new*เอกสารการบรรยาย

Download Report

Transcript new*เอกสารการบรรยาย

กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริต
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ าด้ วย
การป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒
แก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. ๒๕๕๔
รูปแบบการจัดองค์กรภาครัฐในปั จจุบนั
หน่ วยงานภาครั ฐ
องค์ กรอิสระ/นิตบิ ัญญัต/ิ
ตุลาการ
กระทรวง
ทบวง
สป.
ทบวง
กรม
จังหวัด / อาเภอ
กลุ่มภารกิจ
กรม
อปท.
หน่ วยงานที่ใช้ อานาจ
รัฐหรือเป็ นเครื่องมือ
ของรัฐ แต่ ไม่ เป็ น
องค์ กรของรัฐ
สภา
วิชาชีพ
องค์ การ
มหาชน
กรม
รั ฐวิสาหกิจ
กองทุน
ที่เป็ น
นิตบิ ุคคล
สถาบัน
ภายใต้
มูลนิธิ
SDU
SPV
๒
สรรหา
ระบบเลือกตั้ง
คาสั่ ง
บรรจุแต่ งตั้ง
สั ญญาจ้ าง
๓
เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ.
- เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ .....
ผู้ดารงตาแหน่ งทางการเมือง ข้ าราชการหรือพนักงานส่ วนท้ องถิ่นซึ่งมี
ตาแหน่ ง หรือเงินเดือนประจา พนักงานหรือบุคคลผู้ปฏิบตั งิ านในรัฐวิสาหกิจ
หรือหน่ วยงานของรัฐ ผู้บริหารท้ องถิน่ และสมาชิกสภาท้ องถิน่ ซึ่งมิใช่ ผู้ดารง
ตาแหน่ งทางการเมือง เจ้ าพนักงานตามกฎหมายว่ าด้ วยลักษณะปกครอง
ท้ องที่ และให้ หมายความรวมถึงกรรมการ อนุกรรมการ ลูกจ้ างของส่ วน
ราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่ วยงานของรัฐ และบุคคลหรือคณะบุคคลซึง่ ใช้
อานาจหรือได้ รับมอบให้ ใช้ อานาจทางการปกครองของรัฐ ในการดาเนินการ
อย่ างใดอย่ างหนึ่งตามกฎหมาย ไม่ ว่าจะเป็ นการจัดตั้งขึน้ ในระบบราชการ
รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอืน่ ของรัฐ
องค์ กรทีม่ อี านาจ ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ว่ าด้ วย
การป้องกันและปราบปรามการทุจริต.
• - คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่ งชาติ
(คณะกรรมการ ป.ป.ช.)
• - องค์ กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ( มาตรา ๒๔๖)
คณะกรรมการ ป.ป.ช.
• - องค์ กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ( มาตรา ๒๔๖)
• - องค์ ประกอบ
- ประธานกรรมการ ๑ คน
- กรรมการ
๘ คน
- คุณสมบัติ
- ต้ องเป็ นผู้ซึ่งมีความซื่อสั ตย์ สุจริตเป็ นที่ประจักษ์
- มีสัญชาติไทยโดยการเกิด และอายุไม่ ต่ากว่ า ๔๕ ปี บริบูรณ์
- เคยเป็ นหรือเคยรับราชการหรือดารงตาแหน่ ง ตามที่กฎหมายกาหนดไว้
-วาระการดารงตาแหน่ ง
- วาระเดียว ๙ ปี
คณะกรรมการ ป.ป.ช.
บทบาท
อานาจ/หน้าที่
ปัญหา
• role
• องค์ กรตรวจสอบ
• กฎหมาย
• ระเบียบฯ
• ระบบกฎหมาย
• เชิงสังคม
การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
ส่ วนที่ ๑
นิยามทีค่ วรทราบ
คอร์ รัปชัน
ความหมาย
มีร์ดาล - การกระทาทุกอย่ างทีเ่ ป็ นไปโดยมิชอบ หรือเป็ นการกระทา เพือ่
ประโยชน์ ส่วนตัวโดยใช้ อานาจและอิทธิพลทีม่ อี ยู่ในตาแหน่ งหน้ าที่ หรือ
อาศัยฐานะตาแหน่ งพิเศษทีต่ นมีอยู่ในกิจกรรมสาธารณะ รวมทั้งการติดสิ นบนด้ วย
ทุจริต หมายถึง ประพฤติชั่ว คดโกง โกง ไม่ ซื่อตรง
–ประมวลกฎหมายอาญา “โดยทุจริต”
เพื่อแสวงหาประโยชน์ ท่ มี ิควรได้ โดยชอบด้ วยกฎหมาย
สาหรั บ ตนเองหรื อผู้อ่ ืน
“ทุจริตต่อหน้าที่” ปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั ิ
อย่างใดในตาแหน่งหรือหน้าที่หรือปฏิบตั ิหรือละ
เว้นปฏิบตั ิอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทาให้ผูอ้ ื่น
เชื่อว่ามีตาแหน่งหรือหน้าที่ท้ งั ที่ตนมิได้มีตาแหน่ง
หรือหน้าที่น้นั หรือใช้อานาจในตาแหน่งหรือหน้าที่
ทั้งนี้ เพือ่ แสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบ
สาหรับตนเองหรือผูอ้ ื่น
11
อานาจหน้ าที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.
เสนอมาตรการ ความเห็นและข้ อเสนอแนะ
ต่อ ครม. รัฐสภา ศาล คตง.
