3การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

Download Report

Transcript 3การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

การท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่ าอาพร
มหาวิทยาลัยรังสิต
www.ballchanchai.com
www.trdm.co.th
แนะนาตัว
ประวัตกิ ารศึกษา
• รัฐศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์ )
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• รัฐศาสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
• ศิลปศาสตรบัณฑิต (การท่องเที่ยว)
มหาวิทยาลัยรังสิต
แนะนาตัว
ปั จจุบัน
อาจารย์ ประจาภาควิชารัฐศาสตร์
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยรังสิต
• ประธานกรรมการผู้จัดการ
บริษัท ไทยวิจัยและพัฒนาการจัดการ จากัด
•
การท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ความหมายของการท่องเที่ยว
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกับการพัฒนา
ประเทศ
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาท้ องถิ่น
ความหมายของ
การท่องเที่ยว
ความหมายของการท่ องเที่ยว (1)
การท่ องเที่ยว หมายถึง การเดินทางเพื่อพักผ่อนหย่อนใจหรื อ
เพื่อความสนุกสนานตื่นเต้ นหรื อเพื่อหาความรู้
(http://th.wikipedia.org/)
 ซึง่ องค์กรการท่องเที่ยวของสหประชาชาติ (World
Tourism Organization) กาหนดไว้ วา่ การท่องเที่ยว
หมายถึงการเดินทาง โดยระยะทางมากกว่า 80 กิโลเมตรจาก
บ้ าน เพื่อจุดประสงค์ในการพักผ่อนหย่อนใจ

ความหมายของการท่ องเที่ยว (2)

