กฎหมายวิทยุ-สุพัฒน์2012 - องค์การบริหารส่วนตำบลโนนธาตุ

Download Report

Transcript กฎหมายวิทยุ-สุพัฒน์2012 - องค์การบริหารส่วนตำบลโนนธาตุ

กฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม
และระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง
นายสุพฒ
ั น์ ทวีพนั ธ์
สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
เขต ๖ ขอนแก่น
หัวข้อบรรยาย
๑. พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498
และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม
๒. ประกาศ กสทช. เรือ่ ง การใช้เครือ่ งวิทยุคมนาคมแบบ
สังเคราะห์ความถี่ (Synthesizer) ของหน่วยของรัฐ
๓. ประกาศ กสทช. เรือ่ ง หลักเกณฑ์การอนุ ญาตและการ
กากับดูแลการใช้คลืน่ ความถีก่ ลางสาหรับการติดต่อ
ประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐและประชาชน
กฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม
• พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘
• พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๐๔
• พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๓๕
การโอนอานาจในการกากับดูแลความถีว่ ิทยุ
 มาตรา ๘๑วรรค ๒ พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่
และกากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์
และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ให้บรรดาอานาจหน้าที่
ของรัฐมนตรี อธิ บดีกรมไปรษณียโ์ ทรเลข และเจ้าพนักงานผู ้
ออกใบอนุ ญาต ตามกฎหมายว่ าด้วยวิ ทยุคมนาคมเป็ นอานาจ
หน้าทีข่ อง กสทช. ตามพระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘
 เป็ นกฎหมายว่าด้วยการบริหารความถีว่ ิทยุ
 ความจาเป็ น
 มีอยู่อย่างจากัด
 มีขอ้ จากัดอันเกิดจากธรรมชาติ
 มีขอ้ จากัดอันเกิดจากการใช้งาน
 วัตถุประสงค์
 ให้เกิดการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
 ปราศจากการรบกวน
 ใช้ความถีว่ ิทยุได้อย่างเพียงพอและเท่าเทียมกัน
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ (ต่อ)
เจตนารมณ์
 กาหนดการใช้ความถีว่ ิทยุ - การจัดสรรความถีว่ ิทยุ
 กากับดูแลการใช้ความถีว่ ิทยุ
- ออกใบอนุ ญาต
- ออกกฎ ระเบียบ
- กาหนดมาตรฐานเครือ่ งวิทยุคมนาคม
- การดาเนินคดี
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ (ต่อ)
การกากับดูแลตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘
 เครือ่ งวิทยุคมนาคม (ม.4)
 อุปกรณ์วิทยุคมนาคม
 อุปกรณ์ที่ใช้กบั เครื่องวิทยุคมนาคม ดังนี้
 สายอากาศ (Antenna)
 เครือ่ งขยายกาลังส่ง (RF Amplifier)
เครื่องวิทยุคมนาคม
ได้แก่ เครือ่ งส่ง เครือ่ งรับ หรือเครื่องส่งและรับ
เครือ่ งหมาย สัญญาณ ตัวหนังสือ ภาพ เสียงและ
การอื่นใดซึ่งสามารถเข้าใจความหมายได้ดว้ ย
คลืน่ แฮรตเซียน แต่ไม่รวมถึงเครือ่ งรับวิทยุ
กระจายเสียงและเครือ่ งรับวิทยุโทรทัศน์
อุปกรณ์วิทยุคมนาคม
อุปกรณ์วิทยุคมนาคม ทั้ง ๒ รายการ หากนาไป
ประกอบเข้าหรือใช้กบั เครื่องวิทยุคมนาคม ที่ได้รบั
ใบอนุ ญาตแล้วให้อุปกรณ์น้นั ได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งได้
