86 - ayph.in.th

Download Report

Transcript 86 - ayph.in.th

แนวทางในการเข้ าสู่ เวที Public Scoping และ
Public Review
เพ็ญศรี วัจฉละญาณ
คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การประเมินผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ
• การใช้หลักวิชาการในการทานาย หรื อ คาดการณ์ผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อม ทั้ง
ทางบวกและทางลบของการดาเนิ นการโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสิ่ งแวดล้อมใน
ทุกๆด้านทั้งทางทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจและสังคม เพื่อจะได้หาทางป้ องกัน
ผลกระทบในทางลบที่อาจเกิดขึ้นให้นอ้ ยที่สุด
• แนวคิดเรื่ องสุ ขภาพ ยอมรับว่า ปั จจัยทางสิ่ งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ และ
วัฒนธรรมมีความสัมพันธ์ต่อสุ ขภาพ และส่ งผลต่อการมีคุณภาพชีวิตสุ ขภาพและ
ความเป็ นอยูท่ ี่ดี
2
3
การเปลีย่ นแปลงปัจจัยกาหนดสุ ขภาพจากกิจกรรมโครงการ
การตอกเสาเข็ม
ที่พกั อาศัยคนงาน
เสียงดัง
• เหตุรบกวน (ชุมชน)
• การได้ ยิน (คนงาน)
สัน่ สะเทือน
• สิ่งปลูกสร้ างของชุมชน
มลพิษอากาศ
• คุณภาพอากาศของชุมชน
• ระบบบริ การ/จัดการขยะชุมชน
ขยะ
• คุณภาพน ้าของชุมชน
• แหล่งรังโรค
น ้าเสีย
ทะเลาะวิวาท/
อาชญากรรม
4
• ความปลอดภัยของชุมชน
HIA under EIA
EHIA APPROACH ทีใ่ ช้ ในปัจจุบัน
Broad Focus
มุมมองสุ ขภาพ
แบบองค์รวม Holistic
หลักวิชา Disciplinary
วิทยาศาสตร์ / ระบาดวิทยา / พิษวิทยา /
สังคมศาสตร์
หลักการดาเนิน/ประพฤติ Ethos ผูเ้ ชี่ยวชาญทางเทคนิค/ การมีส่วนร่ วม /ประชาธิปไตย
ประเภท/ชนิดของหลักฐาน
ข้อมูลตรวจวัด /ข้อเท็จจริ ง /ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, ข้อ
ตระหนักของชุมชน
5
5
ปัจจัยที่เกี่ยวกับสุ ขภาพและมีบทบาทสาคัญในการส่ งเสริ มสุ ขภาพ
- รายได้ และสถานะทางสังคม
- เครื อข่ายสนับสนุนทางสังคม
- การศึกษา
- การจ้ างงานและสถานภาพในการทางาน
- สิ่งแวดล้ อมทางกายภาพ
- สิ่งแวดล้ อมทางชีวภาพและพันธุกรรม
- การปฏิบตั ิตนด้ านสุขอนามัย
- การพัฒนาการในวัยเด็ก
-การบริการทางการแพทย์ เป็ นต้ น
จาก แนวทางการประเมินผลกระทบสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้ อม ของ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม
ธันวาคม 2552
ขั้นตอนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ
ความสาคัญของขอบเขตการศึกษา
• เป็ นแผนงานของการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม
• การกาหนดขอบเขตการศึกษาที่เหมาะสมช่วยให้ได้ การวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม ที่มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
• เน้นศึกษาประเด็นที่สาคัญในความเห็นของสาธารณชนและของ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