การท่องเที่ยว (Tourism) หมายถึง การเดินทางไปจากที่อยู่
ประจาไปยังสถานที่ตา่ งถิ่น ซึง่ จะเป็ นทางบก ทางน ้า ทางอากาศ
ก็ได้ โดยมิใช่เป็ นที่พานักอาศัยประจาของบุคคลนัน้ และเป็ นการ
เยือนชัว่ คราว โดยไม่ใช่เพื่อเป็ นการประกอบอาชีพหารายได้
และจะเดินทางไปเป็ นกลุม่ หมูค่ ณะ หรื อเพียงลาพังคนเดียวก็ได้
ความหมายของการท่ องเที่ยว (3)
การเดินทางในลักษณะที่เป็ นการเดินทางท่องเที่ยวตามเงื่อนไข
สากล 3 ประการ
1. เป็ นการเดินทางจากที่อยูอ่ าศัยปกติไปยังที่อื่นเป็ นการ
ชัว่ คราว
2. เป็ นการเดินทางด้ วยความสมัครใจ
3. เป็ นการเดินทางด้ วยวัตถุประสงค์ใดๆ ก็ตาม ที่มิใช่เพื่อ
ประกอบอาชีพหรื อหารายได้
•
ความหมายของการท่ องเที่ยว (4)
•
วัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยว สามารถแบ่งได้ เป็ น 5 ประการ
ดังต่อไปนี ้
1.การท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ เป็ นการท่องเที่ยว
ที่เรี ยกว่า Leisure Tour หรื อ Recreation Tour หรื อ
Holiday Tour มีจดุ มุง่ หมายเพื่อการพักผ่อนในวันหยุด การ
แสวงหาความสนุกสนาน บันเทิง รวมถึงการไปเที่ยวชมสถานที่
ต่างๆ ชมการแสดง การเล่นกีฬา และนันทนาการ
ความหมายของการท่ องเที่ยว (5)
2.การท่องเที่ยวเพื่อทาธุรกิจ เป็ นการท่องเที่ยวที่เรี ยกว่า
Business Tour หรื อ Business Travel หรื อ
Professional Travel ซึง่ เป็ นการเดินทางของนักธุรกิจ โดยมี
กิจกรรมด้ านธุรกิจเป็ นจุดมุง่ หมายหลัก เช่น การเดินทางไปร่วม
ประชุม สัมมนา เจรจาธุรกิจ ในขณะเดียวกันก็อาจมีการพักผ่อน
หย่อนใจเป็ นส่วนประกอบด้ วยก็ได้ ในประเทศอุตสาหกรรม รายได้
จากการท่องเที่ยวประเภทนี ้มีอยูส่ งู มาก เพราะนักท่องเที่ยวประเภท
นี ้เดินทางตลอดทังปี
้ ไม่ขึ ้นอยูก่ บั ฤดูกาล ทังเป็
้ นผู้ที่สามารถเสีย
ค่าใช้ จ่ายได้ สงู
ความหมายของการท่ องเที่ยว (6)
3.การท่องเที่ยวเพื่อเป็ นรางวัลจูงใจ เป็ นการท่องเที่ยวที่
เรี ยกว่า Incentive Tour ซึง่ มักจัดให้ แก่พนักงานและลูกค้ า
ของบริษัท และหน่วยงานต่างๆ หรื อผู้ที่ทาประโยชน์ให้ แก่บริษัทและ
หน่วยงานนันๆ
้ การเดินทางอาจมีวตั ถุประสงค์เพื่อการพักผ่อน
หย่อนใจ หรื อเพื่อธุรกิจรวมอยูด่ ้ วยก็ได้ เช่น จัดให้ ไปชมโรงงานผลิต
สินค้ า หรื อไปประชุมสัมมนา มีการสังสรรค์เพื่อเชื่อมความสามัคคี
เป็ นต้ น
ความหมายของการท่ องเที่ยว (7)
4. การท่องเที่ยวเพื่อการประชุมสัมมนา เป็ นการท่องเที่ยว
ที่เรี ยกว่า Meeting Convention & Exhibition
Tour โดยนักท่องเที่ยวมีจดุ ประสงค์เพื่อไปเข้ าร่วมประชุมสัมมนา
หรื อไปชมการแสดงสินค้ า การจัดนิทรรศการในโอกาสต่าง ๆ
ความหมายของการท่ องเที่ยว (8)
5.การท่องเที่ยวเพื่อความสนใจพิเศษเฉพาะกลุม่ เป็ นการ
ท่องเที่ยวที่เรี ยกว่า Special – Interest Group Tour
คือจัดขึ ้นเป็ นพิเศษสาหรับกลุม่ ที่มีความสนใจในเรื่ องใดโดยเฉพาะ
เช่น การเดินทางไปชมการแข่งขันกีฬา หรื อเล่นกีฬาบางชนิด การ
เที่ยวชมธรรมชาติและดูสตั ว์ป่า การเที่ยวถ ้า การดาน ้าดูปะการัง
และสัตว์น ้า การชมโบราณสถาน
ความหมายของการท่ องเที่ยว (9)
ประเภทของการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแบ่งได้ เป็ น 5 ประเภท
ดังต่อไปนี ้
1.การท่องเที่ยวเชิงเกษตร คือ การเดินทางท่องเที่ยวไปยัง
พื ้นที่เกษตรกรรมสวนเกษตรวนเกษตรฟาร์ มปศุสตั ว์ เพื่อชื่นชม
ความสวยงามความสาเร็จ และเพลิดเพลิน ในแหล่งเกษตรกรรมนัน้
บนพื ้นฐานการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบมีจิตสานึกต่อการ
รักษาสภาพแวดล้ อมของสถานที่แห่งนันเช่
้ น สวนสมุนไพร ฟาร์ มปศุ
สัตว์ และสัตว์เลี ้ยงรวมถึงแหล่งเพาะเลี ้ยงสัตว์น ้าต่างๆ
•
ความหมายของการท่ องเที่ยว (10)
2.การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม คือ การเดินทางท่องเที่ยว
เพื่อชมงานประเพณีตา่ งๆ ในรอบปี ที่ชาวบ้ านในท้ องถิ่นนันๆจั
้ ดขึ ้น
ทาให้ ได้ รับความเพลิดเพลินตื่นตาตื่นใจในสุนทรี ย์ ศิลป์มีความรู้
ความเข้ าใจต่อสภาพสังคมและวัฒนธรรมท้ องถิ่น บนพื ้นฐานการ
ท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบ และมีจิตสานึกต่อการรักษามรดก
ทางวัฒนธรรมและสภาพ แวดล้ อมโดยประชาชนในท้ องถิ่นมีสว่ น
ร่วมการจัดการการท่องเที่ยว รวมทังเป็
้ นการท่องเที่ยวและเยี่ยมชม
สถานที่แสดงถึงความเป็ นวัฒนธรรม เช่น การชมสถานโบราณวัตถุ
โบราณสถาน ปราสาท พระราชวัง วัด ประเพณี รวมถึงวิถีการ
ดาเนินชีวิตของบุคคลในแต่ละยุคสมัย
ความหมายของการท่ องเที่ยว (11)
3.การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ คือ การรูปแบบการท่องเที่ยวที่
ผสมผสานในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ หรื อแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ โดย
มีกิจกรรมเพื่อการรักษาสุขภาพเป็ นกิจกรรมสาคัญของการ
ท่องเที่ยว และเป็ นการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติ และ แหล่ง
วัฒนธรรม เพื่อการพักผ่อน และการเรี ยนรู้ วิชาการรักษาสุขภาพ
กายใจได้ รับความเพลิดเพลินและสุนทรี ยภาพมีความรู้ตอ่ การรักษา
คุณค่า และคุณภาพชีวิตที่ดี มีสานึกต่อการรักษาสิ่งแวดล้ อมและ
วัฒนธรรมท้ องถิ่น
ความหมายของการท่ องเที่ยว (12)
4.การท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ เช่นการเดินทางไปเยี่ยมเยียน
ลูกค้ า หรื อ ดูแลงานและได้ ไปท่องเที่ยวในท้ องถิ่นนันๆประมาณ
้
1-2
วัน
ความหมายของการท่ องเที่ยว (13)
5.การเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใดแห่งหนึ่ง โดยมี
วัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษา ชื่นชม และเพลิดเพลินไปกับทัศนียภาพ
ธรรมชาติ สภาพสังคม วัฒนธรรม และชีวิตของคนในท้ องถิ่น บนพื ้น
ฐานความรู้และความรับผิดชอบต่อระบบนิเวศ
อุตสาหกรรม
การท่ องเที่ยวกับ
การพัฒนาประเทศ
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(1)
องค์ ประกอบของอุตสาหกรรมท่ องเที่ยว
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็ นอุตสาหกรรมบริ การ ซึง่ มีลกั ษณะของกระบวนการ
ผลิตเช่นเดียวกับอุตสาหกรรมทัว่ ไป มี
1. โรงงาน ได้ แก่ อาณาบริ เวณที่นกั ท่องเที่ยวเดินทางมาเยือน เป็ นบริเวณที่
เข้ าถึงได้ ไม่ยาก มีสถานที่พกั และบริ การที่สะดวกพอสมควรสาหรับการพักอยูช่ วั่ คราว
2. วัตถุดิบ ได้ แก่ ทรัพยากรทางการท่องเที่ยวที่ชกั จูงใจให้ นกั ท่องเที่ยวสนใจ
มาชม
3. การลงทุนสร้ างโครงสร้ างพื ้นฐาน เช่น ถนนหนทาง ไฟฟ้า ประปา ฯลฯ มี
การลงทุนสร้ างสิง่ อานวยความสะดวกและบริ การต่างๆ เช่น ที่พกั ร้ านอาหาร สถาน
พักผ่อนหย่อนใจ เป็ นต้ น
•
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(2)
4. การใช้ แรงงานเพื่อสร้ างสาธารณูปโภค การผลิตสินค้ า
และบริการ
5. ผลิตผล ได้ แก่ บริการของธุรกิจที่ประกอบกับเป็ น
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เช่น โรงแรม ภัตตาคาร บริษัทนาเที่ยว เป็ น
ต้ น
6. การส่งเสริมการขาย มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้
ผลิตผลเป็ นที่ร้ ูจกั แพร่หลายมีการรณรงค์ให้ เกิดความต้ องการซื ้อ
ผลิตผลเหล่านี ้ทังจากภายในและภายนอกประเทศ
้
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(3)

