แนวคิดหลักการ : การดูแลระยะยาว

Download Report

Transcript แนวคิดหลักการ : การดูแลระยะยาว

แนวคิดหลักการ:การดูแลระยะยาว
Long-term Care & Home Health Care
อะไร?....คือการดูแลระยะยาว
• การดูแลทีเ่ น้ นการช่ วยเหลือ ดูแล
แบบต่ อเนื่องเพือ่ ช่ วยเหลือในกิจกรรมที่ทาไม่ ได้
ในกลุ่มผู้ทมี่ ปี ัญหาเรื้อรัง มีข้อจากัดในการดูแล
ตนเอง เช่ นผู้ป่วย/ ผู้สูงอายุ อัมพฤกษ์ อัมพาต
สมองเสื่ อม อุบัตเิ หตุ พิการ
WHY ? Long-term Care
• Long-term care needs can be caused
by such things as motor vehicle
accidents, falls, sports injuries,
strokes, heart attacks, surgery,
illness, old age and fraility.
Healthy, active people of any age can
suddenly find themselves in the
situation where their lives are
changed.
WHEN ? Long-term Care
needed when someone are
not able to do some of the
basic "activities of daily
living" (ADLs) such as
bathing, dressing, toileting, or
moving from a bed to a chair
ปัจจัยทีเ่ พิม่ ความเสี่ ยงในความต้ องการการดูแลระยะยาว
•อายุ - ยิง่ อายุมากยิง่ มีโอกาสเสี่ยง
• สถานภาพสมรส - คนโสดมีแนวโน้ มต้ องว่ าจ้ างผู้ดูแล.
• เพศ –เพศหญิง อายุยนื แต่ ไม่ แข็งแรง.
• วิถชี ีวติ –พฤติกรรมสุ ขภาพทีไ่ ม่ ดี
• สุ ขภาพและประวัตคิ รอบครัว – พระเจ้ าให้ มา
HOW? Long-Term Care
• Long-term care is a variety of services and
supports to meet health or personal care
needs over an extended period of time
• Most long-term care is non-skilled personal
care assistance such as help performing
everyday Activities of Daily Living (ADLs) ได้ แก่
อาบนา้ แต่ งตัว การขับถ่ าย/การไปห้ องนา้ การเคลือ่ นที/่ ย้ าย
ที่ การรับประทานอาหาร
BY WHOM? Long-term care
• in home from an unpaid caregiver who can be a
family member or friend
• Services at your home from a nurse, home
health/home care aide, therapist, or homemaker;
• Care in the community
• Care in any of a variety of long-term facilities
• Paid services or paid caregiver
Sandwich generation
สภาพปัจจุบันเกีย่ วกับการดูแลระยะยาว
สาหรับผู้สูงอายุไทย
WHERE and HOW ?
Long-term Care
โรงพยาบาลผู้สูงอายุ
ศูนย์ ดูแลผ้ ูสูงอายุ เนอร์ สซิ่งโฮม
***
***
ผู้ดูแลทีว่ ่ าจ้ าง
ศูนย์ พฒ
ั นาการจัดการสวัสดิการสั งคมผู้สูงอายุ
• สถานสงเคราะห์ คนชรา : ศูนย์สาธิตด้านคนชราของ
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการจานวน 7 แห่ง