รับใบอนุ ญาตอีก
(ตาม ข้ อ๘ ประกาศ กทช. เรื่อง เครื่องวิทยุคมนาคมและสถานีวิทยุคมนาคมที่ได้ รับยกเว้ นฯ)
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ (ต่อ)
การควบคุมและกากับดูแลเครือ่ งวิทยุคมนาคม
 การทาเครื่องวิทยุคมนาคม (ม.6)
การผลิต การประกอบขึ้น การสร้ าง
การกลับสร้ างใหม่
การแปรสภาพ - เปิ ดแบนด์
- เพิ่มภาคกาลังส่ง
 การมีเครื่องวิทยุคมนาคม (ม.6)
 การใช้เครื่องวิทยุคมนาคม (ม.6)
 การตั้งสถานีวิทยุคมนาคม - เครื่องวิทยุคมนาคมประเภทมือถือ
( ม.11 , ม.13)
- เครื่องวิทยุคมนาคมประเภทประจาที่ , เคลื่อนที่
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ (ต่อ)
การควบคุมและกากับดูแลเครือ่ งวิทยุคมนาคม
 การนาเข้าเครื่องวิทยุคมนาคม (ม.6)


นาเข้ าโดยไม่ชอบด้ วยกฎหมายเป็ นเครื่องเถื่อนและผิดกฎหมายศุลกากร
นาเข้ าโดยชอบด้ วยกฎหมาย
- ผ่านการตรวจสอบทางวิชาการ
- ออกหมายเลขทะเบียนวิทยุคมนาคม เช่น กทช. 3009738/48
หรือ NTC ID. B30007-08-0019
 การนาออกนอกราชอาณาจักร
 การค้าเครื่องวิทยุคมนาคม
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ (ต่อ)
การควบคุมและกากับดูแลเครือ่ งวิทยุคมนาคม
 การกระทาหน้าที่พนักงานวิทยุคมนาคม
- พนักงานวิทยุคมนาคมประจาสถานีในเรือ
-พนักงานวิทยุคมนาคมสมัครเล่น
 การรับข่าววิทยุคมนาคมต่างประเทศเพือ่ การโฆษณา
หมายเหตุ
 ผูท้ ี่ได้รบั ใบอนุ ญาตให้ทา ใช้ นาเข้า นาออก ค้า ตั้งสถานีวิทยุคมนาคม ให้ถอื ว่า
ได้รบั ใบอนุ ญาตให้มีเครื่องวิทยุคมนาคมด้วย
ลักษณะของใบอนุ ญาต
 เป็ นสิทธิเฉพาะตัว
 ออกให้เฉพาะบุคคลและเฉพาะเครื่อง
 โอนเครื่องได้แต่โอนใบอนุ ญาตไม่ได้
ข้อห้ามในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
 ส่งหรือจัดให้ ส่งข้ อความเท็จ หรือที่ไม่ได้ รับอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่
(ม.๑๖)
 ใช้ เครื่องวิทยุคมนาคมเพื่อประโยชน์นอกเหนือจากราชการหรือที่กาหนดใน
ใบอนุญาต (ม.๑๒)
 จงใจกระทาให้ เกิดการรบกวนหรือขัดขวางต่อการวิทยุคมนาคม ( ม. ๒๖ )
 ไม่ปฏิบัติตามที่เจ้ าพนักงานสั่งการ เมื่อกระทาให้ เกิดการรบกวนหรือ
ขัดขวางต่อการวิทยุคมนาคมโดยไม่เจตนา ( ม. ๑๕ )
 ดักรับไว้ หรือใช้ ประโยชน์ซ่ึงข่าววิทยุคมนาคมที่มิได้ มุ่งหมายเพื่อประโยชน์
สาธารณะ ( ม.๑๗ )
 ใช้ ความถี่วิทยุท่ไี ม่ได้ รับอนุญาต ( ม.๑๑ )
ฐานความผิด
๑. มีและใช้ ซึ่งเครือ่ งวิทยุคมนาคมโดยไม่ได้รบั
ใบอนุญาต
๒. ตั้งสถานีวิทยุคมนาคมโดยไม่ได้รบั ใบอนุ ญาต
๓. ทา ซึ่งเครือ่ งวิทยุคมนาคมโดยไม่ได้รบั
ใบอนุญาต
๔. ใช้ ความถีไ่ ม่ถูกต้องตามที่ได้รบั อนุ ญาต
ระวางโทษ
ปรับไม่เกิน ๑ แสนบาท จาคุกไม่เกิน ๕ ปี
หรือทั้งปรับทั้งจา
ปรับไม่เกิน ๑ แสนบาท จาคุกไม่เกิน ๕ ปี
หรือทั้งปรับทั้งจา
ปรับไม่เกิน ๑ แสนบาท จาคุกไม่เกิน ๕ ปี
หรือทั้งปรับทั้งจา
๕. เป็ นพนักงานวิทยุคมนาคมโดยไม่ได้รบั
ใบอนุญาต
ปรับไม่เกิน ๑ แสนบาท จาคุกไม่เกิน ๕ ปี
หรือทั้งปรับทั้งจา
ปรับไม่เกิน ๔ หมืน่ บาท จาคุกไม่เกิน ๒ ปี
หรือทั้งปรับทั้งจา
๖. จงใจกระทาให้เกิดการรบกวน หรือขัดขวางต่ อ
การวิทยุคมนาคม
