2. ZALHCW9 - ประชาสัมพันธ์

Download Report

Transcript 2. ZALHCW9 - ประชาสัมพันธ์

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุ ขภาพ
ผูส้ ูงอายุปี2552-2554
คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาสุ ขภาพผู้สูงอายุ
ของกระทรวงสาธารณสุ ข(ปี 2552-2554)
1. การพัฒนาระบบบริการสุ ขภาพผู้สูง
อายุ(ของสถานบริการสาธารณสุ ขทุก
ระดับและการบริการในชุ มชน โดยครอบ
คลุมทั้ง 4 มิติ) ส่ งเสริม ป้องกัน รักษา
และฟื้ นฟูสภาพ
2.การสร้ างและพัฒนาศักยภาพกาลังคน
ด้ านการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ
3.การสร้ างความเข้ มแข็งและการมีส่วน
ร่ วมของชุ มชนและภาคีเครือข่ ายด้ าน
ผู้สูงอายุ(ทั้งระดับ บุคคล ครอบครัว
ชุ มชน และสั งคม)
4.การบริหารจัดการเชิ งบูรณาการงาน
ด้ านผู้สูงอายุ
5.การพัฒนาองค์ ความรู้ และการศึกษา
วิจัยด้ านสุ ขภาพผู้สูงอายุ
แผนผู้สูงอายุแห่ งชาติฉบับที่ 2(พ.ศ 2554-2564)
1.ยุทธศาสตร์ การเตรียมความพร้ อมของ
ประชากรเพือ่ วัยสู งอายุทมี่ ีคุณภาพ
2.ยุทธศาสตร์ การส่ งเสริมผู้สูงอายุครอบคลุม
เรื่องการส่ งเสริมความรู้ ด้านการส่ งเสริมสุ ขภาพ
3.ยุทธศาสตร์ ด้านระบบคุ้มครองทางสั งคม
สาหรับผู้สูงอายุ
4.ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการ
5.ยุทธศาสตร์ การประมวลและพัฒนาองค์ ความ
รู้ และการติดตามประเมินผล
ทิศทางของผู้สูงอายุไทย
ทาไมต้ อง Long Term Care
การเปลีย่ นแปลงโครง
สร้ างประชากร...ก้าวสู่
สั งคมสู งอายุ
สุ ขภาวะในผู้สูงอายุ :
มีปัญหาด้ าน
- การประกอบกิจวัตร
ประจาวัน
- การทางานของสมอง
- สภาพจิตใจ
- สุ ขภาพกาย
- การเข้ าถึงบริการต่ างๆ
การเปลีย่ นแปลงโครงสร้ าง
ความสั มพันธ์ ของครอบครัว
- การพึง่ พิงผู้สูงอายุเพิม่ ราย
จ่ ายของครอบครัว/สั งคม
- ค่ านิยมความกตัญญูลดลง
สถานการณ์ ผู้สูงอายุ
ปี 2545
ปี 2550
ปี 2553
ปี 2565
เพิม่ ขึน้ เป็ น 5.9 ล้ านคน หรือร้ อยละ 9.4
เพิม่ ขึน้ เป็ น 7.0 ล้ านคนหรือร้ อยละ 10.7
เพิม่ ขึน้ เป็ นร้ อยละ 11.8
คาดว่ าจะมีผู้สูงอายุเพิม่ เป็ นร้ อยละ 18
แหล่งข้ อมูล : สานักงานสถิติแห่ งชาติ
แนวคิดการส่ งเสริมสุ ขภาพผู้สูงอายุ
กองทุนบานาญแห่ งชาติ
นโยบายที่บูรณาการ
ยุทธศาสตร์ ที่ปฏิบัตไิ ด้
ระบบบริการทางการ
แพทย์ คุณภาพ
การมีส่วนร่ วมของ
ท้ องถิน่
ต้ องพึง่ คนอืน่
- บริการทางการแพทย์
- ดูแลกายใจ สังคม
คุณภาพชีวติ ผู้สูงอายุ
แพทย์ /พยาบาล ฯลฯ
- บริการโรคเรื้อรัง
- ระบบส่ งต่ อ
ผู้ช่วยผู้ดูแล
- หลักสู ตร 1
- มาตรฐาน
- พัฒนาสมรรถภาพ
พึง่ ตนเองช่ วยคนอืน่ ได้
การดูแลที่บ้าน
ดูแลตนเองได้ บ้าง
- การดูแลทางกายใจ
- การดูแลทางสังคม
ศูนย์ ดูแลกลางวัน
วัดส่ งเสริมสุ ขภาพ
ส่ งเสริมสุ ขภาพไร้ พุง
คัดกรองสมองดี
อาสาสมัคร
สภา/ชมรม
ผู้ช่วยผู้ดูแล
- หลักสู ตร 2
- มาตรฐาน
- พัฒนาศักยภาพ
การดูแลในชุมชน
- อาสาสมัคร
- ชมรม
- เครือข่ ายพระสงฆ์
แนวคิดการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
เป้ าประสงค์
สนับสนุนการพึง่ ตนเองของผู้สูงอายุ
สนับสนุนคลังสมองของผู้สูงอายุ
พัฒนาศักยภาพชมรมผู้สูงอายุ
กิจกรรม
กลุ่มผู้สูงอายุ
ตรวจสุ ขภาพประจาปี
กิจกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพ
ส่ งเสริมการเป็ นจิตอาสา
พัฒนาคลังสมองในชมรมผู้สูงอายุ