• สถานสงเคราะห์ คนชรา: โอนให้องค์การบริ หารส่ วน
ตาบล หรื อองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดจานวน 12 แห่ง
และ สถานสงเคราะห์ ประเภทพิเศษ จานวน 1 แห่ง
Home & Community-Based Services (HCBS)
แนวคิดการดูแลผู้สูงอายุท่ บี ้ าน/ในชุมชน
• การดูแลสุขภาพในชุมชน Community Care
การดูแลสุขภาพเบือ้ งต้ น
Health maintenance
Early detection of disease and appropriate treatment
การดูแลระยะยาว(Long-term Care)ให้ บริการในพืน้ ที่ ที่บ้านในชุมชน
Home health care
Home care/ home visit
การคงสภาพและการฟื ้ นฟูสภาพ
การดูแลระยะสุดท้ าย (การดูแลแบบประคับประคอง)
บริการดูแลสุ ขภาพทีบ่ ้ าน
(Home Health Care)
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชฉวาง
รู ปแบบบริการแบบกรุงเทพ 7
Community health worker
พนักงานสุ ขภาพชุมชน
ศูนย์ บริการผู้สูงอายุทบี่ ้ าน Kronus MobiCare
ศูนย์ ดูแลภายในชุมชน
Adult Day Service (ADS) Programs
•
•
•
•
ศูนย์ พฒ
ั นาการจัดการสวัสดิการสั งคมผู้สูงอายุ
ศูนย์ เอนกประสงค์
ศูนย์ สามวัย สานสายใยรักแห่ งครอบครัว
ศูนย์ ผ้ ูสูงอายุ
ศูนย์ บริการทางสั งคมผู้สูงอายุ (Day Center)
• จัดบริการแก่ ผ้ ูสูงอายุทอี่ ยู่กบั ครอบครัวได้ เข้ามาใช้ บริการ
ด้ าน สุ ขภาพอนามัย กายภาพบาบัด กิจกรรมนันทนาการ
สั งคมสงเคราะห์ กิจกรรมเสริมความรู้ และศาสนกิจ จัด
กิจกรรมต่ างๆตามความสนใจของสมาชิก
• บริการบ้ านพักฉุกเฉินสาหรับผู้สูงอายุทปี่ ระสบปัญหาความ
เดือดร้ อนต่ าง ๆ โดยพักอยู่เป็ นการชั่วคราว
ศูนย์ เอนกประสงค์ สาหรับผู้สูงอายุ
•
•
•
•
ป้องกัน ผ่ อนคลายความเหงาจากการมีกจิ กรรมร่ วมกัน
ให้ การดูแล บริการส่ วนตัวแก่ ผ้ ูสูงอายุเช่ น การแต่ งผม นวดตัว
การจัดบริการอาหารทีถ่ ูกหลักโภชนาการ
ส่ งเสริมสุ ขภาพโดยการจัดกิจกรรมต่ างๆ ทีเ่ หมะสม เช่ น การ
ออกกาลังกาย
• การจัดอุปกรณ์ เครื่องออกกาลังกาย อุปกรณ์ กายภาพบาบัด
ศูนย์ เอนกประสงค์ สาหรับผู้สูงอายุ
•
•
•
•
ให้ บริการด้ านการแพทย์ ทันตแพทย์ กายภาพ การตรวจต่ างๆ
การจัดกิจกรรมทางสั งคม สั นทนาการ เพือ่ ความเพลิดเพลิน
กิจกรรมหารายได้ แลกเปลีย่ นทักษะกัน
เป็ นแหล่ งเผยแพร่ ข้อมูล ข่ าวสาร ให้ คาปรึกษาหารือ ช่ วยเหลือ
ด้ าน สวัสดิการ กฎหมาย
• กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับการศึกษา วัฒนธรรม หรือศาสนา
โครงการอาสาสมัคร
การดูแลผู้สูงอายุ
Friendly visitor/companion
services
Home care /Homemaker/chore services
โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ( อผส.)