การป้องกัน
การทุจริต
ดาเนินการป้องกัน เสริมสร้ างทัศนคติและ
ค่านิยมเกี่ยวกับความซื่อสัตย์สจุ ริต
กากับดูแลคุณธรรมและจริยธรรมของผู้
ดารงตาแหน่งทางการเมือง
การปราบปราม
การทุจริต
การถอดถอนจากตาแหน่ง
การดาเนินคดีอาญากับผู้
ดารงตาแหน่งทางการเมือง
ไต่สวนเจ้ าหน้ าที่ของรัฐทุจริต
ต่อหน้ าที่ กระทาความผิดต่อ
ตาแหน่งหน้ าที่ราชการ ต่อ
ตาแหน่งหน้ าที่ ในการ
ยุติธรรม
การบริหาร
จัดการ
องค์ กร
อานาจ
หน้ าที่และ
ภารกิจ
กฎหมายอื่น
บัญญัติ
การออกระเบียบเกี่ยวกับการ
บริหารงานทัว่ ไป บุคคล
งบประมาณการเงิน และ
ทรัพย์สิน
การตรวจสอบ
ทรัพย์ สิน
การตรวจสอบความถูกต้ อง
และความมีอยู่จริง
การตรวจสอบความ
เปลี่ยนแปลง
การไต่สวนกรณีร่ ารวย
ผิดปกติ
พ.ร.บ.ว่าด้ วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอ
ราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒
พ.ร.บ.ว่าด้ วยการจัดการหุ้นส่วนและหุ้น
ของรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๓
๑๓
คณะกรรมการ ป.ป.ช.
• อานาจหน้ าที่
- มาตรา ๑๙
- ไต่ สวนข้ อเท็จจริงและสรุ ปสานวนพร้ อมทั้งทาความเห็นเสนอต่ อวุฒิสภาตาม
หมวด ๕ การถอดถอนจากตาแหน่ ง
- ไต่ สวนข้ อเท็จจริงและสรุ ปสานวนพร้ อมทั้งทาความเห็นเพือ่ ส่ งไปยังอัยการ
สู งสุ ดเพือ่ ฟ้องคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่ งทางการเมือง
ตามหมวด ๖ การดาเนินคดีอาญาผู้ดารงตาแหน่ งทางการเมือง ตามมาตรา
๒๗๕ ของรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมการ ป.ป.ช.
- ไต่ สวนและวินิจฉัยว่ าผู้ดารงตาแหน่ งทางการเมืองอืน่ ซึ่งมิใช่ บุคคลตาม (๒) และ
เจ้ าหน้ าที่ของรัฐร่ารวยผิดปกติเพือ่ ร้ องขอให้ ทรัพย์ สินตกเป็ นของแผ่นดิน ตาม
หลักเกณฑ์ และวิธีการที่บัญญัติไว้ ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
- ไต่ สวนและวินิจฉัยว่ าผู้ดารงตาแหน่ งทางการเมืองอืน่ ซึ่งมิใช่ บุคคลตาม (๒) หรือ
เจ้ าหน้ าที่ของรัฐตั้งแต่ ผ้บู ริหารระดับสู งหรือข้ าราชการซึ่งดารงตาแหน่ งตั้งแต่
ผู้อานวยการกองร่ารวยผิดปกติ กระทาความผิดฐานทุจริตต่ อหน้ าที่หรือกระทา
ความผิดต่ อตาแหน่ งหน้ าที่ราชการหรือความผิดต่ อตาแหน่ งหน้ าที่ในการยุติธรรม
หรือความผิดที่เกีย่ วข้ องกัน รวมทั้งดาเนินการกับเจ้ าหน้ าที่ของรั ฐหรือข้ าราชการใน
ระดับต่ากว่ าที่ร่วมกระทาความผิดกับผู้ดารงตาแหน่ งดังกล่ าว หรือกับผู้ดารง
ตาแหน่ งทางการเมือง หรือที่กระทาความผิดในลักษณะที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.
เห็นสมควรดาเนินการด้วยตามทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด โดยประกาศในราช
กิจจานุเบกษา
คณะกรรมการ ป.ป.ช.
•
•
•
- กาหนดตาแหน่ งของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐที่จะต้ องยืน่ บัญชีแสดง
รายการทรัพย์ สินและหนีส้ ิ นตามมาตรา ๒๖๔ ของรัฐธรรมนูญ
- ตรวจสอบความถูกต้ องและความมีอยู่จริง รวมทั้งความ
เปลีย่ นแปลงของทรัพย์ สินและหนีส้ ิ นของผู้ดารงตาแหน่ งทางการเมือง
และเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐทีม่ ีหน้ าทีย่ นื่ บัญชีแสดงรายการทรัพย์ สินและ
หนีส้ ิ นตามหมวด ๓ การตรวจสอบทรัพย์ สินและหนีส้ ิ น ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑ์ และวิธีการทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด
- กากับดูแลคุณธรรมและจริ ยธรรมของผู้ดารงตาแหน่ งทาง
การเมือง
คณะกรรมการ ป.ป.ช.