จะเห็นได้ วา่ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวได้ เปรี ยบอุตสาหกรรมอื่นๆ
ตรงที่วตั ถุดิบทีใ่ ช้ในการผลิ ตจะไม่สิ้นเปลืองสูญหาย หากมีการ
ควบคุมป้ องกันด้วยการวางแผนพัฒนาอย่างมีระบบ อีกทัง้ ยังไม่
ต้องลงทุนด้านการขนส่งเพือ่ นาผลผลิ ตออกไปขาย แต่ผูซ้ ื ้อจะ
เดิ นทางมาซื ้อถึงที ่ จึงกล่าวได้ว่าการท่องเทีย่ วเป็ นอุตสาหกรรม
ทีล่ งทุนไม่มากแต่ผลตอลแทนสูงและในระยะสัน้
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(4)
จากการเปรี ยบเทียบให้ เห็นถึงกระบวนการผลิตจะเห็นว่า
ผลิตผลของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว คือ บริการซึง่ ลูกค้ าจะเลือก
ซื ้อตามความพึงพอใจ ปั จจัยที่จะสนับสนุนให้ ลกู ค้ าเกิดความ
พอใจและตัดสินใจเลือกซื ้อบริการมีดงั นี ้
1. แหล่งท่องเที่ยว หรื อทรัพยากรการท่องเที่ยว หมายถึง
สถานที่ท่องเที่ยว กิจกรรมและวัฒนธรรมประเพณี ที่สามารถดึงดูด
ความสนใตให้ นกั ท่องเที่ยวเดินทางมาเยือน
•
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(5)
2. การคมนาคม เมื่อผู้ซื ้อเดินทางมาซื ้อบริ การถึงที่ผลิต การ
คมนาคมขนส่ง ทังจากต่
้
างประเทศและภายในประเทศต้ องสะดวก
รวดเร็ ว และปลอดภัย ทัง้ ๓ ทาง คือ ทางบกมีถนนที่พาหนะต่าง ๆ ผ่าน
เข้ าออกได้ สะดวกหรื อมีบริ การรถไฟ ทางน ้ามีทา่ เทียบเรื อและอุปกรณ์
อานวยความสะดวกต่างๆ ทางอากาศมีทางอากาศยานทันสมัย มีสาย
การบินมาลงมาก
3. พิธีการเข้ าเมืองและบริ การข่าวสาร มีการผ่อนคลายระเบียบ
พิธีการเข้ าเมืองให้ สะดวก รวดเร็ วมีบริ การให้ ขา่ วสาร บริ การจองที่พกั
บริ การขนส่งที่พกั เป็ นต้ น
4. ที่พกั มีโรงแรมระดับต่าง ๆ ให้ เลือก มีอตั ราค่าพักเหมาะสม
กับคุณภาพ สะอาด และมีบริ การตามมาตรฐานสากล
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(6)
5. ร้ านอาหาร นอกจากจะมีอาหารให้ เลือกหลายชนิดแล้ ว
จะต้ องถูกสุขลักษณะมีบริ การที่สภุ าพและมีการกาหนดราคาอาหารให้
แน่นอน
6. บริ การนาเที่ยว มีบริ การจัดนาเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยว
ต่างๆ โดยมีมคั คุเทศก์ที่มีความรู้ความเข้ าใจที่ถกู ต้ อง มีอธั ยาศัยไมตรี
และมีความรับผิดชอบต่อหน้ าที่
7. สินค้ าที่ระลึก จะต้ องมีคณ
ุ ภาพ กาหนดราคา รวมทังการ
้
ส่งเสริ มการใช้ วสั ดุพื ้นบ้ าน การออกแบบสินค้ าให้ มีเอกลักษณ์ รวมทัง้
การบรรจุหีบห่อที่สวยงาม
8. การโฆษณาเผยแพร่ เป็ นปั จจัยสาคัญต่อการขยายตัวของ
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เป็ นกรรมวิธีที่จะทาให้ แหล่งท่องเที่ยวของเราเป็ น
ที่ร้ ูจกั และสนใจของนักท่องเที่ยวทังจากต่
้
างประเทศและภายในประเทศ
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(7)
•
การพัฒนาอุตสาหกรรมท่ องเที่ยว จะต้ องดาเนินการควบคู่กัน
2 ประการ คือ การพัฒนาแหล่ งท่ องเที่ยวและบริการกับการ
ดาเนินงานการตลาด ซึง่ หากจะเปรี ยบเทียบกับอุตสาหกรรมผลิต
อื่นๆ ให้ เห็นได้ ชดั คือ การพัฒนาตัวสินค้ าให้ มีคณ
ุ ภาพสมราคา ซึง่
จะต้ องทาพร้ อมๆ กันการโฆษณาสินค้ าให้ เป็ นที่ร้ ูใจผู้ซื ้อนันเอง
้ การ
พัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวได้ ก่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจมากที่สดุ
จึงต้ องมีการวางแผนกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทางและ
มาตราการดาเนินการที่จะทาให้ การขยายตัวของอุตสาหกรรม
ท่องเที่ยวเป็ นไปในทิศทางที่ถกู ต้ อง ทังในด้
้ านการใช้ ประโยชน์จาก
ทรัพยากรการส่งเสริ มการตลาดที่มีระบบและการประกอบธุรกิจที่มี
ระเบียบมีความเป็ นธรรม
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(8)
บทบาทของการท่ องเที่ยวต่ อเศรษฐกิจของประเทศ
1. การท่องเที่ยวก่อให้ เกิดรายได้ เป็ นเงินตราต่างประเทศเข้ า
ประเทศเป็ นจานวนมาก
2. รายได้ จากการท่องเที่ยวจะมีผลทวีผลในการสร้ างรายได้
หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ ้นจะทาให้ ผลผลิตส่วนรวมของประเทศ
มีคา่ ทวีกว่า ๒ เท่าตัว
3. การท่องเที่ยวก่อให้ เกิดการหมุนเวียนและการกระจายรายได้
ไปสูภ่ มู ิภาคอื่นๆ มีการสร้ างงานสร้ างอาชีพ และยังเป็ นการกระจาย
รายได้ อย่างแท้ จริ ง
•
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(9)