Transportation services
บริการอาหาร Meals programs
Others Types of Long-term care
• การดูแลแบบชั่วคราว Respite Care
• ระบบเรียกฉุกเฉิน Emergency
•
•
•
•
•
response systems
Adult Foster Care
Board and Care Homes
Assisted Living
Continuing Care Retirement
Communities (CCRCs)
Nursing Homes or Skilled
Nursing Facilities (SNF)
หมู่บ้านผู้สูงอายุ
Long stay
สาหรับผู้สูงอายุต่างชาติ
แผนผู้สูงอายุแห่ งชาติฉบับที่ 2
ยุทธศาสตร์ ท3ี่ : ยุทธศาสตร์ ด้านระบบคุ้มครองทางสั งคมสาหรับผู้สูงอายุ
มาตรการที่ 4 ระบบบริการและเครือข่ ายการเกือ้ หนุน
จัดตั้งและพัฒนาบริการทางสุ ขภาพและทางสั งคมใน
ชุมชนทีส่ ามารถเข้ าถึงผู้สูงอายุมากทีส่ ุ ดโดยเน้ นบริการถึง
บ้ าน และมีการสอดประสานกันระหว่ างบริการทาง
สุ ขภาพและทางสั งคม โดยควรครอบคลุมบริการ
ดังต่ อไปนี้
• ศูนย์ อเนกประสงค์ สาหรับผู้สูงอายุ (multipurpose senior
center)
•
•
•
•
•
•
•
•
ศูนย์ ดูแลกลางวัน (day care center)
บริการเยี่ยมบ้ าน (home visit)
บริการดูแลทีบ่ ้ าน (home care)
บริการสุ ขภาพทีบ่ ้ าน (home health care)
บริการชุ มชนเคลือ่ นทีไ่ ปในพืน้ ทีต่ ่ าง ๆ โดยเฉพาะพืน้ ทีห่ ่ างไกล
ส่ งเสริมการจัดตั้งระบบเฝ้ าระวัง เกือ้ กูล และดูแลผู้สูงอายุโดยชุ มชน
สนับสนุนระบบอาสาสมัคร
สนับสนุนและส่ งเสริมความรู้ความสามารถให้ กบั ผู้ดูแลผู้สูงอายุและ
อาสาสมัคร ผู้ดูแล
ดัชนีหมายเลข 35: (ใหม่ ) สั ดส่ วนของหมู่บ้านที่มโี ครงการบริการเพือ่ ผู้สูงอายุต่อจานวนหมู่บ้านทั้งหมด
โครงการบริการต่ างๆเพือ่ ผู้สูงอายุ
อัตราส่ วนร้ อยหมู่บ้านทีม่ ีบริการ เป้ าหมาย (2549)
25 %
(ดัชนีลาดับที่ 35)
กลาง
เหนือ
อีสาน
ใต้
รวมทั้งประเทศ
ศูนย์ เอนกประสงค์ สาหรับผู้สูงอายุ
ศูนย์ ดูแลผู้สูงอายุเวลากลางวัน
บริการเยีย่ มผู้สูงอายุทบี่ ้ าน
16.9
7.2
55.6
17.7
7.6
53.4
6.9
3.1
43.9
15.7
6.2
53.6
14.2
6.0
51.5
บริการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุทบี่ ้ าน
หน่ วยบริการเคลือ่ นทีส่ าหรับผู้สูงอายุ
61.9
55.9
61.7
54.4
56.3
49.2
59.9
50.0
60.0
52.7
ส่ งเสริมการจัดระบบดูแลผู้สูงอายุ
49.6
48.7
40.0
46.0
46.2
มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ
มีการส่ งผู้ดูแลหรืออาสาสมัครออกไปรับการ
อบรมเรื่องการดูแลผู้สูงอายุ
มีหน่ วยงาน/บุคคลภายนอกเข้ ามาให้ การอบรม
แก่ ผู้ดูแล/อาสาสมัครเรื่องการดูแลสู งอายุ
35.4
31.7
31.4
30.7
21.5
23.0
35.0
30.7
30.6
28.9
33.3
30.0
22.2
32.1
29.2
ทิศทาง อนาคต
และประเด็นท้ าทาย
ทิศทาง อนาคต ประเด็นท้ าทาย
•
•
•
•
•
•
•
พฤติกรรมสุ ขภาพของกลุ่มทีจ่ ะเข้ าสู่ วยั สู งอายุ ปัจจัยเสี่ ยงต่ อสุ ขภาพ
ขนาดครอบครัว จานวนบุตรทีล่ ดลง
การเลีย้ งบุตรทีเ่ น้ น “Child-centered”
การย้ ายถิ่น ของบุตรเพือ่ ไปทางานทีห่ ่ างจากครัวเรือนบิดามารดา