•
- ดาเนินการเพือ่ ป้องกันการทุจริตและเสริมสร้ างทัศนคติและ
ค่ านิยมเกีย่ วกับความซื่อสั ตย์ สุ จริต รวมทั้งดาเนินการให้ ประชาชนหรือ
กลุ่มบุคคลมีส่วนร่ วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
- ดาเนินการเกีย่ วกับด้ านการต่ างประเทศโดยเป็ นศูนย์ กลางความ
ร่ วมมือระหว่ างประเทศเพือ่ ประโยชน์ ในการป้องกันและปราบปราม
การทุจริต ทั้งนี้ เพือ่ ให้ เป็ นไปตามพันธกรณีและข้ อตกลงระหว่ าง
ประเทศในการต่ อต้ านการทุจริต
เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐทีอ่ ยู่ภายใต้ การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
- มาตรา ๘๔
- (๑)ผู้ดารงตาแหน่ งทางการเมืองหรือผู้บริหารระดับสู งซึ่งมิใช่ บุคคลตามมาตรา ๖๖
- (๒) ผู้พพิ ากษาและตุลาการ
- (๓) พนักงานอัยการ
-(๔) เจ้ าหน้ าที่ของรัฐในหน่ วยงานของศาลและองค์กรตามรัฐธรรมนูญ
-(๕) ผู้บริหารท้ องถิ่น รองผู้บริหารท้ องถิ่น ผู้ช่วยผู้บริหารท้ องถิ่น และสมาชิกสภาท้ องถิ่นขององค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิ่น
-(๖) เจ้ าหน้ าที่ของรัฐในสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสานักงานเลขาธิการวุฒิสภา
-(๗) เจ้ าหน้ าที่ของรัฐในหน่ วยงานป้ องกันและปราบปรามการทุจริตตามกฎหมายว่ าด้ วยการนั้น
-(๘) เจ้ าหน้ าที่ของรัฐซึ่งกระทาความผิดในลักษณะที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นสมควรดาเนินการ ทั้งนี้
ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด
เจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยูใ่ นอานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
และคณะกรรมการ ป.ป.ท.
คณะกรรมการ ป.ป.ช.
คณะกรรมการ ป.ป.ท.
๑. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐตัง้ แต่ ผ้ บู ริ หารระดับสูง
หรื อข้ าราชการซึง่ ดารงตาแหน่งตัง้ แต่
ผู้อานวยการกองหรื อเทียบเท่าขึ ้นไป
๒. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐตามมาตรา ๘๔ ได้ แก่
(๑) ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองหรื อ
ผู้บริหารระดับสูงซึง่ มิใช่บคุ คลตามมาตรา๖๖
(๒) ผู้พิพากษาและตุลาการ
(๓) พนักงานอัยการ
(๔) เจ้ าหน้ าที่ของรัฐในหน่วยงานของศาล
และองค์กรตามรัฐธรรมนูญ
๑. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐในระดับทีต่ ่ากว่ า
ผู้บริหารระดับสูง หรื อผู้อานวยการกองหรื อ
เทียบเท่า
๒. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐนอกเหนือจากบุคคลตาม
มาตรา ๘๔ (มาตรา ๓ พ.ร.บ. ป.ป.ท.)
เจ้ าหน้ าที่ของรัฐที่อยู่ในอานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช
และคณะกรรมการ ป.ป.ท.
คณะกรรมการ ป.ป.ช.
คณะกรรมการ ป.ป.ท.
(๕) ผู้บริหารท้ องถิ่น รองผู้บริหาร
ท้ องถิ่น ผู้ช่วยผู้บริหารท้ องถิ่น และ
สมาชิกสภาท้ องถิ่นขององค์ กรปกครอง
ส่ วนท้ องถิ่น
(๖) เจ้ าหน้ าที่ของรั ฐในสานักงาน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร/วุฒสิ ภา
(๗) เจ้ าหน้ าที่ ป.ป.ท.
เจ้ าหน้ าที่ของรัฐที่อยู่ในอานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
และคณะกรรมการ ป.ป.ท.
คณะกรรมการ ป.ป.ช.
คณะกรรมการ ป.ป.ท.
(๘) เจ้ าหน้ าที่ของรั ฐซึ่งกระทาความผิด
ในลักษณะที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.
เห็นสมควรดาเนินการ
(๙) เจ้ าหน้ าที่ของรั ฐซึ่งร่ วมกระทา
ความผิดกับบุคคลตาม (๑) – (๘)
บทสรุป.
• บทสรุป
- การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐของเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ
๑. เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ ที่สังกัดฝ่ ายบริหาร
- แท่ งอานวยการ/แท่ งบริหาร
๒. เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐทีส่ ั งกัดฝ่ ายตุลาการและฝ่ ายนิติบัญญัติ
- เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐทุกตาแหน่ ง
๓. เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐในองค์ กรตามรัฐธรรมนูญ
- เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐทุกตาแหน่ ง
บทสรุป.
• บทสรุป
- การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐของเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ
๔. ผู้บริหารท้ องถิ่น รองผู้บริหารท้ องถิ่น ผู้ช่วยผู้บริหารท้ องถิ่น และ
สมาชิกสภาท้ องถิ่นขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
๕. เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐในหน่ วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตตาม
กฎหมายว่ าด้ วยการนั้น
บทสรุป.
• บทสรุป
- การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐของเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ
๖. สาหรับลักษณะความผิดที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นสมควร
ดาเนินการ ได้ แก่ ความผิดฐานร่ารวยผิดปกติ ความผิดตามมาตรา ๑๐๐
ความผิดตามมาตรา ๑๐๓ และความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้ วย
ความผิดเกีย่ วกับการเสนอราคาต่ อหน่ วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒
เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐทุกตาแหน่ ง ทุกคน อยู่ภายใต้ การตรวจสอบการใช้
อานาจรัฐของคณะกรรมการ ป.ป.ช.และ(การร่ วมกระทาความผิด)
บทสรุป.