4. ในรูปของการผลิตสินค้ าพื ้นเมืองและสินค้ าของที่ระลึก
ตลอดจนการให้ บริการในท้ องถิ่นนันๆ
้
5. การท่องเที่ยวเป็ นอุตสาหกรรมที่ไม่สิ ้นเปลืองวัตถุดิบ
ผลผลิตขายได้ ทกุ เวลาสุดแล้ วแต่ความเหมาะสม และความสามารถ
ของผู้ขาย
6.การท่องเที่ยวช่วยกระตุ้นให้ เกิดการผลิตเป็ นวงจร
หมุนเวียนภายในประเทศ ทาให้ เกิดการสร้ างงานสร้ างอาชีพของ
ประชาชนทังทางตรงและทางอ้
้
อม เป็ นการลดการว่างงาน ส่งผลให้
รัฐบาลได้ รับรายได้ ในรูปของภาษีอากรประเภทต่างๆ
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(10)
•
ประโยชน์ ท่ ที ้ องถิ่นจะได้ รับจากการท่ องเที่ยว
แบ่ งออกเป็ น 3 มิตใิ หญ่ ๆ ได้ แก่
1. การสร้ างงานสร้ างอาชีพ โดยจะแยกลักษณะงานออกเป็ น 2
ลักษณะ
1.1งานที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวโดยตรง ได้ แก่ ธุรกิจโรงแรม
บริ ษัทนาเที่ยว สายการบิน มัคคุเทศน์ ภัตตาคาร ร้ านอาหาร สถานเริ งรมย์
การประกอบการขนส่งผู้โดยสาร นอกจากนันยั
้ งมีงานที่เห็นได้ ชดั มาก คือการ
ผลิตสินค้ าของที่ระลึกหรื อสินค้ าพื ้นเมือง เช่น การทอผ้ า เครื่ องจักสาน
เครื่ องปั น้ ดินเผา เป็ นต้ น
1.2งานที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวทางอ้ อม ได้ แก่ งานด้ านการ
ก่อสร้ าง เช่น อาคารที่พกั ร้ านอาหาร ร้ านค้ า งานด้ านกสิกรรม เช่น ปลูกผัก
เลี ้ยงไก่ขายให้ โรงแรม เป็ นต้ น
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(11)
2. การกระจายรายได้
เมื่อนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยว
ต่างๆ ก็ต้องใช้ จ่ายเงิน ค่าใช้ จ่ายของนักท่องเที่ยวแบ่งเป็ นประเภท
ใหญ่ ๆ ได้ แก่ ค่าที่พกั ค่าอาหารและเครื่ องดื่ม ค่าพาหนะในประเทศ
ค่าใช้ จ่ายบันเทิง ซื ้อของ และอื่นๆ ซึง่ ทาให้ เกิดการหมุนเวียนให้
ท้ องถิ่น ซึง่ เป็ นการกระจายรายได้ สทู่ ้ องถิ่นอันจะเป็ นผลต่อเนื่องไป
ถึงความอยูด่ ีกินดี และยกมาตรฐานการครองชีพให้ สงู ขึ ้นได้
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(12)
3. การพัฒนาสาธารณูปโภค
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวยังมีบทบาทต่อการลงทุนพัฒนาด้ าน
สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ซึง่ จะสร้ างความสะดวกสบายแก่
นักท่องเที่ยวและประชาชนในท้ องถิ่น
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(13)
ธุรกิจที่เกี่ยวข้ องกับการท่ องเที่ยว
1. ธุรกิจที่พกั โรงแรม
ธุรกิจที่พกั โรงแรม (Accommodation
Business) เป็ นส่วนประกอบที่สาคัญส่วนหนึง่ ของธุรกิจ
ท่องเที่ยว ธุรกิจที่พกั แรมหรื อธุรกิจโรงแรม
(Accommodation or Hotel Business) หมายถึง
ธุรกิจที่ให้ บริการด้ านที่พกั อาศัยแก่นกั ท่องเที่ยว รวมทังบริ
้ การ
อาหารและเครื่ องดื่มตามความต้ องการของนักท่องเที่ยว โดยคิด
ค่าตอบแทนเพื่อผลกาไรของธุรกิจนันๆ
้ ปั จจุบนั นิยมใช้ คาว่า ธุรกิจ
โรงแรมมากกว่า “ธุรกิจที่พกั แรม
•
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(14)
2.ธุรกิจการขนส่ง
ธุรกิจการขนส่ง (Transportation Business) เป็ น
ธุรกิจที่สาคัญในการเคลื่อนย้ ายนักท่องเที่ยวจากจุดเริ่ มต้ นจนถึง
ปลายทาง การขนส่งจึงเป็ นปั จจัยที่สาคัญสาหรับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
จากผลของการพัฒนาการคมนาคมขนส่ง ทาให้ นกั ท่องเที่ยวสามารถมี
เวลามากขึ ้นในการท่องเที่ยวและพักผ่อน รวมทังหาความสนุ
้
ก
เพลิดเพลิน ณ จุดหมายปลายทาง โดยเสียเวลาเดินทางสันลง
้
นอกจากนี ้ยังมีสว่ นส่งเสริ มให้ เกิดการเดินทางท่องเที่ยวมากขึ ้น มีจานวน
นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ ้น โดยเฉพาะกลุม่ นักท่องเที่ยวระดับกลางและ
ระดับล่าง เนื่องจากมีการขนส่งเพื่อมวลชน เช่น รถไฟ รถเมล์ รถบัส เป็ น
ต้ น
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(15)
3. ธุรกิจจาหน่ายสินค้ าของที่ระลึก (Souvenir Business)
จากประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยวของมนุษย์ตงแต่
ั ้ สมัยหลายพันปี
มาแล้ วจนถึงปั จจุบนั จะพบว่ามนุษย์มีการเดินทางท่องเที่ยวเพื่อวัตถุประสงค์
ต่างๆ เช่น เดินทางท่องเที่ยวเพื่อการค้ า เพื่อการเจริ ญสัมพันธไมตรี ทางการเมือง