ปรับไม่เกิน ๑ แสนบาท จาคุกไม่เกิน ๕ ปี
หรือทั้งปรับทั้งจา
การดาเนินคดีความผิดตามพระราชบัญญัติ
วิทยุคมนาคม พ.ศ.๒๔๙๘
๑. การดาเนินคดีทางศาล
๒. การเปรียบเทียบปรับโดยเจ้าพนักงานผูอ้ อกใบอนุ ญาต
การเปรียบเทียบคดี
๑. กสทช. หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ เห็นว่ามิได้เป็ นการกระทาผิดร้ายแรงจนต้องได้รบั
โทษจาคุก
๒. ผูต้ อ้ งหาให้การรับสารภาพตลอดข้อกล่าวหา
๓. กสทช. หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ กาหนดค่าปรับ
๔. ผูก้ ระทาผิดชาระค่าปรับภายใน ๑๕ วัน
๓. ผูม้ ีอานาจเปรียบเทียบปรับ คือ กสทช. หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ กสทช.แต่งตั้ง
๔. ผลการเปรียบเทียบปรับ สิทธิการฟ้ องคดีเป็ นอันระงับไป
๕. เป็ นสิทธิของผูต้ อ้ งหา
หน่วยงานที่ได้รบั ยกเว้นการได้รบั ใบอนุ ญาต
( ม. ๕ )
กระทรวง ทบวง กรม
นิติบุคคลในกฎกระทรวง - จังหวัด, เทศบาล,
องค์การบริหารส่วนจังหวัด, สุขาภิบาล, กทม.
เมืองพัทยา, องค์การบริหารส่วนตาบล, สภาตาบล
ประกาศ กสทช. เรื่อง การใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบ
สังเคราะห์ความถี่ (Synthesizer) ของหน่วยของรัฐ
 เครือ่ งวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถีป่ ระเภท 1
เครือ่ งทีผ่ ูใ้ ช้สามารถตั้งความถีไ่ ด้เองจากภายนอกเครือ่ ง
 เครือ่ งวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถีป่ ระเภท 2
เครือ่ งทีผ่ ูใ้ ช้ไม่สามารถตั้งความถีไ่ ด้เองจากภายนอกเครือ่ ง
หน่วยงานที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
แบบสังเคราะห์ความถีป่ ระเภท ๑
 มีหน้าทีป่ ้ องกันและรักษาความมันคงของประเทศ
่
 ป้องกันและปราบปรามผูก้ ระทาผิดกฎหมายทีม่ ี
ผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประเทศ
 อารักขาบุคคลสาคัญของประเทศ
 อารักขาบุคคลสาคัญของต่างประเทศทีม่ าเยือนประเทศ
ไทย
หน่วยงานที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
แบบสังเคราะห์ความถีป่ ระเภท ๑
อาทิเช่น
 กองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรือ
 สนง. ตารวจแห่งชาติ
 สนง. กสทช.
 สนง. คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด
 สนง.คณะกรรมการป้องกันและปราบปราบการทุจริตแห่ งชาติ
 กระทรวงมหาดไทย (เฉพาะตาแหน่ งตามประกาศฯ)
 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หน่วยงานที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
แบบสังเคราะห์ความถีป่ ระเภท ๒
 หน่วยงานราชการอื่นที่ไม่มีสิทธิใช้เครือ่ ง
วิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถีป่ ระเภท ๑
 หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ
คุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิใช้เครื่องวิทยุ
คมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ ประเภท ๒
๑. เป็ นบุคคลที่มีฐานะ ดังนี้
๑.๑ เป็ นข้าราชการทุกระดับ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานองค์การของรัฐ ลูกจ้างประจา
๑.๒ เป็ นพนักงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัด อบต.
