1100 – Independence and Objectivity
Download
Report
Transcript 1100 – Independence and Objectivity
เหตุบนทอนความเที
ั่
ย่ งธรรม
1100 –
Independence and Objectivity
The internal audit activity must be independent,
and internal auditors must be objective in
performing their work.
2
1100 –
Independence and Objectivity
(cont.)
• Independence is the freedom from conditions
that threaten the ability of the internal audit
activity to carry out internal audit responsibilities
in an unbiased manner.
• The chief audit executive has direct and
unrestricted access to senior management and
the board. This can be achieved through a dualreporting relationship.
3
1100 –
Independence and Objectivity
(cont.)
• Objectivity is an unbiased mental attitude that
allows internal auditors to perform engagements
in such a manner that they believe in their work
product and that no quality compromises are
made.
• Objectivity requires that internal auditors do not
subordinate their judgment on audit matters to
others
4
1120 – Individual Objectivity
Internal auditors must have an impartial,
unbiased attitude and avoid any conflict of
interest.
• Conflict of interest is a situation in which an
internal auditor, who is in a position of trust,
has a competing professional or personal
interest.
5
1130 –Impairment to Independence or
Objectivity
If independence or objectivity is impaired in fact
or appearance, the details of the impairment
must be disclosed to appropriate parties.
The nature of the disclosure will depend upon
the impairment.
6
1130 –Impairment to Independence or
Objectivity (cont.)
•
•
•
•
Impairment to organizational independence and
individual objectivity
personal conflict of interest
scope limitations
restrictions on access to records, personnel,
and properties
resource limitations (such as funding)
7
Factors Threatening Objectivity
•
•
•
•
•
•
•
•
Social Pressure
Economic Interest
Personal Relationship
Familiarity
Cultural, Racial, and Gender Biases
Cognitive Biases
Self-review
Intimidation Review
การยอมรับความเสีย่ งของผูบ้ ริหาร
2600 – Communicating the Acceptance of
Risks
When the chief audit executive concludes that
management has accepted a level of risk that
may be unacceptable to the organization, the
chief audit executive must discuss the matter with
senior management. If the chief audit executive
determines that the matter has not been resolved,
the chief audit executive must communicate the
matter to the board.
10
บทบาทของผูต้ รวจสอบภายใน
ต่อเรื่ องทุจริ ตในองค์กร
มาตรฐานสากลการปฏิบตั ิงานวิชาชีพ
มาตรฐานด้ านคุณสมบัติ(Attribute Standards)
1210 – ความเชี่ยวชาญเยี่ยงวิชาชีพ (Proficiency)
ผู้ตรวจสอบภายในต้ องมีความรู้ ทักษะและความสามารถอื่นๆ ที่จาเป็ นต่อ
การปฏิบตั ิหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมายกิจกรรมตรวจสอบภายในต้ องดาเนินการ
โดยผู้มีความรู้ ทักษะและความสามารถอื่น ๆ ที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่
ที่รับผิดชอบ
1210.A2 – ผู้ตรวจสอบภายในต้ องมีความรู้เพียงพอที่จะสามารถประเมิน
ความเสี่ยงของการเกิดทุจริ ตและแนวทางการในการบริ หารจัดการทุจริ ต แต่
ไม่จาเป็ นต้ องมีความเชี่ยวชาญเท่ากับผู้มีหน้ าที่โดยตรงในการสืบสวนและ
สอบสวนการทุจริ ต
Certified Fraud Examiner : CFE
ความหมายของการทุจริ ต
• ประมวลกฎหมายอาญา
“โดยทุ จ ริ ต ” เพื่ อ แสวงหาประโยชน์ ที่ มิ ค วรได้ โ ดยชอบด้ ว ยกฎหมาย
สาหรับตนเองหรื อผู้อื่น
• พระราชบั ญ ญั ติ ป ระกอบรั ฐ ธรรมนู ญ ว่ าด้ วยการป้ องกั น และ
ปราบปรามการทุจริตฯ
“ทุจริ ตต่ อหน้ าที่” ปฏิบตั ิหรื อละเว้ นการปฏิบตั ิอย่างใดในตาแหน่งหรื อ
หน้ าที่หรื อปฏิบตั ิ หรื อละเว้ นการปฏิบตั ิอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทาให้
ผู้อื่นเชื่อว่ามีตาแหน่งหรื อหน้ าที่ทงที
ั ้ ่ตนมิได้ มี ตาแหน่งหรื อหน้ าที่ หรื อใช้
อานาจในตาแหน่งหรื อหน้ าที่ ทัง้ นี ้ เพื่อแสวงหาประโยชน์ ที่ มิควรได้ โดย
ชอบสาหรับตนเองหรื อผู้อื่น
ความหมายของการทุจริ ต (ต่อ)
• มาตรฐานสากลการปฏิบัตงิ านวิชาชีพการตรวจสอบภายใน
“การทุจริ ต” (Fraud) การกระทาผิดกฎหมายของบุคคลหรื อองค์กรใน
ลักษณะของการฉ้ อฉล หลอกลวง ปกปิ ด หรื อใช้ อานาจหน้ าที่ โดยมิ
ชอบ และเป็ นการกระทาที่เกิดขึ ้นโดยปราศจากการข่มขู่บงั คับจากผู้อื่น
เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ทรัพย์สิน เงินทอง หรื อบริ การ เพื่อเลี่ยงการจ่ายเงิน หรื อ
ให้ บริการ หรื อเพื่อรักษาความได้ เปรี ยบส่วนตน หรื อความได้ เปรี ยบทาง
ธุรกิจ
ประเภทของการทุจริ ต
• การจ่ ายสินบน
– จ่ ายเงินใต้ โต๊ ะ
– ผลประโยชน์ ขัดแย้ ง
– ส่ วย/ค่ าผ่ านทาง
– รายการฉ้ อฉล
• การยักยอกสินทรัพย์
– สินค้ า/ทรั พย์ สิน
– เงินสด
• การตบแต่ งบัญชีหรืองบการเงิน
– บันทึกบัญชีต่างงวด
– บิดเบือนการเปิ ดเผยข้ อมูล
– ปกปิ ดหนีส้ ิน
– ตบแต่ งตัวเลขสินทรั พย์
– ตบแต่ งรายรั บ
องค์ประกอบของการทุจริ ต หรื อสามเหลี่ยมทุจริ ต
(The Fraud Triangle)