เพื่อศาสนา เป็ นต้ น และกิจกรรมที่เกิดขึ ้นในระหว่างการเดินทางท่องเที่ยวมี
หลายกิจกรรมได้ แก่ การศึกษาหาความรู้ การพักผ่อน การหาอาหารและ
เครื่ องดื่มเพื่อประทังชีวิตรวมไปถึงการหาซื ้อสินค้ าที่มีจาหน่ายในถิ่นที่ไปเยือน
และกิจกรรมอื่นๆ อีกมากมาย ซึง่ เป็ นทังกิ
้ จกรรมที่ทาให้ เกิดการท่องเที่ยว หรื อ
เป็ นกิจกรรมที่เกิดจากการท่องเที่ยว
ความหมายของสินค้ าที่ระลึก (Souvenir) หมายถึง สิ่งของต่างๆ ที่
เป็ นเอกลักษณ์ของเมืองของประเทศต่างๆ และมีความดึงดูดใจนักท่องเที่ยวใน
การซื ้อ และนาผลิตผลนันๆ
้ กลับไปยังภูมิลาเนาของตนเพื่อวัตถุประสงค์ตา่ งๆ
อาจจะเพื่อเป็ นของที่ระลึก เพื่อเป็ นของฝากหรื อเพื่อใช้ สอย
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(16)
4. ธุรกิจอาหารและเครื่ องดื่ม (Food & Beverage
Business)
ธุรกิจด้ านอาหารและเครื่ องดื่ม เป็ นตัวการสาคัญไม่น้อยใน
การชักจูงให้ นกั ท่องเที่ยวไปเที่ยว ณ ตาบลนันๆ
้ สิ่งชักจูงใจอาจจะ
เป็ นความหรูหราโอ่โถง รสชาติของอาหาร ความแปลกพิเศษของ
อาหารซึง่ มักจะไม่มีขาย ณ ที่อื่นๆ บริษัทการบินหลายบริษัทจะชัก
จูงผู้โดยสารให้ ใช้ บริการของตน โดยการโฆษณาเรื่ องอาหาร
โดยเฉพาะ
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(17)
5. ธุรกิจนาเที่ยว (Tourism Business)
“ธุรกิจนาเที่ยว” ตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจ
นาเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2535 นันมุ
้ ง่ หมายถึง “การนาเที่ยว”
เป็ นสาคัญ โดยต้ องมีการติดต่อโดยตรงกับนักท่องเที่ยว ณ ที่ตา่ งๆ
ส่วนจะมีการจัดบริการด้ านการเดินทางสถานที่พกั แรม อาหาร หรื อ
มัคคุเทศก์หรื อไม่ หรื อมีมากน้ อยเพียงใด เป็ นเพียงส่วนหนึง่ ของ
“การนาเที่ยว” เท่านัน้
อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ
(18)
6. ธุรกิจท่องเที่ยวประเภทอื่นๆ (Others Tourism
Business)
นอกจากธุรกิจที่พกั แรม ธุรกิจการขนส่ง ธุรกิจอาหารและ
เครื่ องดื่มฯลฯ ในองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่เป็ นปั จจัย
สาคัญทาให้ การท่องเที่ยวเพิ่มปริ มาณมากขึ ้นแล้ วยังมีธุรกิจประเภทอื่นๆ
อีกหลากหลายประเภทซึง่ เป็ นธุรกิจที่เป็ นผลมาจากการพัฒนาทาง
นวัตกรรม (Innovation) และเทคโนโลยีใหม่ๆ ของมนุษย์ ทาให้
รูปแบบการท่องเที่ยวเปลี่ยนไป และปั จจุบนั ธุรกิจดังกล่าวเป็ นธุรกิจที่
นักท่องเที่ยวนิยมใช้ บริ การและมีสว่ นส่งเสริ มดึงนักท่องเที่ยวให้ เดินทาง
ท่องเที่ยวเพิ่มขึ ้น สามารถจัดแบ่งได้ เป็ น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ ธุรกิจ
จัดการประชุมสัมมนา ธุรกิจการจัดแสดงนิทรรศการและสินค้ า ธุรกิจเช่า
ซื ้อลิขสิทธิ์ และธุรกิจการบันเทิงและนันทนาการ
อันดับประเทศที่มีนกั ท่องเที่ยวเดินทางเข้ ามามาก
ข้ อมูลจากองค์การการท่องเที่ยวโลก
อันดับ
ประเทศ
จานวน (ล้ านคน)
ปี 2550
จานวน (ล้ านคน)
ปี 2549
จานวน (ล้ านคน)
ปี 2548
1
ฝรั่ งเศส
81.9
78.9
75.9
2
สเปน
59.2
58.2
55.9
3
สหรั ฐอเมริกา
56.0
51.0
49.2
4
จีน
54.7
49.9
46.8
5
อิตาลี
43.7
41.1
36.5
6
สหราชอาณาจักร
30.7
30.7
28.0
7
เยอรมนี
24.4
23.5
21.3
8
ยูเครน
23.1
18.9
17.6
9
ตุรกี
22.2
18.9
20.3
10
เม็กซิโก
21.4
21.4
21.9
อันดับประเทศที่มีนกั ท่องเที่ยวเดินทางเข้ ามามาก (ต่อ)
อันดับ
ประเทศ
จานวน (ล้ านคน)
ปี 2550
จานวน (ล้ านคน)
ปี 2549
จานวน (ล้ านคน)
ปี 2548
11
มาเลเซีย
21.0
17.5
16.4
12
ออสเตรี ย
20.8
20.3
20.0
13
รั สเซีย
ไม่ มีข้อมูล
20.2
19.9
14
แคนาดา
17.9
18.3
18.8
15
ฮ่ องกง
17.2
15.8
14.8
16
กรี ซ
ไม่ มีข้อมูล
16.0
14.8
17
โปแลนด์
15.0
15.7
15.2
18
ไทย
14.5
13.9
11.6
19
มาเก๊ า
12.9
10.7
9.0
20
โปรตุเกส
12.3
11.3
10.6
-
อันดับประเทศที่มีนกั ท่องเที่ยวเดินทางเข้ ามามาก (ต่อ)
อันดับ
ประเทศ
จานวน (ล้ านคน)
ปี 2550
จานวน (ล้ านคน)
ปี 2549
จานวน (ล้ านคน)
ปี 2548
21
ซาอุดีอาระเบีย
11.5
8.6
8.0
22
เนเธอร์ แลนด์
11.0
10.7
10.0
23
อียปิ ต์
10.6
8.6
8.2
24
โครเอเชีย
9.3
8.7
8.5
25
แอฟริกาใต้
9.1
8.4
7.4
26
ฮังการี
8.6
9.3
10.0
27
สวิตเซอร์ แลนด์
8.4
7.9
7.2
28
ญี่ปุ่น
8.3
7.3
6.7
29
ไอร์ แลนด์
7.2
8.0
7.3
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

