3เกษตรธรรมชาติ508

Download Report

Transcript 3เกษตรธรรมชาติ508

หลักเกษตรธรรมชาติ
1. มีการปรับปรุ งดินดี โดยการใช้ปุ๋ยอินทรี ย ์ ได้แก่ ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยน้ า
ชีวภาพ และปุ๋ ยพืชสด และมีการคลุมดิน
2. ใช้ระบบการปลูกพืชหลายชนิ ด ได้แก่ การปลูกพืชหมุนเวียน และการพืช
แซม เพื่อเป็ นการจาลองธรรมชาติมาไว้ในไร่ นาและช่วยป้ องกันการระบาดของโรค
และแมลง
3. อนุรักษ์แมลงที่มีประโยชน์ โดยไม่ใช้สารเคมีป้องกันและกาจัดศัตรู พืช
เนื่องจากสารเคมีจะไม่เพียงแต่ทาลายแมลงศัตรู เท่านั้น แต่ยงั ทาลายตัวทาและตัวเบียน
ซึ่ งเป็ นแมลงที่เป็ นประโยชน์ดว้ ย
แนวปฏิบัติในการทาเกษตรธรรมชาติ
1. ทาให้หน้าดินลึกเฉพาะในกรณี ที่พ้ืนที่แห่ งนั้นมีหน้าดินตื้น และมีช้ นั ดินดาน
อยูถ่ ดั ไป ซึ่ งทาได้โดยใช้แรงงานคนขุดหรื อใช้รถแทรกเตอร์ ไถหรื อใช้พืชตระกูลถัว่
ที่มีระบบรากลึก เช่น ถัว่ มะแฮะ
2. ใช้ปุ๋ยอินทรี ยแ์ ทนปุ๋ ยเคมี โดยใช้ปุ๋ยหมักหรื อปุ๋ ยคอกเป็ นปุ๋ ยรองพื้นหรื อ
ปุ๋ ยหลักแล้วใช้ปุ๋ยน้ าชีวภาพเป็ นปุ๋ ยเสริ ม
- ปุ๋ ยหมักจะทาจากเศษพืช
- ส่ วนปุ๋ ยน้ าชีวภาพทาจากมูล
ปุ๋ ยหมักจากเปลือกผลไม้และเศษอาหาร
bio-ferz.blogspot.com
3. มีการเตรี ยมดินดีก่อนปลูกพืชซึ่ งทาได้หลายกรณี
- ใช้ปุ๋ยหมักหรื อปุ๋ ยคอกใส่ เป็ นปุ๋ ยรองพื้นคลุกเคล้ากับดินหมักดินโดยรดน้ า
ให้เปี ยกชุ่มแล้วทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ จึงพรวนดินปลูก
- ถ้าดินดีแล้วก็เพียงแต่สาดปุ๋ ยหมัดหรื อปุ๋ ยคอกแล้วไถพรวนให้เข้ากันดีจึงปลูก
พืชได้
4. คลุมดินให้พืชที่ปลูกซึ่ งจะช่วยป้ องกันการชะล้างของหน้าดินรักษาความชุม
ชื้นของดินทาให้หน้าดินอ่อนนุ่มช่วยควบคุมอุณหภูมิป้องกันมิให้วชั พืชขึ้น
ช่วยกระตุน้ ให้มีจุลินทรี ในดินมากขึ้นและยังช่วยเพิม่ ธาตุอาหารพืชจากการสลายตัว
ของวัสดุคลุมดิน
5. ใช้ระบบการปลูกพืชหลายชนิด ซึ่ งทาได้โดยการปลูกพืชหมุนเวียนและ
การปลูกพืชแซม
- การปลูกพืชหมุนเวียนจะใช้พืชตระกูลถัว่ ปลูกหมุนเวียนอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง
และจะไม่ปลูกพืชชนิดเดียวกันหรื อตระกูลเดียวกันซ้ าที่เดิม
- การปลูกพืชแซมจะทาให้มีแหล่งอาหารหลากหลาย
6. การป้ องกันและกาจัดโรค-แมลงจะใช้สมุนไพร ที่ทาจาก สะเดา ข่า
ตะไคร้หอม นอกจากสมุนไพร ดังกล่าวแล้วยังมีสมุนไพรชนิดอื่นๆ อีกมากมายที่
สามารถใช้ป้องกันและกาจัดโรคและแมลงศัตรู พืชได้
สะเดา
ข่ า
ตะไคร้ หอม
การปลูกพืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติตอนที่ 1
จากพระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในวโรกาสเสด็จทอดพระเนตร
