6_meeting_6_March_56 - สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนา

Download Report

Transcript 6_meeting_6_March_56 - สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนา

งานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้ ส่ ือสารความเสี่ยง
กรมควบคุมโรค
นางศิริวลัย มณีศรีเดช
นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ
จากสถานการณ์ อุทกภัยครั ง้ ใหญ่ ท่ ัวประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.2554 ได้
นามาสู่การปรั บเปลี่ยนสื่อสารเชิงรุ ก โดยมีการจัดตัง้ กลุ่มเฝ้าระวังและตอบ
โต้ ส่ ือสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ ภายใต้ สานักงานเผยแพร่ และ
ประชาสัมพันธ์ ต่ อมามีภัยวิกฤติเพิ่มมากขึน้ ผู้บริหารกรมควบคุมโรคได้
กาหนดนโยบาย และเล็งเห็นความสาคัญของงานสื่อสารความเสี่ยงที่
ดาเนินการเป็ นระบบและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้
จึงได้ ดาเนินการปรั บปรุ งสานักงานเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ เป็ น
สานักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ โดยคาสั่งที่ 243/2556
เรื่ อง ตัง้ สานักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เป็ นการ
ภายใน สังกัดกรมควบคุมโรค สั่ง ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556
สานักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
หน้ าที่ความรับผิดชอบของสานักสื่ อสารความเสี่ ยงและพัฒนา
พฤติกรรมสุ ขภาพ
• ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนารู ปแบบการปรั บเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเป้าหมาย
ต่ างๆ รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพเพื่อการปรั บเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพ
• ตอบโต้ ส่ ือสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ ที่มี
ผลกระทบต่ อภาพลักษณ์ กรมควบคุมโรคได้ อย่ างทันท่ วงที
• สร้ างและพัฒนาภาคีเครือข่ ายด้ านการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ และเครือข่ าย
พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
• จัดทาฐานข้ อมูลกลางเกี่ยวกับ องค์ ความรู้ เทคโนโลยีใหม่ ๆในการดาเนินงานพัฒนา
พฤติกรรมสุขภาพ
• วางแผน กาหนดกลวิธี ในการสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พร้ อมทัง้ ส่ งเสริม
สนับสนุนดาเนินการจัดกิจกรรมด้ านการรณรงค์ โรคและภัยสุขภาพ ตามนโยบายของกรม
ควบคุมโรคและกระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงานของสานักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนา
พฤติกรรมสุขภาพ
สานักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพแบ่ งส่ วนราชการ ดังนี ้
1. กลุ่มบริหารทั่วไป
2. กลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์ กร
3. กลุ่มเฝ้าระวังและตอบโต้
4. กลุ่มสื่อสารและรณรงค์
5. กลุ่มพัฒนาพฤติกรรม
กลุ่มเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้
สานักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
มีหน้ าที่
- ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนารู ปแบบการเฝ้าระวังสื่อ ตอบโต้ ส่ ือสาร
ความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ ที่มีผลกระทบต่ อภาพลักษณ์ กรมควบคุมโรค
- ดาเนินการเฝ้าระวังสื่อ คัดกรองข่ าว วิเคราะห์ ข่าวสารที่มี
ผลกระทบต่ อภาพลักษณ์ ของกรมควบคุมโรค
- จัดหาแหล่ งข่ าว ประสานสื่อมวลชน จัดทาประเด็นสาร เพื่อ
สื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ และสร้ างภาพลักษณ์ ของกรมควบคุม
โรค
- สร้ างและพัฒนาภาคีเครื อข่ ายงานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้ อย่ าง
เป็ นระบบ รวดเร็ว ทันสถานการณ์ ทัง้ ในส่ วนกลางและส่ วนภูมภิ าค
- ปฏิบัตงิ านอื่นๆตามที่ได้ รับมอบหมาย
การบริหารงานของสานักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนา
พฤติกรรมสุขภาพ
กลุ่มบริหารทั่วไป