พึง่ ตนเองได้
ตรวจสุ ขภาพประจาปี
Home Visit/Home Health Care
พัฒนาระบบบริการส่ งเสริมสุ ขภาพผู้สูงอายุ
กิจกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพเฉพาะโรค
เพิม่ ศักยภาพภาคีเครือข่ าย
สนับสนุนให้ ผู้สูงอายุมสี ่ วนร่ วมในกิจกรรมของ
ครอบครัว ชมรม ชุมชน วัด ฯลฯ
บริหารความสั มพันธ์ ภาคีเครือข่ าย
พัฒนาระบบบริการส่ งเสริมสุ ขภาพผู้สูงอายุ
เพิม่ ศักยภาพภาคีเครือข่ าย
ผลิตพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม
พึง่ ตนเองได้ บ้าง
ประเมินพฤติกรรมสุ ขภาพและตรวจสุ ขภาพ
ประจาปี
Home Visit/Home Health Care
กิจกรรมส่ งเสริมสุ ขภาพเฉพาะโรค
พัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุ
รู ปแบบสถานฟื้ นฟูสภาพชุมชน
รู ปแบบสถานบริบาลชุมชน
พึง่ ผู้อนื่
รู ปแบบการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long term care)
รพศ./รพท.
กลุ่มติดสั งคม
เป้ าหมาย : สุ ขภาพดี
ยืดระยะเวลาการเกิดโรค
บ้ าน
ระบบ LTC
รพช.
ในหน่ วยบริการ
สาธารณสุ ข
รพ.สต.
กลุ่มติดบ้ าน
เป้ าหมาย : สุ ขภาพดี
ยืดระยะเวลาการเจ็บป่ วย
กลุ่มติดเตียง
เป้ าหมาย : ลดภาวะการ
เจ็บป่ วยซ้าซ้ อน
ระบบ LTC
ในชุ มชน
ศูนย์ ส่งเสริม
สุ ขภาพ
ผู้สูงอายุใน
ชุ มชน
วัด
ความหมาย Long Term Care
หมายถึง : การดูแลทีค่ รอบคลุมทุกมิตทิ ้งั สั งคมสุ ขภาพ
เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้ อมสาหรับผู้สูงอายุทปี่ ระสบภาวะ
ยากลาบากอันเนื่องมาจากการเจ็บป่ วยเรื้อรัง หรือพิการทุพพลภาพ
ช่ วยเหลือตนเองได้ บางส่ วนหรือไม่ สามารถช่ วยตนเอง
ในชีวติ ประจาวันได้ โดยผู้ดูแลเป็ นบุคลากรด้ าน สุ ขภาพและสั งคม
และผู้ดูแลไม่ เป็ นทางการ (ครอบครัว ) รวมถึงการบริการใน ชุมชน
หรือสถานบริการ
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุท้งั ในสถานบริการและในชุมชน
2. เพือ่ พัฒนาระบบข้ อมูลสารสนเทศและวิชาการด้ านการดูแลรักษา
ผู้สูงอายุอย่ างเป็ นรู ปธรรม
3. เพือ่ พัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุ ผู้พกิ ารและป่ วยเรื้อรัง(ติดเตียง)
โดยบุคลากรสส.และทีมดูแลเยีย่ มบ้ าน
4. เพือ่ ส่ งเสริมสนับสนุนเครือข่ ายผู้ดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุผู้พกิ ารและ
ป่ วยเรื้อรัง(ติดเตียง
5. เพือ่ ส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของท้ องถิน่ ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
เป้ าหมายการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุระยะยาว
• ดูแลสุ ขภาพตั้งแต่ ยงั มีสุขภาพดี และยืดระยะเวลาของการมี
สุ ขภาพดีให้ ยาวนานทีส่ ุ ด
• ส่ งเสริมการรวมกลุ่มผู้สูงอายุ/ชมรมผู้สูงอายุและพัฒนา
ศักยภาพชมรมให้ เข้ มแข็ง สามารถดาเนินกิจกรรมอย่ างต่อเนื่อง
• ส่ งเสริมดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุทเี่ จ็บป่ วยเรื้อรัง มีภาวะทุพพลภาพ
ให้ หายหรือทุเลาจากการเจ็บป่ วย
• จัดกิจกรรมเพือ่ ลดความพิการหรือทุพพลภาพ
ตัวชี้วดั Node
ตัวชี้วดั ที่1 : อาเภอมีการดาเนินงานตาบลต้ นแบบดูแลสุ ขภาพ
ผู้สูงอายุระยะยาว
เป้าหมาย ร้ อยละ 60
ตัวชี้วดั ที่2 : ร้ อยละของผู้ทอี่ ยู่ในภาวะพึง่ พิง(ติดเตียง)ได้ รับการดูแล
สุ ขภาพทีบ่ ้ าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุ ข