• บทสรุป
- การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐของเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ
๗. เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐสั งกัดภายใต้ ฝ่ายบริหาร ในแท่ งทัว่ ไปและแท่ ง
วิชาการ จะอยู่ภายใต้ การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐของคณะกรรมการ
ป.ป.ท. (ยกเว้ นได้ กระทาความผิดตามข้ อ ๖)
ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่เกีย่ วข้ องฯ.
๑.ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรือ่ งการกาหนดตาแหน่ง
ผูอ้ านวยการระดับต้นหรือเทียบเท่าขึ้นไปตามกฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการท ุจริต พ.ศ.
๒๕๕๔
๒. ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรือ่ งกาหนดลักษณะความผิด
ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการในระดับต่ากว่า
ผูอ้ านวยการกองที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.เห็นสมควร
ดาเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๔
๓. ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรือ่ งกาหนดลักษณะความผิด
ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการในระดับต่ากว่า
ผูอ้ านวยการกองที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.เห็นสมควร
ดาเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๔แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๕๕
การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
(ส่ วนที่ ๓ มูลเหตุการทุจริต)
๑.การยึดมันในคุ
่
ณธรรมและจริยธรรม
๒.การมีจิตสานึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริตและรับผิดชอบ
๓.การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติ เหนือกว่าประโยชน์ส่วนตนและไม่มี
ผลประโยชน์ทบั ซ้อน
๔.การยืนหยัดทาในสิง่ ที่ถูกต้อง เป็ นธรรมและถูกกฎหมาย
๕.การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอธั ยาศัยและไม่เลือกปฏิบตั ิ
๖.การให้ขอ้ มูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้องและไม่บิดเบือน
ข้อเท็จจริง
๗.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใสและ
ตรวจสอบได้
๘.การยึดมันในระบอบประชาธิ
่
ปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข
๙.การยึดมันในหลั
่
กจรรยาวิชาชีพขององค์กร
28
การทุจริต
CORRUPTION
ทุกประเทศมีกฎหมายบัญญัติไว้ชดั เจนทั้งใน
ด้านของการกระทาและบทลงโทษ
CONFLICT OF INTERESTS
บางประเทศมีกฎหมายบัญญัติหา้ มกระทาการแต่อีก
หลายประเทศไม่มีกฎหมายบัญญัติขอ้ ห้ามไว้
จริยธรรม
ขึ้นอยูก่ บั การพิจารณาของคนในแต่ละสังคม
ผลประโยชน์ ทบั ซ้ อน
ETHICS
29
การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
• กฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบ(โทษทางอาญา/วินยั )
พ.ร.บ.ประกอบฯ
ประมวลกฎหมายอาญา(๑๔๗-๑๖๖,๒๐๐-๒๐๕)
กฎหมายว่ าด้ วยความผิดเกีย่ วกับการเสนอราคาต่ อหน่ วยงาน
ของรัฐ พ.ศ.๒๕๔๒
บทกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับวินัย
การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
• ข้าราชการ(เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ)ผูใ้ ด จะมีหน้าที่ ดู จาก
กฎหมายหรือระเบียบ
มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง
การมอบหมายของผูบ้ งั คับบัญชา
ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ทีเ่ ป็ นพฤตินยั
การเปิ ดคดีอาญา
คดีอาญาที่อยูใ่ นอานาจหน้ าที่
ส่วน
ที่
๔.๑
การเปิ ดคดีอาญา
•
•
•
•
•
-ร้องท ุกข์/กล่าวโทษ ต่อพนักงานสอบสวน
(มาตรา ๘๙)
- กล่าวหาต่อองค์กรที่มีอานาจสอบสวน/ไต่สวน
(คณะกรรมการ ป.ป.ช.)
- การดาเนินคดีตามมาตรา ๘๙/๑ – ๘๙/๔
กฎหมายที่เกีย่ วกับการตรวจสอบ(บางส่ วน)
• ประมวลกฎหมายอาญา
• มาตรา ๑๔๗ ผูใ้ ดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซ้ ือ ทา
จัดการหรือรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์นนั้ เป็นของ
ตน หรือเป็นของผูอ้ ื่นโดยท ุจริต หรือโดยท ุจริตยอมให้
ผูอ้ ื่นเอาทรัพย์นนั้ เสีย ต้องระวางโทษจาค ุกตัง้ แต่หา้ ปี
ถึงยีส่ ิบปี หรือจาค ุกตลอดชีวิต และปรับตัง้ แต่สองพัน
บาทถึงสี่หมื่นบาท
กฎหมายที่เกีย่ วกับการตรวจสอบ
• ประมวลกฎหมายอาญา
-มาตรา ๑๔๘ ผูใ้ ดเป็นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดย
มิชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจ เพื่อ ให้บ ุคคลใดมอบให้หรือหามาให้
ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด แก่ตนเองหรือผูอ้ ื่ น
-ต้องระวางโทษ จาค ุกตัง้ แต่หา้ ปีถึงยี่สิบปี หรือจาค ุกตลอด
ชีวิต และปรับตัง้ แต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือประหาร
ชีวิต
กฎหมายที่เกีย่ วกับการตรวจสอบ
• ประมวลกฎหมายอาญา
-มาตรา ๑๔๙ ผูใ้ ดเป็นเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบญ
ั ญัติแห่ง
รัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิกสภาเทศบาล เรียกรับ หรือ
ยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด สาหรับตนเองหรือผูอ้ ื่น
โดยมิชอบ เพื่อกระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่
ว่าการนัน้ จะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่
-ต้องระวางโทษ จาค ุกตัง้ แต่หา้ ปีถึงยี่สิบปี หรือจาค ุกตลอดชีวิต
และปรับตัง้ แต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือประหารชีวิต
กฎหมายที่เกีย่ วกับการตรวจสอบ
• ประมวลกฎหมายอาญา
-มาตรา๑๕๑ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าทีซ่ ื้ อ ทา จัดการ
หรือรักษาทรัพย์ใดๆใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริต อันเป็ น
การเสียหายแก่รฐั เทศบาล สุขาภิบาลหรือเจ้าของทรัพย์น้นั
ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิบปี หรือจาคุกตลอด
ชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสีห่ มืน่ บาท
กฎหมายที่เกีย่ วกับการตรวจสอบ
• ประมวลกฎหมายอาญา
-มาตรา๑๕๒ ผูใ้ ดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จดั การหรือ
ด ูแลกิจการใด เข้ามีสว่ นได้เสียเพื่อประโยชน์สาหรับ
ตนเองหรือผูอ้ ื่น เนื่องด้วยกิจการนัน้
ต้องระวางโทษ จาค ุกตัง้ แต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตัง้ แต่
สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท
กฎหมายที่เกีย่ วกับการตรวจสอบ
• ประมวลกฎหมายอาญา
-มาตรา๑๕๓ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าทีจ่ ่ ายทรัพย์ จ่ าย
ทรัพย์น้นั เกินกว่าทีค่ วรจ่ ายเพือ่ ประโยชน์สาหรับตนเองหรือ
ผูอ้ ื่น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หนึง่ ปี ถึงสิบปี และปรับตั้ง
แต่สองพันบาทถึงสองหมืน่ บาท
กฎหมายที่เกีย่ วกับการตรวจสอบ
• ประมวลกฎหมายอาญา
-มาตรา๑๕๗ ผูใ้ ดเป็นเจ้าพนักงาน ปฏิบตั ิหรือละเว้น
การปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่
ผูห้ นึ่งผูใ้ ด หรือปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดย
ท ุจริต
-ต้องระวางโทษ จาค ุกตัง้ แต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตัง้
แต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
กฎหมายที่เกีย่ วกับการตรวจสอบ
• ประมวลกฎหมายอาญา
-มาตรา ๑๖๑ ผูใ้ ดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทาเอกสาร
กรอกข้อความลงในเอกสารหรือด ูแลรักษาเอกสาร
กระทาการปลอมเอกสารโดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้าที่
นัน้ ต้องระวางโทษจาค ุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกิน
สองหมื่นบาท
กฎหมายที่เกีย่ วกับการตรวจสอบ
• ประมวลกฎหมายอาญา
-มาตรา๑๖๒ ผูใ้ ดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทาเอกสาร รับเอกสารหรือ
กรอกข้อความลงในเอกสาร กระทาการดังต่อไปนี้ในการปฏิบตั ิการ
ตามหน้าที่
(๑) รับรองเป็นหลักฐานว่า ตนได้กระทาการอย่างใดขึ้นหรือว่าการอย่าง
ใดได้กระทาต่อหน้าตนอันเป็นความเท็จ
(๒) รับรองเป็นหลักฐานว่า ได้มีการแจ้งซึ่งข้อความอันมิได้มีการแจ้ง
(๓) ละเว้นไม่จดข้อความซึ่งตนมีหน้าที่ตอ้ งรับจด หรือจดเปลีย่ นแปลง
ข้อความเช่นว่านัน้ หรือ
(๔) รับรองเป็นหลักฐานซึ่งข้อเท็จจริงอันเอกสารนัน้ มุง่ พิส ูจน์ความจริง
อันเป็นความเท็จ
• ต้องระวางโทษจาค ุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นสี่พนั บาท
ส่ วนที่ ๔.๒ การขัดกันแห่ งผลประโยชน์
มาตรา ๑๐๐ห้ามมิให้เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ผูใ้ ดดาเนินกิจการดังต่อไปนี้
(๑) เป็ นคู่สญ
ั ญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาทีท่ ากับหน่วยงานของ
รัฐ ทีเ่ จ้าหน้าทีข่ องรัฐ ผูน้ ้นั ปฏิบตั ิหน้าทีใ่ นฐานะทีเ่ ป็ นเจ้าหน้าที่
ของรัฐ ซึ่งมีอานาจกากับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบ หรือดาเนินคดี
(๒) เป็ นหุน้ ส่วนหรือผูถ้ อื หุน้ ในห้างหุน้ ส่วนหรือบริษทั ทีเ่ ข้าเป็ น