• การกาหนดขอบเขตการศึกษาจะต้องไม่กว้างเกินไป เพราะจะทาให้การ
ประเมินดาเนินการได้ยากมาก แต่หากกาหนดขอบเขตแคบเกินไป อาจ
ทาให้เกิดการละเลยประเด็นผลกระทบสาคัญบางประการไปได้
วัตถุประสงค์ในการกาหนดขอบเขตการศึกษา
1. เพื่อระบุประเด็นผลกระทบสิ่ งแวดล้อมและผลกระทบทางสุ ขภาพที่สาคัญ ปัจจัยและ
ทางเลือกที่จะต้องพิจารณา เป็ นขั้นตอนสาคัญที่จะทาให้เจ้าของโครงการได้ใช้เวลา
และทรัพยากร ในการศึกษาด้านสิ่ งแวดล้อม และสุ ขภาพในประเด็นที่สาคัญ
2. เพื่อจัดลาดับประเด็นที่มีการจาแนกไว้ตามข้อ 1 โดยใช้ขอ้ มูลจากการปรึ กษาหารื อ
จากผูเ้ ชี่ยวชาญและจากประชาชนมาช่วยในการจัดลาดับความสาคัญ
3. เพื่อกาหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา ซึ่ งควรคานึงถึงปั จจัยต่างๆ เช่น ขนาดและลักษณะ
ของโครงการ สภาพทางสิ่ งแวดล้อมของพื้นที่ เช่น การใช้ที่ดิน พื้นทีล่ ุ่มน้ า เป็ นต้น
4. กาหนดระดับความความละเอียดของการศึกษา ขึ้นกับความรุ นแรงของระดับ
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ปั จจัยต่างๆ จะช่วยกาหนดประเภทของผลกระทบทาง
สุ ขภาพตั้งแต่ข้ นั ของการกาหนดขอบเขตการศึกษา
การกาหนดขอบเขตการศึกษา
ตัวอย่างการพิจารณาปัจจัยกาหนดสุ ขภาพ
ข้อมูลที่จาเป็ นในการกาหนดขอบเขตการศึกษา
•
•
•
•
•
•
•
ราละเอียด/กิจกรรมโครงการ/แผนงาน
ข้ อมูลพื ้นที่ /การใช้ ประโยชน์ที่ดิน
ข้ อมูลประชากร เศรษฐกิจ สังคม (ความเข้ มแข็ง/เครื อข่าย/
ข้ อมูลสภาพแวดล้ อมในปั จจุบนั
ข้ อมูลสถานะสุขภาพของประชากร
ข้ อมูลระบบบริการสาธารณูปโภค
ข้ อมูลระบบบริการสาธารณสุขและการแพทย์
ปัจจัยทางสุ ขภาพที่ควรใช้พิจารณาในการกาหนดขอบเขตการศึกษา
ปั จจัย
ลักษณะ
•สารอันตราย
- เคมีเช่น โลหะหนัก สารอินทรี ย์ที่มีพิษ กายภาพ เช่น เสียง ฝุ่ น รังสี ความสัน่
สะเทือน ชีวภาพ เช่น ไวรัส แบคทีเรี ย
•สิ่งแวดล้ อม
- การเปลี่ยนแปลงคุณภาพหรื อปริ มาณ น ้า อาหาร อากาศ ดิน การใช้ ที่ดิน
•ปั จจัยที่เกี่ยวกับ
การสัมผัส
- เส้ นทางในการสัมผัส (exposure pathway) เช่น อาหาร อากาศ น ้า
- การสัมผัสของสาธารณชน
- การสัมผัสของคนงาน
- การจาแนกกลุม่ เสี่ยง
•ผลกระทบ
- อัตราการตาย อัตราการเจ็บ โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อผลกระทบเรื อ้ รัง
ต่อสุขภาพทางกาย หรื อ ผลกระทบเฉียบพลัน บาดเจ็บ อุบตั ิเหตุ
- ผลกระทบต่อคนรุ่นต่อไป
- ผลกระทบต่อกลุม่ ผู้มีความเสี่ยงสูง
13
ปัจจัยทางสุ ขภาพที่ควรใช้พิจารณาในการกาหนดขอบเขตการศึกษา(ต่อ)
ปัจจัย
•ผลกระทบ
ต่อสุ ขภาพทางกาย
ลักษณะ
- การกระตุน้ หรื อส่ งเสริ มให้เกิดความรุ นแรงของโรคมากขึ้นจากที่เป็ นอยูใ่ น
ปัจจุบนั เช่น หอบ หื ด
- ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมสะสม
• ผลกระทบต่อการ - ความจาเป็ นทางด้านการบริ การทางการแพทย์ที่เพิ่มขึ้นหรื อที่พิเศษ