เทศบาล สุขาภิบาล กทม. เมืองพัทยา สภาตาบล
หรือพนักงานขององค์การปกครองส่วนท้องถิน่ อื่น
๑.๓ เป็ นผูใ้ หญ่บา้ น ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น กานัน สารวัตรกานัน
หรือแพทย์ประจาตาบล
๑.๔ เป็ นบุคคลธรรมดาทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ร่วมใช้ความถี่
วิทยุกบั หน่วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจอื่นทีไ่ ด้รบั จัดสรร
ความถีว่ ิทยุ
๑.๕ ต้องไม่เป็ นผูม้ ีพฤติกรรมเป็ นทีเ่ สียหายหรือเป็ นภัยต่อ สังคม
หรือความมันคง
่ ของชาติ
๑.๖ ต้องผ่านการฝึ กอบรมการใช้เครือ่ งวิทยุคมนาคมแบบ
สังเคราะห์ความถี่ ประเภท 2 จากหน่วยงานทีส่ งั กัด
๑.๗ ต้องผ่านการฝึ กอบรมตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความ
ปลอดภัยแห่งชาติจากหน่วยงานหรือหน่วยงานอื่นทีต่ นสังกัด
๑.๘ ต้องได้รบั ความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วย งานราชการหรือ
รัฐวิสาหกิจ แล้วแต่กรณีว่ามีความจาเป็ นต้องใช้เครือ่ งวิทยุ
คมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่
หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่
๑. จัดหาเครื่องวิทยุคมนาคมมาโดยชอบ
ด้วยกฎหมาย
๒. ควบคุมการรับ-ส่งข่าวสารทางเครื่อง
วิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่
หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่
๓. จัดให้มี
บัตรประจาตัวผูใ้ ช้เครื่องวิทยุคมนาคม
(รับรองตัวบุคคล)
บัตรประจาเครื่องวิทยุคมนาคม
(รับรองเครื่องว่าเป็ นของหน่วยงาน) บัตรประจาเครื่อง
ต้ องระบุตราอักษร แบบ รุ่น และเลขทะเบียนครุภัณฑ์
หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่
๔. กาหนดทะเบียนควบคุมการใช้เครือ่ งวิทยุ
คมนาคม
๕. จัดทาบัญชีคุมการเบิกจ่ ายเครือ่ งวิทยุคมนาคม
๖. จัดทาคู่มือการใช้เครือ่ งวิทยุคมนาคม
๗. จัดฝึ กอบรมการใช้เครือ่ งวิทยุคมนาคม
หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่
๘. อานวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงานใน
การตรวจสอบเกีย่ วกับการปฏิบตั ิตาม
ระเบียบนี้
บทกาหนดโทษ
 หากผูใ้ ช้เครือ่ งวิทยุคมนาคมฝ่ าฝื นระเบียบนี้
หรือระเบียบของหน่วยงานให้หน่วยงานพิจารณา
โทษทางวินยั
 หากหน่วยงานฝ่ าฝื นระเบียบนี้ กสทช. อาจ
พิจารณาไม่อนุ ญาตหรือยกเลิกการอนุ ญาตให้ใช้
เครือ่ งวิทยุคมนาคม
ตัวอย่ างบัตรประจา เครื่อง วิทยุคมนาคม
ตัวอย่ างบัตรประจาตัว ผู้ใช้ เครื่องวิทยุคมนาคม
ตัวอย่างบัตรประจาตัวผูใ้ ช้เครือ่ ง/บัตรประจาเครือ่ ง
เรือ่ ง หลักเกณฑ์การอนุญาตและการกากับดูแลการใช้
คลืน่ ความถีก่ ลาง สาหรับการติดต่อประสานงานระหว่าง
หน่วยงานของรัฐและประชาชน
หมวด ๑ หลักเกณฑ์การอนุ ญาต
หมวด ๒ ข้อกาหนดและแนวทางปฏิบตั ิ
หมวด ๓ มาตรการกากับดูแล
หมวด ๑ หลักเกณฑ์การอนุ ญาต
คลืน่ ความถีก่ ลางร่วมของหน่วยงานของรัฐ
คลืน่ ความถีก่ ลางร่วมระหว่างหน่วยงานของรัฐและ
ประชาชน
คลืน่ ความถีก่ ลางร่วมของหน่วยงานของรัฐ
คลืน่ ความถีก่ ลางร่วมระหว่างหน่วยงานของรัฐและประชาชน
หมวด ๒ ข้อกาหนดและแนวทางปฏิบตั ิ
 ภายหลังจากที่ได้รบั อนุ ญาตให้ใช้เครื่องวิ ทยุคมนาคม ให้ดาเนิ นการบรรจุ
คลืน่ ความถีก่ ลางได้
 หน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลการใช้ความถีก่ ลาง
(ก) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
-ระดับประเทศ
(ข) ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
-ระดับเขตภูมิภาค
(ค) สนง.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประจาจังหวัด –ระดับจังหวัด
 ในกรณีที่เกิดเหตุภยั พิบตั ิและภาวะฉุ กเฉิน หน่วยงานที่ไม่มีหน้าที่ ระงับการ
ใช้คลืน่ ความถีก่ ลางทันที
หมวด ๓ มาตรการกากับดูแล




ตักเตือนด้วยวาจา
ตักเตือนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
ระงับการใช้คลืน่ ความถี่ หรือพักใช้ใบอนุ ญาตวิทยุคมนาคม แล้วแต่กรณี
ยกเลิกการอนุ ญาตให้ใช้คลืน่ ความถี่ หรือเพิกถอนใบอนุ ญาตวิทยุคมนาคม
แล้วแต่กรณี
 ดาเนินการตามกฎหมาย
ข้อควรปฏิบตั ิในการติดต่อสือ่ สารทางวิทยุ
 ใช้ถอ้ ยคาที่สุภาพในการติดต่อสือ่ สาร
 ควรใช้เวลาให้นอ้ ยและใช้ความถีว่ ิทยุให้ส้นั ที่สุด
- ความถีว่ ิทยุมีนอ้ ยผูใ้ ช้มีจานวนมาก
- มีคนรอที่จะใช้ความถีว่ ิทยุอยู่
 ต้องใช้ขอ้ ความสั้น กะทัดรัด ได้ใจความ
- ประมวลสัญญาณวิทยุ (รหัส ว.)