เป้าหมาย ร้ อยละ 80
ตัวชี้วดั จังหวัด
ตัวชี้วดั ที่1 : ตาบลมีการดาเนินงานตาบลต้ นแบบดู
สุ ขภาพผู้สูงอายุระยะยาว
เป้าหมาย 1 อาเภอ : 1 ตาบล
ตัวชี้วดั ที่2 : ร้ อยละของผู้ทอี่ ยู่ในภาวะพึง่ พิง(ติดเตียง)ได้ รับการดูแล
สุ ขภาพทีบ่ ้ าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุ ข
เป้าหมาย ร้ อยละ 80
เกณฑ์ ตาบลต้ นแบบการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุระยะยาว
( Long Term Care : LTC )
หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินการดาเนินงานด้านการดูแลสุ ขภาพ
ผูส้ ูงอายุระยะยาวมี 6 ข้อดังนี้
1.มีขอ้ มูลผูส้ ูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ ตามความสามารถในการประกอบ
กิจวัตรประจา (Activities of Daily Living : ADL)
2.มีชมรมผูส้ ูงอายุผา่ นเกณฑ์ชมรมผูส้ ู งอายุคุณภาพ
3.มีอาสาสมัครดูแลผูส้ ูงอายุในชุมชน
เกณฑ์ การดาเนินงานตาบลต้ นแบบการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ
ระยะยาว ( Long Term Care : LTC )
4.มีบริ การดูแลสุ ขภาพผูส้ ูงอายุที่บา้ นที่มีคุณภาพ (Home Health Care)
โดยบุคคลกรสาธารณสุ ข
5.มีบริ การส่ งเสริ มป้ องกันทันตสุ ขภาพในโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ
ตาบล
6.มีระบบการดูแลผูส้ ูงอายุ กลุ่มที่ 2 (ติดบ้าน) และกลุ่มที่ 3 (ติดเตียง
บทบาทระดับจังหวัด
1.จัดทาแผนงาน/โครงการ
2.ประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน/คัดเลือกพื้นที่
3.แต่งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัด
4.จัดทาฐานข้อมูลผูส้ ูงอายุระดับอาเภอ/ตาบล
5. พัฒนาตาบลต้นแบบการดูแลสุ ขภาพผูส้ ูงอายุระยะยาว
6. สนับสนุนสื่ อ และเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
7. นิเทศ กากับ ติดตามผลการดาเนินงาน
8. สรุ ป/รายงานผลการดาเนินงาน
บทบาทระดับอาเภอ
1. จัดทาแผนงาน/โครงการระดับอาเภอ
2. แต่งตั้งคณะกรรมการระดับอาเภอ
3. จัดฐานข้อมูลประชากรกลุ่มผูส้ ูงอายุ 60 ปี ขึ้นไปเขตรับผิดชอบ
4. คัดกรองความสามารถการดาเนินกิจวัตรประจาวัน(Ativities of Daily
Living : ADL) ในกลุ่มผูส้ ูงอายุที่อายุ 60 ปี ขึ้นไป
• จัดทาทะเบียนจาแนกกลุ่มผูส้ ูงอายุตามผลการคัดกรองADL
เป็ นราย ตาบลให้ชดั เจน
บทบาทระดับอาเภอ(ต่ อ)
จัดทาทะเบียนกลุ่มผูส้ ูงอายุ ผูพ้ ิการ ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรัง (ที่ติดเตียง)
เป็ นรายตาบล
7. ร่ วมกับระดับตาบลจัดอบรมความรู ้เกี่ยวกับทักษะการดูแลสุ ขภาพ
ผูส้ ูงอายุ ผูพ้ ิการ และผูป้ ่ วยเรื้ อรัง (ที่ติดเตียง) แก่อสม.และ
ผูด้ ูแลผูส้ ูงอายุในชุมชน
8. กระจายสื่ อ และสิ่ งสนับสนุนต่างๆให้รพ.สต.
9. สนับสนุน นิเทศ ติดตาม และประเมินผลในระดับตาบล
10. สรุ ปรายงานผลอาเภอ ส่ งระดับจังหวัด
6.
ระดับตาบลรพ.สต.
1. จัดทาแผนงาน/โครงการระดับตาบล
2. แต่งตั้งคณะกรรมการระดับตาบล
3. จัดทาฐานข้อมูลผูส้ ูงอายุที่อายุ 60 ปี ขึ้นไปในเขต
รับผิดชอบ
ระดับรพ.สต.(ต่ อ)
4. คัดกรองADLในกลุ่มผูส้ ู งอายุที่อายุ 60 ปี ขึ้น
5. จัดทาทะเบียนจาแนกกลุ่มตาม ADLให้ชดั เจน
6. บริ การดูแลสุ ขภาพผูส้ ูงอายุ ผูพ้ ิการ ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรัง
(ที่ติดเตียง)ที่บา้ น(HHC)โดยบุคลากรสส.อย่างต่อเนื่อง
สวัสดี