การท่ องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมคืออะไร
การท่องเที่ยวนับเป็ นอุตสาหกรรมหนึ่งที่ได้นาเอาวัฒนธรรมมาเป็ น
จุดขายเพื่อดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ โดยเฉพาะ
นักท่องเที่ยวชาวอเมริ กนั และยุโรป ที่ต่างสนใจที่จะเรี ยนรู ้วฒั นธรรม
มรดกทางประวัติศาสตร์ เยีย่ มชมงานสถาปัตยกรรม และสัมผัสวิถีชีวิต
ความเป็ นอยูข่ องคนในประเทศนั้น โดยเฉพาะประเทศในแถบเอเชียและ
แอฟริ กา รวมถึงซื้อของที่ระลึกที่เป็ นงานหัตถกรรมละงานฝี มือที่เกิดจาก
ภูมิปัญญาของคนในประเทศนั้น การท่องเที่ยวในลักษณะดังกล่าวเรา
เรี ยกว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่ องเทีย่ วแบบไหนถึงจัดเป็ นการท่ องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม (1)

หลายคนอาจจะสงสัยว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมควรจะ
ครอบคลุมถึงเรื่ องอะไรบ้าง บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา ( 2548) ได้อธิบาย
ว่าการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมประกอบด้วย
 1. ประวัติศาสตร์ และร่ องรอยทางประวัติศาสตร์
 2. โบราณคดีและพิพิธภัณฑ์
 3. งานสถาปั ตยกรรมเก่าแก่ด้ งั เดิม
 4. ศิลปะ หัตถกรรม ประติมากรรม ภาพวาด รู ปปั้ นและแกะสลัก
 5. ศาสนารวมถึงพิธีกรรมต่างๆทางศาสนา