คู่สญ
ั ญากับหน่วยงานของรัฐ ทีเ่ จ้าหน้าทีข่ องรัฐผูน้ ้นั ปฏิบตั ิหน้าที่
ในฐานะทีเ่ ป็ นเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ซึ่งมีอานาจกากับ ดูแล ควบคุม
ตรวจสอบ หรือดาเนินคดี
45
มาตรา ๑๐๐(ต่อ)
(๓) รับสัมปทานหรือคงถือไว้ซึ่งสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของ
รัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิน่ หรือเข้าเป็ นคู่สญ
ั ญากับรัฐ หน่วย
ราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิน่ อันมีลกั ษณะเป็ น
การผูกขาดตัดตอน ทั้งนี้ ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรือเป็ นหุน้ ส่วนหรือผู ้
ถือหุน้ ในห้างหุน้ ส่วนหรือบริษทั ทีร่ บั สัมปทานหรือเข้าเป็ นคู่สญ
ั ญาในลักษณะ
ดังกล่าว
(๔) เข้าไปมีส่วนได้เสีย ในฐานะเป็ นกรรมการ ทีป่ รึกษา ตัวแทน พนักงาน
หรือลูกจ้างในธุรกิจของเอกชน ซึ่งอยู่ภายใต้การกากับ ดูแล ควบคุม หรือ
ตรวจสอบ ของหน่วยงานของรัฐ ทีเ่ จ้าหน้าทีข่ องรัฐผูน้ ้นั สังกัดอยูห่ รือปฏิบตั ิ
หน้าทีใ่ นฐานะ เป็ นเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ซึ่งโดยสภาพของผลประโยชน์ของธุรกิจของ
เอกชนนั้น อาจขัดหรือแย้งต่อประโยชน์ส่วนรวม หรือประโยชน์ทางราชการ หรือ
กระทบต่อความมีอิสระ ในการปฏิบตั ิหน้าทีข่ องเจ้าหน้าทีข่ องรัฐผูน้ ้นั
46
มาตรา ๑๐๐(ต่อ)
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐตาแหน่งใดทีต่ อ้ งห้ามมิให้ดาเนินกิจการตาม
วรรคหนึง่ ให้เป็ นไปตามทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนดโดยประกาศใน
ราชกิจจานุ เบกษา
ให้นาบทบัญญัติในวรรคหนึง่ มาใช้บงั คับกับคู่สมรสของ
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ตามวรรคสอง โดยให้ถอื ว่าการดาเนินกิจการของคู่
สมรสดังกล่าว เป็ นการดาเนินกิจการของเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ
“ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติ เรือ่ ง กาหนดตาแหน่งเจ้าหน้าทีข่ องรัฐทีต่ อ้ งห้ามมิให้ดาเนิน
กิจการตามความในมาตรา ๑๐๐ แห่งพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนู ญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒
พ.ศ. ๒๕๔๔”(ฉบับที๑
่ และฉบับที๒่ )
47
มาตรา ๑๐๑ ให้นาบทบัญญัติมาตรา ๑๐๐ มาใช้บงั คับ
กับ การดาเนินกิจการของผูซ้ ึ่งพ้นจากการเป็ นเจ้าหน้าทีข่ อง
รัฐมาแล้ว ยังไม่ถงึ สองปี โดยอนุโลม เว้นแต่การเป็ นผูถ้ อื หุน้
ไม่เกินร้อยละห้าของจานวนหุน้ ทั้งหมด ทีจ่ าหน่ายได้ใน
บริษทั มหาชนจากัด ซึ่งมิใช่บริษทั ทีเ่ ป็ นคู่สญ
ั ญากับ
หน่วยงานของรัฐ ตามมาตรา ๑๐๐ (๒) ทีไ่ ด้รบั อนุญาต
ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
48
มาตรา ๑๐๒ บทบัญญัติมาตรา ๑๐๐ มิให้นามาใช้
บังคับกับการดาเนินกิจการของเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ซึ่ง
หน่วยงานของรัฐที่ มีอานาจกากับ ดูแล ควบคุม หรือ
ตรวจสอบการดาเนินงานของบริษทั จากัดหรือบริษทั มหาชน
จากัด มอบหมายให้ปฏิบตั ิหน้าทีใ่ นบริษทั จากัดหรือบริษทั
มหาชนจากัดทีห่ น่วยงานของรัฐ ถือหุน้ หรือเข้าร่วมทุน
49
สินน้ าใจ
มาตรา ๑๐๓ “ห้าม มิให้ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐผูใ้ ดรับทรัพย์สิน หรือ
ประโยชน์อื่นใด จากบุคคล นอกเหนือจากทรัพย์สินหรือประโยชน์
อันควรได้ตามกฎหมาย หรือกฎ ข้อบังคับทีอ่ อกโดยอาศัยอานาจ
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เว้นแต่การรับทรัพย์สินหรือ
ประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยา ตามหลักเกณฑ์และจานวนที่
คณะกรรมการป.ป.ช. กาหนด
บทบัญญัติในวรรคหนึง่ ให้ใช้บงั คับกับการรับทรัพย์สินหรือ
ประโยชน์อื่นใดของผูซ้ ึ่งพ้น จากการเป็ นเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ มาแล้ว
ยังไม่ถงึ สองปี ด้วย โดยอนุโลม”
50
มาตรา ๑๒๒ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐผูใ้ ดฝ่ าฝื นบทบัญญัติ
มาตรา ๑๐๐ มาตรา ๑๐๑ หรือมาตรา ๑๐๓ ต้องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมืน่ บาท หรือทั้ง
จาทั้งปรับ
กรณีความผิดตามมาตรา ๑๐๐ วรรคสาม หาก
เจ้าหน้าที่ ของรัฐผูใ้ ดพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้รูเ้ ห็นยินยอมด้วย
ในการทีค่ ู่สมรสของตนดาเนินกิจการตามมาตรา ๑๐๐
วรรคหนึง่ ให้ถอื ว่าผูน้ ้นั ไม่มีความผิด
51
มาตรา ๑๐๓/๑ บรรดาความผิดทีบ่ ญ
ั ญัติไว้ใน หมวดนี้
ให้ถอื เป็ นความผิดฐานทุจริตต่อหน้าทีห่ รือความผิดต่อ