กลุ่มสื่อสารและ
รณรงค์
กลุ่มยุทธศาสตร์
และพัฒนาองค์ กร
กลุ่มเฝ้าระวังสื่อ
และตอบโต้
กลุ่มพัฒนา
พฤติกรรม
งานเฝ้าระวัง
งานตอบโต้
จัดทาแผนและประเด็นการสื่อสารความเสี่ยง
เพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ศึกษา วิเคราะห์ และสรุ ปข่ าวจากสื่อ
ต่ างๆ
จัดหาแหล่ งข่ าวเพื่อสื่อสารข้ อมูลด้ านการ
ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
กาหนดประเด็น เนือ้ หา และกล
ยุทธ์ การตอบโต้
คัดกรองข่ าว วิเคราะห์ ข่าว
จัดลาดับความเสี่ยงของข่ าว
ดาเนินการตอบโต้ ข่าวสารผ่ าน
ช่ องทางการสื่อสารต่ างๆ
สร้ างและพัฒนาภาคีเครื อข่ ายการเฝ้าระวังและตอบโต้ ข่าวสารความเสี่ยง
ประเมินผลการดาเนินงานเฝ้าระวังและสื่อสารความเสี่ยง
แผนผัง
การจัดการข้ อมูลข่ าวสารที่มีความเสี่ยงสูงอย่ างครบวงจร
Media
Watch
พยากรณ์ โรค
Call Center
แหล่ งข่ าว
คัดกรองข่ าวสาร
ข้ อมูล
ข่ าวลือ
ข้ อมูลที่มีความเสี่ยง
สูง*
ไม่ ใช่
ดาเนินการตาม
ระบบปกติ
ใช่
ตรวจสอบข้ อมูลผู้ประสานหลัก
ของแต่ ละสานัก
จัดทาสาระสาคัญ เช่ น ข่ าวกรอง.ประเด็นแถลงข่ าว (เพื่อการ
ประชาสัมพันธ์ /เพื่อการดาเนินการป้องกันควบคุมโรค) สานัก
วิชาการต่ างๆ
จัดทาสื่อ
ประชาสัมพันธ์ และ
เผยแพร่ สานัก
สื่อสารความเสี่ยง
และพัฒนาพฤติกรรม
สุขภาพ/ส.วิชาการ
กรณีไม่ ซับซ้ อน
ตรวจทานสาระสาคัญ ผอ./ผู้
ที่ได้ รับมอบหมายแต่ ละ
สานัก
กรณีซับซ้ อน
กระบวนการต่ อไปกรณีซับซ้ อน
กรณีซับซ้ อน
ดาเนินการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
สนง.สื่อสารความเสี่ยงและพัฒนา
พฤติกรรมร่ วมกับหน่ วยงานที่
เกี่ยวข้ อง (ส.วิชาการต่ างๆ,ส.
สารนิเทศ,โฆษกกรมและโฆษก
กระทรวง)
ประชาสัมพันธ์ ต่าง
ช่ องทางต่ างๆ
วางแผนประชาสัมพันธ์ อย่ างเป็ น
ขัน้ ตอน คณะทางานฯ**
ตรวจสอบข้ อมูลผู้ประสานหลัก
ของแต่ ละสานัก
ผู้บริหาร
ปรับการวางแผนประชาสัมพันธ์ อย่ าง
เป็ นขัน้ ตอนตามความเห็นชอบของ
กรมควบคุมโรค คณะทางานฯ**
แจ้ ง Call Center
ติดตามผลกระทบ
คณะทางานฯ**
กรณีไม่
ซับซ้ อน
ดาเนินการป้องกัน
ควบคุมโรค
ปรับกลยุทธ์ ในการสื่อสาร
คณะทางานฯ**
ดาเนินการตาม
ขัน้ ตอน
รายงานผล
การดาเนินการ
หน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง
(ส.วิชาการต่ างๆ,ส.
สารนิเทศ,โฆษกกรม
และโฆษกกระทรวง)
กรณีซับซ้ อน
ผู้บริหารกรม
พิจารณาเปิ ด
Operation center
สรต.(PHER)/หน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง
ภาคีเครือข่ าย
หน่ วยงานที่
เกี่ยวข้ อง
ภายนอกกรม
ควบคุมโรค
สื่อมวลชน
สานัก,หน่ วยงาน
ภายในกรมควบคุม
โรค
องค์ ประกอบการสื่อสารความเสี่ยง : “สารและสื่อ”
1
วิเคราะห์
สถานการณ์
ระยะของสถานการณ์
-ระยะเตรียมตัว
- ระยะตอบโต้
- ระยะฟื ้ นฟู
2
กาหนด
วัตถุประสงค์
ระยะเตรียมตัว
-ตรวจตราสิ่งแวดล้ อม
- ติดตามประเด็น
- จัดการประเด็น
- วางแผนรับมือวิกฤต
ระยะตอบโต้
-ส่ งเสริมให้ มีความ
ตระหนักและเข้ าใจ
- ส่ งเสริมเกิดความ
เชื่อมั่นและไว้ วางใจ
- ส่ งเสริมประสิทธิภาพ
การจัดการความเสี่ยง
ระยะฟื ้ นฟู
-สารวจความพึงพอใจ
- ฟื ้ นฟูภาพลักษณ์
3
วิเคราะห์
ผู้รับสาร
4
ออกแบบ
สาร
ประเภทข้ อความ
-ข้ อความเตือน
-ความกังวล
- ข้ อความสร้ างความ
- ความคาดหวัง
กลัว
- ปั จจัยที่เกี่ยวข้ อง
-ข้ อความให้ ตีความ
กับพฤติกรรม
-ข้ อความสอนการ
- รู ปแบบการ
ปฏิบัตติ น
ดาเนินชีวิต
- ข้ อความสร้ างการรับรู้
- ข้ อความที่แก้ ไขความ
ประเภท
เข้ าใจผิด
ลักษณะการนาเสนอ
กลุ่มเป้าหมาย
- หน่ วยงานรัฐอื่นๆ คาขวัญหรือสโลแกน คาย่ อ คา
อุปมาอุปไมย คาสัน้ ๆง่ ายๆ คา
-ผู้นาชุมชน
แทน เลียนแบบคาอื่น ประโยค
- ประชาชน
ถาม-ตอบ กระตุ้นให้ รีบปฏิบัติ
ทิง้ ท้ ายให้ คิดเอง ใช้ คาพ้ องเสียง
ภาพประกอบ
สร้ างอารมณ์ ร่วมให้ เกิดการเปิ ดรับ
สาร
5
เลือก
ช่ องทาง
การ
สื่อสาร
ประเภทสื่อ
-สื่อบุคคล
- สื่อมวลชน
- สื่อเฉพาะกิจ
ข้ อควรคานึง
กลุ่มผู้รับสาร ช่ วงเวลา
บรรยากาศแวดล้ อม
ทักษะที่จาเป็ น
พฤติกรรมการรับสาร
ความสมบูรณ์ ของสาร
เวลา ปฏิกิริยา โอกาส
เปิ ดรับความเร็วในการ
เข้ าถึง
กลยุทธ์ ส่ ือ
ขอบคุณค่ ะ