บริ การทางการแพทย์ - การเปลี่ยนแปลงด้านการบริ การทางการแพทย์ที่มีอยูเ่ ดิม
•ผลกระทบต่อความ - ผลกระทบต่อรายได้ การจ้างงาน สภาพเศรษฐกิจ-สังคม
เป็ นอยูท่ ี่ดี
- ผลกระทบต่อรายได้ของชุมชน หรื อธุรกิจในท้องถิ่น
- การอพยพ ย้ายถิ่น การตั้งถิ่นฐานใหม่
- ผลกระทบต่อการบริ การ เช่น การศึกษา เครื อข่ายสนับสนุนสังคม เป็ นต้น
- ผลกระทบต่ออนามัยสิ่ งแวดล้อม
- ผลประโยชน์ทางด้านสุ ขภาพ
14
การประเมินผลกระทบ
• เป้ าหมาย เพื่อ ประเมินระดับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นต่อสุ ขภาพจาก
การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยกาหนดสุ ขภาพหรื อสิ่ งคุกคาม
– ผลกระทบจะเกิดเมื่อไร
– พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ
– ขนาดของผลกระทบ
– นัยสาคัญของผลกระทบ
• องค์ประกอบของระดับผลกระทบ
– โอกาสของการเกิด เช่น ความถี่ ระยะเวลาการเกิด
– ความรุ นแรงของผลที่เกิดตามมา Consequence เช่น ระดับความรุ นแรง
ลักษณะผูไ้ ด้รับผลกระทบ
การบริ หารความเสี่ ยง
การเสนอมาตรการลดผลกระทบ
• การเสนอมาตรการลดผลกระทบจะต้องพิจารณา
– ผลกระทบต่อสุ ขภาพที่อาจเกิดขึ้นจะสามารถป้ องกันหรื อทาให้ลดลงได้
อย่างไร
– มีทางเลือกในการดาเนิ นการที่ดีกว่าหรื อไม่
– ประโยชน์ที่ประชาชน ชุมชนจะได้รับในการดูแลด้านสุ ขภาพมีได้หรื อไม่
อย่างไร
– มาตรการบางประการอาจเกี่ยวข้องกับหน่วยงานอื่นนอกเหนือจากหน่วยงาน
สาธารณสุ ข ดังนั้นจึงต้องมีการให้คาแนะนาแก่หน่วยงานอื่น ๆ เพื่อให้เกิด
มาตรการที่มีประสิ ทธิ ภาพในการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบต่อสุ ขภาพ
17
การติดตามตรวจสอบและประเมินผล
• พิจารณาให้ครอบคลุมทั้งช่วงระยะเวลาก่อสร้างและดาเนินการ
• อาจต้องการหน่วยงานอื่นที่มิใช่หน่วยงานอนุญาตเป็ นผูต้ ดิ ตาม
ตรวจสอบ (อานาจในการตรวจสอบ)
• การตรวจสอบร่ วมโดยภาคประชาชน
18
การรับฟังความคิดเห็นต่อร่ างรายงานการวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ
รายงานผลการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ
ประเด็น
ผลกระทบ
กลุ่ม
เสี่ ยง
ระยะ
ชุมชน
ดาเนินการ
• การ
รั่วไหลของ
สารเคมี
ลักษณะ
ผลกระทบ
มาตรการป้องกันและลด
ผลกระทบ
มาตรการติดตาม
ตรวจสอบ
• สารเคมีที่
รั่วไหลมีโอกาส
กระจายตัวไปยัง
ชุมชน........ โดย
จะก่อให้เกิด
ผลกระทบ คือ
ระคายเคือง
ทางเดินหายใจ
• จัดให้มีเครื่ องตรวจวัด
สารเคมีที่บริ เวณปั๊ ม หรื อ
จุดเสี่ ยงที่อาจเกิดการ
รั่วไหลได้
• มีแผนตรวจบารุ งรักษา
ปั๊ ม/อุปกรณ์ทุก 6 เดือน
•จัดให้มีแผนฉุกเฉิ นและมี
การซ้อมแผนร่ วมกับ
ชุมชน
• รายงานผลการ
ตรวจวัดปริ มาณ
สารเคมี
• รายงานผลการ
บารุ งรักษาปั๊ ม/
อุปกรณ์
• รายงานผลการ
ฝึ กซ้อมแผนฉุกเฉิ น
ผู้ที่ดาเนินการจะต้ องพิจารณา วิเคราะห์ และให้ ข้อมูลในประเด็นที่สาคัญ