การท่ องเทีย่ วแบบไหนถึงจัดเป็ นการท่ องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม (2)
6. ดนตรี การแสดงละคร ภาพยนตร์
 7. ภาษาและวรรณกรรม
 8. วิถีชีวิต เสื้ อผ้าเครื่ องแต่งกาย อาหาร
 9. ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน เทศกาลต่างๆ
 10. ลักษณะงานและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่นามาใช้เฉพาะ
ท้องถิ่น

นานาประเทศกับการท่ องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม (1)

ประเทศต่างๆ ได้เล็งเห็นความสาคัญของการท่องเที่ยวเชิง
วัฒนธรรมในการสร้างรายได้ให้กบั ประเทศของตนอย่างมหาศาล จึงนา
วัฒนธรรมมาเป็ นส่ วนหนึ่งในกลยุทธ์ของประเทศ เช่น

◦ ประเทศเกาหลีได้มีการจัดตั้งหน่วยงานอิสระที่สนับสนุนภาคเอกชนในการ
ส่ งออกสิ นค้าวัฒนธรรมซึ่ งเราจะเห็นโฆษณาการท่องเที่ยวของเกาหลีที่เน้นการ
สัมผัสวัฒนธรรมและเทคโนโลยี รวมถึงการโฆษณาแฝงในภาพยนตร์ ซีรี่ต่างๆ
ของเกาหลี
◦ ในขณะที่ประเทศสิ งค์โปรก็พยายามใช้ความหลากหลายของเชื้อชาติ เป็ นจุด
ขายในการท่องเที่ยวเช่นกัน ภายใต้แนวคิดที่วา่ Uniquely Singapore
โดยมีการฟื้ นฟูแหล่งวัฒนธรรมดังเดิมของคนสิ งค์โปรเชื้อชาติจีน อินเดียและ
มลายูในประเทศให้เป็ นสถานที่ท่องเที่ยว
นานาประเทศกับการท่ องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม (2)
 สาหรับประเทศมาเลเซี ย การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจะเน้นความเป็ น
มุสลิมสาหรับนักท่องเที่ยวที่อยากสัมผัสมิติต่างๆของมุสลิม
 ยังมีประเทศอื่นๆ อีกมากมายที่มีการจัดการการท่องเที่ยววัฒนธรรม
อย่างเป็ นระบบ เช่น จีน ประเทศในยุโรปและออสเตรเลีย ในขณะที่
บางประเทศมีศกั ยภาพในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แต่ยงั มี
ปัญหาในด้านการเมืองภายในประเทศ หรื อยังไม่มีนโยบายที่ส่งเสริ ม
ด้านการท่องเที่ยว เช่น พม่า เวียดนาม ประเทศในแอฟริ กาและ
ตะวันออกกลาง เป็ นต้น

การจัดการการท่ องเที่ยวสร้ างสรรค์ เชิงวัฒนธรรม (1)
 ความเข้ มแข็งของวัฒนธรรมและการจัดการวัฒนธรรม เป็ นสิง่ บ่งชี ้ที่
สาคัญถึงความยัง่ ยืนของการพัฒนา เมื่อกระแสการพัฒนาประเทศด้ วย
นโยบายเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (Creative Economy) ได้ ถกู
นามากาหนดเป็ นวิสยั ทัศน์ของการพัฒนาประเทศ จึงถือเป็ นจังหวะดีที่
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้ างสรรค์ในท้ องถิ่นจะนาต้ นทุนวัฒนธรรมที่
มี มาเผยแพร่ให้ กว้ างขวางออกไปในรูปแบบของการท่องเที่ยว
วัฒนธรรมเชิงสร้ างสรรค์ (Creative Cultural
Tourism) การจัดการการท่องเที่ยวในรูปแบบนี ้ ต้องอาศัยความ
ร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทังในส่
้ วนขององค์ความรู้ตามหลักฐานที่
ปรากฏ การสืบทอดให้ คงอยูแ่ ละการดาเนินต่อไป โดยชุมชนจะเป็ นผู้
แสดงให้ เห็นว่าชุมชนสามารถอนุรักษ์ และสืบสานวัฒนธรรมต่อไปได้


การจัดการการท่ องเที่ยวสร้ างสรรค์ เชิงวัฒนธรรม (2)

