือกมากะเทาะเปลือกด้ วยเครื่อง
ลักษณะข้าวกล้องที่ผา่ นการกะเทาะเปลือก
การคัดเมล็ดข้าวกล้องเพื่อให้ได้ค ุณภาพที่ตอ้ งการ
เมล็ดข้าวกล้องที่ได้ค ุณภาพตามความต้องการ
1.เมล็ดเรียวยาว
2.เมล็ดมันวาว
3.ไม่มีทอ้ งไข่หรือ
ท้องปลาซิว
4.ไม่แตก ไม่รา้ ว ไม่ลีบ
5.มีจมูกข้าวเล็ก
เพาะต้นกล้าข้าวกล้องด้วยทรายหยาบ
การเพาะต้นกล้าข้าวกล้องจากขี้เถ้าแกลบ
การดาต้ นกล้าแบบสวนครัว
ปล ูกข้าวพันธคุ์ ดั ด้วยการดานาต้นเดียว
ต้นข้าวจากการปักดาแบบต้นเดียว
กระบวนการดานาโดยใช้เครือ่ งดา
โฉมหน้าเครือ่ งดานา
การเตรียมแปลงเพาะต้นกล้าสาหรับเครือ่ งดานา
ปุ๋ยหรือดินดี
กากอ้อย
หว่านเมล็ดพันธ ุ์
ต้ นกล้ าสาหรับเครื่องดานา
การเจริญเติบโตของต้นข้าวจากเครือ่ งดานา
วันปักดาวันแรก
ข้าวอาย ุ 1 เดือน
ข้าวอาย ุ 3 เดือน
เทคนิคการตอนและการผสมพันธข์ ุ า้ ว
ผลผลิตที่ได้จากการคัดเลือกและพัฒนาข้าวพันธด์ ุ ี
ผลงานจากการปรับปร ุงและพัฒนาพันธขุ์ า้ ว
สร ุปผลที่ได้รบั หลังการเรียนรู้







เปลี่ยนมาทานาที่ลดต้นท ุนได้
หนี้สินเริม
่ ลดลง
สิ่งแวดล้อมในแปลงนาดีข้ ึน
ส ุขภาพกายและจิตดีข้ ึน
มีความรักสามัคคีในครอบครัวและช ุมชนมากขึ้น
วัฒนธรรมและประเพณีได้รบั การฟ้ ื นฟู
มีความภูมิใจและเชื่อมัน่ ในตนเอง
เปรียบเทียบต้นท ุนหลังการเรียนร ้ ู (ปี ๒๕๔๙ )
ปัจจัยการผลิต
ก่อนเรียนรู(้ บาท)
หลังเรียนรู(้ บาท)
การเตรียมพื้นที่
450
450
ค่าเมล็ดพันธ์ ุ
330
-
ค่าจ้างหว่าน
60
-
ค่าปุ๋ยเคมี
700
-
ค่าจ้างหว่านปุ๋ยเคมี
200
-
ค่าสารกาจัดวัชพืช
100
-
ค่าสารกาจัดแมลง
300
-
ค่าสารกาจัดศัตรพู ืช
150
-
ค่าฮอร์โมนเร่ง
200
-
ค่าจ้างฉีดยา
180
-
-
250
การเก็บเกีย่ ว
550
550
ค่าขนส่ง
150
150
3,370
1,400
ปุ๋ยชีวภาพ/สมุนไพร/จุลินทรีย ์
รวมต้นท ุนการผลิต
สิ่งแวดล้อมในแปลงนาดีข้ ึน
อาหารตามธรรมชาติกลับมา
ส ุขภาพกายและส ุขภาพจิตดีข้ ึน
ความสามัคคี ช่วยเหลือร่วมมือกัน
ฟ้ ื นฟูวฒ
ั นธรรมประเพณี
ความสาเร็จขัน้ ต้น
ภ ูมิใจและเชื่อมัน่ ในตนเอง
ถ่ายทอดสูล่ ูกหลาน
การเผยแพร่สส่ ู าธารณะ
“เปิ บข้ าวทุกคราวคา
จงสู จาเป็ นอาจินต์
เหงือ่ กูทสี่ ู กนิ
จึงก่อเกิดมาเป็ นคน
ข้ าวนั้น ณ มีรส
ให้ ชนชิมทุกชั้นชน
เบือ้ งหลังสิ ทุกข์ ทน
แสนขื่นขมจนเคียวคาว
จากแรงมาเป็ นรวง
ระยะทางนั้นเหยียดยาว
ออกรวงเป็ นเม็ดพราว ด้ วยทุกข์ ยากลาบากเข็ญ
เหงื่อหยดสั กกีห่ ยาด ทุกหยดหยาดล้ วนยากเย็น
ปูดโปนกีเ่ ส้ นเอ็น
จึงแปรรวง…ให้ สูกนิ ”
Weblog
http://www.ngos.gotoknow.org
E-mail : [email protected]
มูลนิธิข้าวขวัญ 13/1 หมู่ 3 ถ.เทศบาลท่ าเสด็จ 1
ซ.6 ต.สระแก้ว อ.เมือง จ.สุ พรรณบุรี 72230 โทรศัพท์ /โทรสาร 035-597193