ตาแหน่งหน้าทีร่ าชการหรือความผิดต่อตาแหน่งหน้าทีใ่ น
การยุติธรรม ตามประมวลกฎหมายอาญาด้วย (แก้ไข
เพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนู ญว่าด้วยการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔
52
พระราชบัญญัติ
ว่ าด้ วยความผิดเกีย่ วกับการเสนอราคาต่ อหน่ วยงานของรัฐ
พ.ศ. ๒๕๔๒
ส่วนที่ ๔.๓
กฎหมายอื่น
กฎหมาย/ระเบียบทีค่ วบคุมวิธีการจัดหา
- เจ้ าหน้ าที่ในหน่ วยงานของรัฐ/ได้ รับมอบหมายจากหน่ วยงานของรัฐ
- โดยทุจริตทาการออกแบบ กาหนดราคา กาหนดเงื่อนไข หรือกาหนด
ผลประโยชน์ ตอบแทน อันเป็ นมาตรฐานในการเสนอราคา
-โดยมุ่งหมายมิให้ มีการแข่ งขันในการเสนอราคาอย่ างเป็ นธรรม
-เพือ่ ช่ วยเหลือให้ ผู้เสนอราคารายใดได้ มีสิทธิเข้ าทาสั ญญากับ
หน่ วยงานของรัฐโดยไม่ เป็ นธรรม
-เพือ่ กีดกันผู้เสนอราคารายใดมิให้ มีโอกาสเข้ าแข่ งขันในการเสนอ
ราคาอย่ างเป็ นธรรม
กฎหมาย/ระเบียบทีค่ วบคุมวิธีการจัดหา
- เจ้ าหน้ าที่ในหน่ วยงานของรัฐ
- กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
-กระทาการใด ๆ โดยมุ่งหมายมิให้ มีการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม
เพือ่ เอือ้ อานวยแก่ผู้เข้ าทาการเสนอราคารายใดให้ เป็ นผู้มีสิทธิทาสั ญญา
กับหน่ วยงานของรัฐ
กฎหมาย/ระเบียบทีค่ วบคุมวิธีการจัดหา
- บุคคลและรูปแบบของการกระทาความผิด
-บุคคล
นักการเมือง
ข้ าราชการ/พนักงาน
ของรั ฐ
ผู้เสนอราคา/เอกชน/
กลุ่มผลประโยชน์
กฎหมาย/ระเบียบทีค่ วบคุมวิธีการจัดหา
- รูปแบบของการกระทาความผิด (ผู้เสนอราคา/เอกชน)
- สมยอม
- กีดกัน
-เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ
- สมยอม
- กีดกัน
-ทาผิดกฎ/ระเบียบ
กฎหมาย/ระเบียบทีค่ วบคุมวิธีการจัดหา
- รูปแบบของการกระทาความผิด (ผู้เสนอราคา/เอกชน)
- สมยอม
-ผู้เสนอราคา/บุคคลภายนอก(ผู้จัดฮั้ว)
-ตกลงร่ วมกันให้ รายใดรายหนึ่งได้ งาน
-ตกลงร่ วมกันให้ รายใดเสนอราคาตา่ สุ ดและผลัดเปลีย่ นหมุนเวียน
-เสนอให้ ประโยชน์ แลกกับผลประโยชน์
กฎหมาย/ระเบียบทีค่ วบคุมวิธีการจัดหา
- รูปแบบของการกระทาความผิด (ผู้เสนอราคา/เอกชน)
- กีดกัน
-ทาลาย/เอาเอกสารเกีย่ วกับการเสนอราคาออก
-หน่ วงเหนี่ยว/กักขัง/ถ่ วงเวลา ไม่ ให้ ยนื่ เอกสาร
-ขัดขวางการติดต่ อสื่ อสาร
-ประทุษร้ ายร่ างการ/ชีวติ /ทรัพย์ สิน
-ใช้ อุบายหลอกลวงเข้ ารับงานในลาดับถัดไป
-อาศัยช่ องว่ าง กฎ/ระเบียบฯยกเลิกการเสนอราคา
กฎหมาย/ระเบียบทีค่ วบคุมวิธีการจัดหา
- รูปแบบของการกระทาความผิด (เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ)
- กีดกัน
-กระทาการ/งดเว้ นกระทาการที่ตนมีหน้ าที่
-กาหนดคุณลักษณะจากการเอาคุณสมบัติของเอกชนรายใดราย
หนึ่งมากาหนด
-กาหนดเงื่อนไขกีดกันรายอืน่
-ขัดขวางถ่ วงเวลา หลบหลีก ไม่ รับเอกสารของรายอืน่
กฎหมาย/ระเบียบทีค่ วบคุมวิธีการจัดหา
- รูปแบบของการกระทาความผิด (เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ)
- สมยอม
-รู้ว่าทุจริตไม่ ดาเนินการใดๆ
-จงใจไม่ ตรวจสอบคุณสมบัติ
-รู้เห็นการสมยอมของเอกชนแล้วละเว้ นไม่ ดาเนินการ
กฎหมาย/ระเบียบทีค่ วบคุมวิธีการจัดหา
- รูปแบบของการกระทาความผิด (เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ)
- ทาผิดกฎ/ระเบียบ
-อาศัยช่ องว่ างยกเลิกการเสนอราคา
-ให้ ข้อมูลภายในกับเอกชนบางราย
-ตั้งราคากลางสู งเกินจริง
ส่ วนที่ ๕
ส่ วนที่ ๕
วินัย
ชี้มูลความผิด
อาญา
64
การชี้มูลความผิด
• มติคณะกรรมการ ป.ป.ช. ว่ าข้ อกล่ าวหาใดมีมูลความผิดทางอาญา
ให้ ดาเนินการตามมาตรา ๙๗
• ให้ ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ส่ งรายงาน เอกสารและความเห็นไป
ยังอัยการสู งสุ ด เพือ่ ดาเนินคดี ในศาลทีม่ ีเขตอานาจ หรือ ฟ้องคดี
ต่ อศาล กรณีอยั การสู งสุ ดเป็ นผู้ถูกกล่ าวหาและให้ ถอื รายงานของ
คณะกรรมการ ป.ป.ช.เป็ นสานวนสอบสวน ตาม ป.วิอาญาและให้
ศาลประทับฟ้องโดยไม่ ต้องไต่ สวนมูลฟ้อง
การชี้มูลความผิด
• กรณีอยั การสู งสุ ด เห็นว่ ารายงาน เอกสาร และความเห็นที่
คณะกรรมการ ป.ป.ช.ส่ งให้ ยงั ไม่ สมบูรณ์ พอทีจ่ ะดาเนินคดีได้
ให้ อยั การสู งสุ ดแจ้ งข้ อไม่ สมบูรณ์ ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช.ทราบ
และให้ ต้งั คณะทางานขึน้ โดยมีผู้แทนฝ่ ายละเท่ ากัน เพือ่ รวบรวม
พยานหลักฐานให้ สมบูรณ์ แล้ วส่ งให้ อยั การสู งสุ ดฟ้องคดี กรณี
ไม่ อาจหาข้ อยุตเิ กีย่ วกับการฟ้องคดี ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช.