การสร้ างสรรค์การท่องเที่ยวโดยวางอยูบ่ นพื ้นฐานของคุณค่าทาง
วัฒนธรรมของท้ องถิ่นหรื อทุนทางวัฒนธรรมสามารถทาได้ โดยหยิบยก
เรื่ องราวจากประวัตศิ าสตร์ ศิลปะท้ องถิ่น ดนตรี พื ้นบ้ าน วิถีความเป็ น
ชุมชน วรรณกรรม สถาปั ตยกรรม หัตถกรรม ความงดงามของฝี มือช่าง
และอื่นๆ มาจัดการให้ เกิดความน่าสนใจสอดคล้ องตามคุณค่าของ
ชุมชนหรื อเมือง ซึง่ เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ นกั ท่องเที่ยวได้ รับ
ประสบการณ์ตรงผ่านการเรี ยนรู้ผา่ นทางการท่องเที่ยว อาทิ
การจัดการการท่ องเที่ยวสร้ างสรรค์ เชิงวัฒนธรรม (3)
ตัวอย่ าง
 การได้ ใช้ ชีวิตร่ วมกับชาวบ้ านอย่างแท้ จริ ง ไม่ใช่เป็ นการแสดงหรื อเป็ น
สร้ างขึ ้นมา เช่น นักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยวและมาสัมผัสกับวิถีชีวิตของ
การเป็ นชาวนา ได้ มีโอกาสที่ร่วมทานากับชาวบ้ านที่ยงั คงรักษาชีวิต
ความเป็ นอยูท่ ี่เรี ยบง่าย
 การที่นกั ท่องเที่ยวได้ มีโอกาสมาพักโฮมเสตย์ ในชุมชน พร้ อมกับได้
เรี ยนรู้วิธีการประกอบอาหารท้ องถิ่น เรี ยนรู้วิธีการทาขนมไทย เป็ นต้ น


แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่ งท่ องเที่ยวทางวัฒนธรรม (1)
ชยาภรณ์ ชื่นรุ่งโรจน์ (๒๕๓๗ : ๒๑-๒๗) ได้ กล่าวถึงการพัฒนาการ
ท่องเที่ยวไว้ วา่ การพัฒนาจะสาเร็จได้ จะต้ องพัฒนาองค์ประกอบของ
แหล่งท่องเที่ยว ๓ ประการ คือ
 ๑. สิง่ ดึงดูดใจจากการท่องเที่ยว ( Attractions ) ซึง่ อาจจะเป็ นสิง่
ที่มนุษย์สร้ างขึ ้นหรื อสิง่ ที่มีอยูแ่ ล้ วตามธรรมชาติ อาจจะเป็ นสิง่ ดึงดูดใจ
เกี่ยวกับสถานที่ (Site ) หรื อสิ่งดึงดูดใจจากเหตุการณ์ (Events )

แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่ งท่ องเที่ยวทางวัฒนธรรม (2)
 ๒. ความสาราญจากแหล่งท่องเที่ยว ( Amenities ) แยกออกเป็ น
๒ ประเภท คือ
 ๒.๑ ปั จจัยพื ้นฐาน อันได้ แก่ การคมนาคม ยานพาหนะ ลานจอดรถ น ้า
ไฟฟ้า ระบบกาจัดน ้าเสีย ระบบกาจัดขยะ ระบบการสื่อสาร (โทรศัพท์
ไปรษณีย์ ฯลฯ )
 ๒.๒ สิง่ อานวยความสะดวกสบาย ได้ แก่ ที่พกั แรม ร้ านอาหาร
ภัตตาคาร ร้ านขายของที่ระลึก สถานเริงรมย์ บริการรถเช่า บริการนา
เที่ยว เป็ นต้ น

แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่ งท่ องเที่ยวทางวัฒนธรรม (3)
 ๓. ความสามารถในการเข้ าถึง ( Accessibility ) คือ วิธีการ
เดินทางเข้ าสูแ่ หล่งท่องเที่ยว มีความหมายครอบคลุมเรื่ องของ
ยานพาหนะ ระยะทาง ระยะเวลา ค่าใช้ จ่ายในการเดินทาง ซึง่
ความสามารถในการเข้ าถึงนี ้ มีองค์ประกอบที่ต้องคานึงถึง ๒ ประการ
คือ
 ๓.๑ องค์ประกอบเชิงปริ มาณ หมายถึง ความเพียงพอต่อความต้ องการ
ของนักท่องเที่ยว เช่น ความจุ และความถี่ ของยานพาหนะ
 ๓.๒ องค์ประกอบเชิงคุณภาพ หมายถึง ความสะดวกสบายในการ
เดินทาง ความประหยัด และความปลอดภัย

การท่ องเที่ยว
เพื่อ
การพัฒนาท้ องถิ่น
การท่ องเที่ยวเพื่อการพัฒนาท้ องถิ่น (1)
การพัฒนาท้ องถิ่นให้ ก้าวไกลไปสูร่ ะดับสากลนัน้ เมื่อพิจารณาจาก
ทังหมดจะพบว่
้
า
• ปั จจัยที่สง่ ผลกระตุ้นให้ ท้องถิ่นก้ าวข้ ามไปสูส่ ากล ได้ แก่
1.ความพร้ อมของท้ องถิ่นในด้ านพื ้นฐานการพัฒนา ได้ แก่ ระบบ
สาธารณูปการต่างๆ ทรัพยากรทางธรรมชาติและวัตถุดิบ อื่นๆ สภาพพื ้นที่
2.ความพร้ อมทางด้ านบุคลากร ได้ แก่ ศักยภาพของประชาชนใน
พื ้นที่ และความต้ องการของประชาชนในพื ้นที่ เช่น ภาษา และทักษะ
พื ้นฐาน
•
การท่ องเที่ยวเพื่อการพัฒนาท้ องถิ่น (2)
3.การผลักดันของภาครัฐ ผ่านระบบการปกครองส่วนท้ องถิ่น
4.การผลักดันของภาคเอกชน หรื อความมุง่ มัน่ ปราถนาของ
ภาคเอกชน
5.การยอมรับของภาคประชาชนในท้ องถิ่น
ขอบคุณ