- ไม่ใช้คาที่ยาวจนเกินความจาเป็ น
- ควรพูดสัญญาณวิทยุ (รหัส ว.) ให้ครบ
 พูดให้มีจังหวะพอดีๆ ไม่ชา้ หรือเร็วเกินไป
 ก่อนติดต่อสือ่ สารควรฟังว่ามีผูใ้ ดใช้ความถีอ่ ยู่หรือไม่
ข้อควรปฏิบตั ิในการติดต่อสือ่ สารทางวิทยุ
(ต่อ)
 ควรกดคีย ์ 1 – 2 วินาที แล้วค่อยพูดและปล่อยคียเ์ มือ่ จบประโยค
 แจ้งนามเรียกขาน/สัญญาณเรียกขานของตัวเอง และนามเรียกขาน
/สัญญาณเรียกขานผูท้ ีเ่ ราจะติดต่อด้วยต้องขออนุ ญาตแม่ข่ายก่อน
 ไม่ควรพูดติดต่อสือ่ สารกันในช่องเรียกขาน
 ไม่ควรเรียกแทรกซ้อนเข้าไปขณะทีย่ งั มีการรับ-ส่งข่าวสารกันอยู่
 ไม่ควรเปิ ดเครือ่ งวิทยุคมนาคมเสียงดังรบกวนผูอ้ ื่น
 เมือ่ พูดติดต่อสือ่ สารจบประโยค หรือจบข้อความควรใช้คาว่า “เปลีย่ น”
 เมือ่ จบการติดต่อสือ่ สารถ้าจะขอบคุณคู่สนทนาให้ใช้คาว่า“ขอบคุณ”
ข้อพึง่ หลีกเลีย่ ง ในการใช้วิทยุสอื่ สาร
 รับส่งข่าวทางธุรกิจการค้า
 ติดต่อกับสถานีทีไ่ ม่ได้รบั อนุญาตให้ใช้
 ใช้รหัสลับนอกเหนือจากทีไ่ ด้รบั อนุญาต
 รับส่งข่าวสาร นอกเหนือไปจากราชการ
 การใช้ถอ้ ยคาหยาบคายไม่สุภาพ
 การรับ - ส่ง ข่าวสารทีล่ ะเมิดต่อกฎหมายบ้านเมือง
 ส่งเสียงดนตรีและรายการบันเทิงต่าง ๆ
ข้อพึง่ หลีกเลีย่ ง ในการใช้วิทยุสอื่ สาร
(ต่อ)
 กระทาการรบกวนต่อการสือ่ สารของสถานีอื่น
 ใช้นามเรียกขานปลอม หรือแอบอ้างนามเรียกขาน
 แย่งใช้ช่องสัญญาณติดต่อสือ่ สาร
 ยินยอมให้ผูอ้ ื่นทีไ่ ม่มีใบอนุ ญาตใช้สถานทีห่ รือเครือ่ งวิทยุ
 กระทาผิดกฎหมายวิทยุคมนาคมหรือกฎหมายอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
 ส่งข่าวทีต่ วั เองรูอ้ ยู่ว่าเป็ นเท็จทาให้เกิดความเสียหายต่อ
ประเทศชาติและประชาชน
สรุป การใช้วิทยุคมนาคมให้ถูกต้อง
๑. ความถี่
๒. เครือ่ งวิทยุคมนาคม
๓. คน (ผูใ้ ช้เครือ่ งวิทยุ)
Q&A
หากมีข้อสงสัยประการใด สามารถสอบถามได้ ท่ี
 โทรศัพท์ ๐๔๓-๒๐๒๖๐๐ – ๔
E-mail.
[email protected]