โครงการศูนย์ฝึกอบรมเยาวชนเกษตร วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2530 โดยให้
ศูนย์ฯแห่ งนี้ ดาเนินการแก้ไขสภาพดินเสื่ อมโทรมและให้ความรู ้ดา้ นการอนุรักษ์ดิน
และน้ าแก่ราษฎรทัว่ ไปเนื่องจากบริ เวณนี้มีสภาพแห้งแล้งดินขาดความอุดมสมบูรณ์
ซึ่ งในปั จจุบนั การเพาะปลูกของประเทศไทยก็ประสบปั ญหาหลายประการ
ประการแรก คือ ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ กล่าวคือ พื้นที่การเกษตรของ
ประเทศไทยประมาณ 80% เป็ นดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์มีเป็ นกรดสู งและที่สาคัญ
เป็ นดินที่ขาดจุลินทรี ยท์ ี่มีประโยชน์ต่อดินและต่อพืชซึ่ งเรี ยกได้วา่ เป็ นดินตายสาเหตุก็
มาจากการปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ าๆหลายปี ไม่มีการปลูกพืชหมุนเวียนอีกทั้งมีการใช้
ปุ๋ ยเคมีเพียงอย่างเดียวเป็ นส่ วนใหญ่สุดท้ายก็ทาให้เกิดสภาพดินกรดขาดความอุดม
สมบูรณ์เกษตรกรปลูกพืชแล้วให้ผลตอบแทนได้ไม่เต็มที่
ประการที่สอง เกษตรกรประสบปัญหาแมลงศัตรู พืชชนิดต่างๆรบกวนไม่วา่
จะเป็ นสวนผัก สวนผลไม้ ไม้ดอก-ไม้ประดับ พืชไร่ -นา ชนิดต่างๆและหนทางที่
เกษตรกรเลือกใช้แก้ปัญหาส่ วนใหญ่กค็ ือสารเคมีฆ่าแมลงแต่จากการที่เกษตรกรขาด
ความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สารเคมีวิธีการใช้ที่เหมาะสมช่วงเวลาในการใช้
เกษตรกรใช้สารเคมีหลายชนิ ดซ้ าซ้อนกันและในปริ มาณที่มากเกินความจาเป็ นมีผลทา
ให้สารพิษตกค้างในผลผลิตมีตน้ ทุนการผลิตสู งเป็ นอันตรายต่อเกษตรกรผูผ้ ลิตเอง
และผูบ้ ริ โภคก็ได้รับอันตรายเช่นกันมีผบู้ ริ โภคจานวนมากที่ตอ้ งหวาดระแวงกับพิษ
ภัยของสารพิษตกค้างในอาหาร
การปลูกพืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติตอนที่ 2
ความหมายของเกษตรธรรมชาติ
เกษตรธรรมชาติ หมายถึง การทาการเกษตรที่ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมี
ทางการเกษตรทุกชนิ ด แต่จะให้ความสาคัญของดินเป็ นอันดับแรกด้วยการปรับปรุ ง
ดินให้มีพลังในการเพาะปลูกเหมือนกับดินในป่ าที่มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ
โดยการนาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอ่ ย่างจากัดมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
เป็ นวิธีการที่ไม่ก่อให้เกิดผลเสี ยต่อสภาพแวดล้อมไม่เป็ นอันตรายต่อเกษตรกรและ
ผูบ้ ริ โภค
หลักเกษตรธรรมชาติ
หลักเกษตรธรรมชาติกเ็ ป็ นหลักการที่เลียนแบบมาจากป่ า
ที่สมบูรณ์นนั่ เอง ซึ่ งจะประกอบด้วยการปฏิบตั ิการทางการเกษตร
ที่คานึงถึงดิน พืช และแมลง ไปอย่างพร้อมกันคือ
1. มีการปรับปรุ งดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ซ่ ึ งสามารถทาได้โดย