มีอานาจฟ้องคดีเองหรือแต่ งทนายความให้ ฟ้องคดีแทน
การชี้มูลความผิด
• ในกรณีผู้ถูกกล่ าวหาเป็ นข้ าราชการทหาร ให้ อยั การสู งสุ ดเป็ น
ผู้ฟ้องคดีโดยถือเป็ นอัยการทหาร ตามกฎหมายว่ าด้ วยพระ
ธรรมนูญศาลทหาร หรือจะมอบหมายให้ อยั การทหารเป็ นผู้ฟ้อง
คดีแทนก็ได้
การชี้มูลความผิด
• คณะกรรมการ ป.ป.ช.มีมติว่ามีมูลความผิดทางวินัยให้ ดาเนินการ
ตามมาตรา ๙๒
ให้ ประธานกรรมการฯ ส่ งรายงานและเอกสารทีม่ ีอยู่พร้ อม
ความเห็นไปยังผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอานาจแต่ งตั้งถอดถอน
ผู้ถูกกล่ าวหานั้น เพือ่ พิจารณาโทษทางวินัย ตามฐานความผิดที่
คณะกรรมการ ป.ป.ช.มีมติ โดยไม่ ต้องแต่ งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนทางวินัยอีก
การชี้มูลความผิด
• เมื่อได้ รับรายงานแล้ ว ให้ ลงโทษภายใน ๓๐ วัน นับแต่ วนั ที่ได้ รับ
เรื่องและส่ งสาเนาคาสั่ งลงโทษ ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบ
ภายใน ๑๕ วันนับแต่ วนั ทีไ่ ด้ ออกคาสั่ ง
กรณีผู้บังคับบัญชาละเลยไม่ ดาเนินการตามมติคณะกรรมการ
ป.ป.ช. ให้ ถอื ว่ าผู้น้ัน กระทาผิดวินัยหรือกฎหมาย
การชี้มูลความผิด
• กรณี ผูถ้ ูกกล่าวหาเป็นข้าราชการต ุลาการ
(ศาลย ุติธรรม ศาลปกครอง) ข้าราชการอัยการ ให้
คณะกรรมการ ป.ป.ช. แจ้งความเห็นไปยังประธาน
คณะกรรมการต ุลาการ ประธานคณะกรรมการต ุลา
การศาลปกครอง ประธานคณะกรรมการอัยการ
แล้วแต่กรณี
ผู้บังคับบัญชาละเลย ฝ่ าฝื นไม่ ดาเนินการ
ดาเนินการ ไม่ ถูกต้ อง ไม่ เหมาะสม
• คณะกรรมการ ป.ป.ช.เสนอความเห็นไปยัง
นายกรัฐมนตรี เพื่อให้สงั่ การตามที่เห็นสมควร
คณะกรรมการ ป.ป.ช. สัง่ ให้คณะกรรมการข้าราชการ
พลเรือน หรือคณะกรรมการอื่น พิจารณาดาเนินการ
ตามอานาจหน้าที่ให้ถ ูกต้องเหมาะสม
การอุทธรณ์
• มาตรา ๙๖ ผูถ้ ูกกล่าวหาที่ถ ูกลงโทษตามมาตรา ๘๙/๔
หรือมาตรา ๙๓ จะใช้สิทธิอ ุทธรณ์ด ุลพินิจในการกาหนด
โทษ ของผูบ้ งั คับบัญชาตามกฎหมาย ระเบียบ หรือ
ข้อบังคับว่าด้วยการบริหารงานบ ุคคลสาหรับผูถ้ ูก
กล่าวหานัน้ ๆ ก็ได้ ทัง้ นี้ ต้องใช้สิทธิดงั กล่าวภายใน
สามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้รบั ทราบคาสัง่ ดังกล่าว
การชี้มูลความผิดทางอาญาและวินัย
ตัวอย่างคดีและกรณีศึกษา
-การชีม้ ูลความผิดทางอาญาและชีม้ ูลความผิดทางวินัย
จบการนาเสนอ
สวัสดีครับ
๗๔