ดังต่อไปนี ้
๑. การเปลี่ยนแปลงสภาพและการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่วา่ จะเป็ นทรัพยากรที่ดิน
ทรัพยากรน ้า ทรัพยากรประมง ทรัพยากรป่ าไม้ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ และระบบนิเวศ
๒. การผลิต ขนส่ง และการจัดเก็บวัตถุอนั ตราย โดยจะต้ องแจ้ งประเภท ปริมาณ และ
วิธีดาเนินการของวัตถุอนั ตรายทุกชนิด
๓. การกาเนิดและการปล่อยของเสียและสิง่ คุกคามสุขภาพ จากการก่อสร้ าง จาก
กระบวนการผลิต และกระบวนการอื่นใด ไม่วา่ จะเป็ นขยะ กากของเสีย กากของเสีย
อันตราย น ้าเสีย ขยะติดเชื ้อ ความร้ อน มลสารทางอากาศ ฝุ่ น แสง เสียง กลิ่น การ
สัน่ สะเทือน และกัมมันตภาพรังสี
๔. การรับสัมผัสต่อมลพิษและสิ่งคุกคามสุขภาพ ไม่วา่ จะเป็ น เส้ นทางการรับสัมผัส
เข้ าสูร่ ่างกาย เช่น โดยการหายใจ การรับประทาน การสัมผัสทางผิวหนัง เป็ นต้ น การ
รับสัมผัสของคนงานหรื อผู้ปฏิบตั ิงานในโครงการหรื อกิจการ การรับสัมผัสของ
ประชาชนโดยรอบโครงการหรื อกิจการ เป็ นต้ น
๕. การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่ออาชีพ การจ้ างงาน และสภาพการทางานใน
ท้ องถิ่น ทังทางบวกและทางลบ
้
เช่น ความเสี่ยงและอุบตั ิเหตุจากการทางาน การ
เปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศ ทรัพยากร และห่วงโซ่อปุ ทานของสินค้ าและบริการที่เป็ น
ฐานการดารงชีวิตหลักของประชาชนกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ ในพื ้นที่
๖. การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของประชาชนและชุมชน
ทังความสั
้
มพันธ์ภายในชุมชนและภายนอกชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอพยพของ
ประชาชนและแรงงาน การเพิ่ม/ลดพื ้นที่สาธารณะของชุมชน และความขัดแย้ งที่
อาจจะเกิดขึ ้นจากการดาเนินโครงการหรื อกิจการดังกล่าว
๗. การเปลี่ยนแปลงในพื ้นที่ที่มีความสาคัญหรื อเป็ นมรดกทางศิลปวัฒนธรรม เช่น
ศาสนสถาน สถานที่ที่ประชาชนสักการะบูชา หรื อสถานที่ประกอบพิธีกรรมของชุมชน
ท้ องถิ่น พื ้นที่ที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ และโบราณสถานสาคัญ
๘. ผลกระทบที่เฉพาะเจาะจงหรื อมีความรุนแรงเป็ นพิเศษต่อประชาชนกลุม่ ใดกลุ่มหนึง่
โดยเฉพาะกลุม่ ประชาชนที่มีความเปราะบาง เช่น เด็ก ผู้พิการ ผู้สงู อายุ พ่อแม่เลี ้ยงเดี่ยว
ชนกลุม่ น้ อยเป็ นต้ น
๙. ทรัพยากรและความพร้ อมของภาคสาธารณสุข ทังในแง่
้
ของการสร้ างเสริม
การป้องกัน การรักษา และการฟื น้ ฟูสขุ ภาพของประชาชน ที่อาจเกี่ยวเนื่องกับโครงการหรื อ
กิจการ รวมถึงความพร้ อมของข้ อมูลสถานะสุขภาพในพื ้นที่ก่อนมีการดาเนินการ การ
จัดระบบฐานข้ อมูลเพื่อติดตามผลกระทบ ขีดความสามารถการสารวจโรค และการรับมือ
กับอุบตั ิภยั และภัยพิบตั ิที่อาจเกิดขึ ้น