1) ปรับปรุ งดินโดยใช้ปุ๋ยอินทรี ยแ์ ละปุ๋ ยชีวภาพปุ๋ ยอินทรี ยไ์ ด้ แก่ ปุ๋ ยหมัก
ปุ๋ ยน้ าชีวภาพ และปุ๋ ยพืชสด ส่ วนปุ๋ ยชีวภาพได้แก่ ไรโซเดียม ไมโคไรซ่า ปุ๋ ยเหล่านี้
จะให้ท้ งั ธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองแก่พืชอย่างครบถ้วนจึงใช้ทดแทนปุ๋ ยเคมี
เกษตรธรรมชาติ
www.oknation.net
2) การคลุมดิน ทาได้โดยใช้เศษพืชต่าง ๆ จากไร่ นา เช่น ฟาง หญ้าแห้ง ต้น
ถัว่ ใบไม้ ขุยมะพร้าว เศษเหลือทิ้งจากไร่ นา หรื อกระดาษหนังสื อพิมพ์ พลาสติกคลุม
ดิน หรื อการปลูกพืชคลุมดิน การคลุมดินมีประโยชน์หลายประการคือ ช่วยป้ องกันการ
ชะล้างของหน้าดิน และรักษาความชุ่มชื้นของดิน
3) การปลูกพืชหมุนเวียน เนื่องจากพืชแต่ละชนิ ดต้องการธาตุอาหาร
แตกต่างกันทั้งชนิดและปริ มาณ อีกทั้งระบบรากยังมีความแตกต่างกันทั้งในด้านการ
แผ่กว้างและหยัง่ ลึก ถ้ามีการจัดระบบการปลูกพืชอย่างเหมาะสมแล้วจะทาให้การใช้
ธาตุอาหารมีท้ งั ที่ถกู ใช้และสะสมสลับกันไป ทาให้ดินไม่ขาดธาตุอาหารธาตุใดธาตุ
หนึ่ง
2. ปลูกพืชหลายชนิด การปลูกพืชหลายชนิดเป็ นการจัดสภาพแวดล้อมในไร่
นา ซึ่ งจะช่วยลดการระบาดของโรคและแมลงศัตรู พืชได้ เนื่องจากการปลูกพืชหลาย
ชนิดจะทาให้มีความหลากหลายทางชีวภาพ มีแหล่งอาหารที่หลากหลายของแมลง จึง
มีแมลงหลากหลายชนิดมาอาศัยอยูร่ ่ วมกันในจานวนแมลงเหล่านี้จะมีท้ งั แมลงที่เป็ น
ศัตรู พืชและแมลงที่เป็ นศัตรู ธรรมชาติที่จะช่วยควบคุมแมลงศัตรู พืชให้คล้ายคลึงกับ
ธรรมชาติในป่ าที่อุดมสมบูรณ์นนั่ เองการปลูกพืชหลายชนิดสามารถทาได้หลาย
รู ปแบบ เช่น
1) การปลูกหมุนเวียนเป็ นการไม่ปลูกพืชชนิดเดียวกันหรื อตระกูลเดียวกัน
ติดต่อกันบนพื้นที่เดียวกัน การปลูกพืชหมุนเวียนจะช่วยหลีกเลี่ยงการระบาดของโรค
และแมลงและช่วยประโยชน์ในทางด้านการปรับปรุ งดิน
2) การปลูกพืชแซม การเลือกพืชมาปลูกร่ วมกัน หรื อแซมกันนั้นพืชที่เลือกมา
ต้องเกื้อกูลกัน
3. อนุรักษ์แมลงที่มีประโยชน์ ซึ่ งสามารถทาได้โดย
1) การที่ไม่ใช้สารเคมี เนื่องจากสารเคมีทาลายทั้งแมลงศัตรู พืชและแมลงศัตรู
ธรรมชาติที่มีประโยชน์ดว้ ย การที่ไม่ใช้สารเคมีทาให้มีศตั รู ธรรมชาติพวกตัวห้ าและ
ตัวเบียนมากขึ้นในพื้นที่บริ เวณนั้นซึ่ งศัตรู ธรรมชาติเหล่านี้จะช่วยควบคุมแมลงสัตรู
พืชให้
2) ปลูกดอกไม้สีสดๆ เช่น บานชื่น ทานตะวัน บานไม่รู้โรย ดาวเรื อง
ดาวกระจาย เป็ นต้น โดยปลูกไว้รอบแปลง หรื อปลูกแซมลงในแปลงเพาะปลูก สี ของ
ดอกไม้จะดึงดูดแมลงนานาชนิ ด และในจานวนนั้นก็มีแมลงศัตรู ธรรมชาติดว้ ย จึงเป็ น
การเพิ่มจานวนแมลงศัตรู ธรรมชาติในแปลงเพาะปลูกซึ่ งจะช่วยควบคุมแมลงศัตรู พืช
ให้แก่เกษตรกร
การปลูกพืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติตอนที่ 3
ปุ๋ ยอินทรีย์และปุ๋ ยชีวภาพ
