การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์

Download Report

Transcript การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
(Creative Tourism)
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
อาจารย์ประจาภาควิชารัฐศาสตร์
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยรังสิต
ประวัติผบู้ รรยาย
การศึกษา
• รัฐศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์ ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• รัฐศาสตรบัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการเมือง
เปรี ยบเทียบ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
• ศิลปศาสตรบัณฑิต (การท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยรังสิต
ประวัติผบู้ รรยาย
สถานที่ทางาน
• อาจารย์ประจาภาควิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยรังสิต
• TRDM Institute Director
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
• การท่องเที่ยวเชิงสร้ างสรรค์ คืออะไร
• การจัดการเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้ างสรรค์
• บทบาทองค์กรปกครองท้ องถิ่นในมิตกิ ารจัดการท่องเที่ยวเพือ่ การ
พัฒนาท้ องถิ่น
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ คืออะไร
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ คืออะไร
• ยูเนสโก (UNESCO) ได้ ให้ นิยามของการท่องเที่ยวสร้ างสรรค์
(Creative Tourism) ว่าเป็ นการท่องเที่ยวที่มีจดุ ประสงค์สอดคล้ องกับ
แนวทางการพัฒนาชุมชนที่เกี่ยว ข้ องเพื่อให้ เกิดความยัง่ ยืนในการดาเนิน
ชีวิตของชุมชน โดยจัดกิจกรรม การท่องเที่ยวอย่างกลมกลืนและสัมพันธ์กบั
ประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม ตลอดจนวิถีตา่ ง ๆ ในชุมชน ในเชิงของการเรี ยนรู้
และการทดลอง เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ประสบการณ์จากสิง่ ที่มีอยูแ่ ละเป็ นอยูจ่ ริ ง
ในชุมชน นอกจากนัน้ ชุมชนจะต้ องสามารถใช้ การจัดการท่องเที่ยว
สร้ างสรรค์เป็ นเครื่ องมือใน การรักษาความสมดุลระหว่าง
1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นจากการท่องเที่ยวภายในชุมชนและ
2) ชุมชนจะได้ รับผลประโยชน์ ทังในรู
้ ปแบบที่เป็ นผลประโยชน์ตอบ แทนอิงตาม
ระบอบทุนนิยมและในรูปแบบความยัง่ ยืนของการพัฒนาใน ชุมชน
แนวโน้มการท่องเที่ยวในยุค
ปัจจุบนั
Stephen F. McCool
and R.Neil Moisey,
2001. Tourism,
Recreation, and
Sustainability: Linking
Culture and
Environment. New
York: CABI
Publishing.p.49
การจัดการเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
โครงสร้างของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
Stephen L J Smith, 1995. Tourism Analysis: A Handbook. Palatino:
LONGMAN. P.23
ประเภทของ
นักท่องเที่ยว
Stephen L J
Smith, 1995.
Tourism
Analysis: A
Handbook.
Palatino:
LONGMAN.
P.24
ระบบข้อมูลข่าวสารในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
Pauline J. Sheldon, 1997. Tourism Information Technology. New York: CABI
Publishing.p.3
ช่องทางการจัดจาหน่ายในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
Dimitrios Buhalis and Eric Laws, 2001. Tourism Distribution Channels:
Practices, Issues and Transformations. London: Continuum.p34
ความต้องการข้อมูลข่าวสารของแต่ละกลุ่ม
ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
Pauline J. Sheldon, 1997. Tourism Information Technology. New York: CABI
Publishing.p.8
แรงจูงใจในการท่องเที่ยวของคนอังกฤษ
Chris Cooper, John Fletcher, Alan Fyall, David Gilbert and Stephen Wanhill, 2005.
Tourism Principles and Practice. Harlow: Pearson Education Limited.p.59
บทบาทองค์กรปกครองท้องถิ่นในมิติการจัดการท่องเที่ยว
เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
วาระความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในขณะที่มีการพัฒนา1
วาระความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในขณะที่มีการพัฒนา2
ความต้องการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในปัจจุบนั
• ข้ อดี: การท่องเที่ยวทาให้ เกิดรายได้ จานวนมหาศาลเข้ าประเทศ
• ข้ อเสีย: ถ้ าขาดการดูแลให้ ดีพอ ผลของใช้ การท่องเที่ยวมาพัฒนา
เศรษฐกิจก็นาไปสูค่ วามขัดแย้ งในทางสังคมและการเมืองได้ เช่นกัน
• การท่องเที่ยวเชิงสร้ างสรรค์จงึ เป็ นทางออกในการแก้ ไขปั ญหาใน
ปั จจุบนั เพราะแม้ จะเป็ นเหล้ าเก่าในขวดใหม่ แต่ก็ช่วยลดข้ อเสียลงไป
ได้
บทบาทองค์กรปกครองท้องถิ่นในมิติการจัดการท่องเที่ยว
เชิงสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
จากทังหมดต่
้
างสะท้ อนให้ เห็นว่า องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นมีบทบาทที่
สาคัญหลายประการ
• บทบาทการนาการพัฒนา : ท้ องถิ่นรู้จกั จุดแข็ง จุดอ่อนของพื ้นที่
• บทบาทการส่งเสริม : ท้ องถิ่นมีศกั ยภาพในการผลักดันนโยบาย แปลง
นโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นรูปธรรม
• บทบาทการประสาน : ท้ องถิ่นมีศกั ยภาพในการทาหน้ าที่เชื่อมโยง
ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน
เอกสารอ้างอิง
• Stephen F. McCool and R.Neil Moisey, 2001.
Tourism, Recreation, and Sustainability:
Linking Culture and Environment. New York:
CABI Publishing.
• Pauline J. Sheldon, 1997. Tourism Information
Technology. New York: CABI Publishing.
• Stephen L J Smith, 1995. Tourism Analysis: A
Handbook. Palatino: LONGMAN.
เอกสารอ้างอิง
• Dimitrios Buhalis and Eric Laws, 2001. Tourism
Distribution Channels: Practices, Issues and
Transformations. London: Continuum.
• Chris Cooper, John Fletcher, Alan Fyall, David
Gilbert and Stephen Wanhill, 2005. Tourism
Principles and Practice. Harlow: Pearson
Education Limited.
เอกสารอ้างอิง
• http://www.creativetourism.com/c_main/abo
ut