ในการทาเกษตรธรรมชาติเนื่องจากเราไม่ใช้ปุ๋ยเคมีแต่จะหันมาปรับปรุ งดินโดยใช้
ปุ๋ ยอินทรี ยแ์ ละปุ๋ ยชีวภาพแทน
- ปุ๋ ยอินทรี ย ์ ได้แก่ ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยน้ าชีวภาพ และปุ๋ ยพืชสด (สาหรับปุ๋ ยคอกไม่ได้
กล่าวถึง เนื่องจากนาปุ๋ ยคอกหรื อมูลสัตว์มาใช้เป็ นวัสดุในการทาปุ๋ ยหมัก)
- ปุ๋ ยชีวภาพ ได้แก่ ไรโซเดียม ไมโคไรซ่า
- ปุ๋ ยอินทรี ยแ์ ละปุ๋ ยชีวภาพเหล่านี้ จะให้ท้ งั ธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรอง
แก่พืชอย่างครบถ้วนและในปริ มาณที่มากพอจึงใช้ทดแทนปุ๋ ยเคมีในการเพาะปลูกพืช
ได้และการใช้ปุ๋ยชีวภาพร่ วมด้วยก็จะช่วยทาให้ไม่ตอ้ งใช้ปุ๋ยหมักมากจึงเป็ นไปได้ที่จะ
ทาเกษตรธรรมชาติในพื้นที่แปลงใหญ่มิใช่ทาแปลงเล็กหรื อสวนครัวหลังบ้านเท่านั้น
การปลูกพืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติตอนจบ
การป้ องกันและกาจัดศัตรู พชื โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ
1. ใช้วิธีการถอน ใช้จอบถาง ใช้วิธีการไถพรวน
2. ใช้วสั ดุคลุมดิน ซึ่ งเป็ นการปกคลุมผิวดินช่วยอนุรักษ์ดินและน้ าและเป็ นการ
เพิม่ อินทรี ยวัตถุให้กบั ดินอีกด้วยโดยส่ วนใหญ่มกั ใช้วสั ดุตามธรรมชาติ ได้แก่ เศษซาก
พืชหรื อวัสดุเหลือใช้ในการเกษตร เช่น ฟางข้าว ตอซังพืช หญ้าแห้ง ใบไม้แห้ง ต้นถัว่
ขุยมะพร้าว กากอ้อย แกลบ เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั มีพลาสติกที่ผลิตขึ้นสาหรับการคลุม
ดินโดยเฉพาะซึ่ งสามารถนามาใช้ได้เช่นกัน
3. ปลูกพืชคลุมดิน เช่น การปลูกพืชตระกูลถัว่ คลุมดินในสวนไม้ผลการปลูกพืช
ต่างๆ เช่น ผัก ไม้ดอก สมุนไพร แซมในสวนไม้ผลเป็ นต้น
เราได้อะไรจากการทาเกษตรธรรมชาติ
ถ้าเราทาเกษตรธรรมชาติ เราได้รายได้เป็ นตัวเงินจากการขายผลผลิตและ
ได้รายได้ที่ไม่ใช่ตวั เงินแต่เป็ นรายได้ในรู ปต่างๆ เช่น อาหารที่ปลอดภัยสาหรับ
ครอบครัว เกษตรกรผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภคมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่ วยไม่ตอ้ ง
เสี ยเงินค่ารักษาพยาบาลในด้านสิ่ งแวดล้อม วิธีการเกษตรธรรมชาติจะช่วยรักษา
สิ่ งแวดล้อม และช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติไว้ให้อยูช่ วั่ ลูกชัว่ หลาน รัฐบาลไม่
ต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการแก้ไขปั ญหามลพิษต่างๆ เกษตรธรรมชาติเป็ นรู ปแบบหนึ่งที่
สอดคล้องกับแนวทางการดาเนิ นชีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ คือ
การอุม้ ชูตนเองได้ พออยูพ่ อกิน ผลิตของกินเอง ให้ใช้สิ่งที่ผลิต ที่ปลูก เกื้อกูลกัน มี
เหลือแบ่งปั น มีความพอเพียงกับตนเองกับครอบครัวและชุมชน