ความเข้ มแข็งของระบบครอบครัว ชุ มชน สั งคม ค่ านิยมในการดูแลผู้สูงอายุ
จานวนประชากรสู งอายุเพิม่ เร็วมากกว่ า > ระบบทีจ่ ะรองรับ
ระบบบริการส่ วนใหญ่ เน้ นการตั้งรับ งานเชิงรุกยังเพิง่ เริ่มต้ น เช่ นบริการ
สุ ขภาพในเชิง การป้องกัน การส่ งเสริมสุ ขภาพ โดยเฉพาะ 2nd prevention ใน
กลุ่มเสี่ ยงต่ อการเกิดโรคเรื้อรัง
ทิศทาง อนาคต ประเด็นท้ าทาย
• การเตรียมพร้ อม....ในการรองรับผู้สูงอายุทตี่ ้ องการ long- term care
• ความรู้ การตระหนักถึงปัญหาประชากรสู งอายุ การดูแลวัยสูงอายุของ
บุคลากรทางสุ ขภาพ
• เครือข่ ายทางสั งคมของผู้สูงอายุระดับชุมชน (community-based
approach) จะมีบทบาทมากขึน้ เพราะครอบครัวและเครือญาติจะมี
ข้ อจากัดในการดูแลผู้สูงอายุเพิม่ ขึน้ ในอนาคต
• การมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วน
ใครบ้ างทีเ่ กีย่ วข้ องกับผู้สูงอายุ (Stakeholders)
ราชการ/
บุคลากร
องค์กรอิสระ
ธุรกิจเอกชน
องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน
่
ผูน
้ าชุมชน
ิ ของชุมชน
ผูส
้ ง
ู อายุในฐานะสมาชก
เงือ่ นไข/ปัจจัยทีน่ าไปสู่ ความสาเร็จ
•
•
•
•
•
•
ทุนทางสั งคมทีเ่ ข้ มแข็ง
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมทีเ่ ข้ มแข็ง
ทุนทางเศรษฐกิจ
องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
ปฏิสัมพันธ์ และการสื่ อสาร
แนวนโยบายของรัฐ
Challenge:
•ทุนทางสั งคม ความเข้ มแข็งของชุมชน การมีส่วนร่ วมของชุมชน
อปท. ทีจ่ ะทาให้ เกิดรู ปแบบการดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชน
Community: Best Practice  KM
“รู ปแบบการดูแลสุ ขภาพสาหรับผู้สูงอายุในระยะยาวโดยชุ มชน”
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ (2549)
ชุ มชนตาบลบ้ านถา้ อาเภอดอกคาใต้ พะเยา
ชุ มชนตาบลศรีฐาน อาเภอป่ าติว้ จังหวัดยโสธร
ชุ มชนตาบลบุ่งค้า อาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุ พรรณบุรี
ชุ มชนตาบลปากพูน อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
• รูปแบบของการจัดบริการระดับปฐมภูมิ การออกกาลังกาย การคัดกรองโรค
ผู้สูงอายุ คลินิกเบาหวาน/ความดัน การเยีย่ มบ้ าน
• ที่ นครศรีฯ จัดเพิม่ บริการเยีย่ มบ้ านผู้ป่วยเรื้อรัง จัดระบบการดูแลฉุกเฉินและ
การส่ งต่ อ การให้ ความรู้ การตรวจสุ ขภาพประจาเดือน กายภาพ การฟื้ นฟู การ
ออกกาลังกายเพือ่ คุมปัจจัยเสี่ ยง และสายด่ วนให้ คาปรึกษาด้ านสุ ขภาพ
จังหวัดนนทบุรีการดูแลผู้สูงอายุโดยมีชุมชนเป็ นฐาน ที่
"ศูนย์ บริการทางสั งคมเพือ่ ผู้สูงอายุ ตาบลบางสี ทอง"
• อบรมอาสาสมัครดูแลผู้สุงอายุ โดย อผส. 1 คน ดูแลผู้สูงอายุ 5 คน
• การตรวจคัดกรองสุ ขภาพสาหรับผู้สูงอายุ ประเมินความเสี่ ยงต่ อ
โรคที่สาคัญ เช่ น ความดัน เบาหวาน สมองเสื่ อม ฯลฯ วัดรอบเอว
• การเยีย่ มบ้ านผู้สูงอายุทเี่ จ็บป่ วย ช่ วยตัวเองไม่ ได้ หรือเจ็บป่ วย
เรื้อรัง
• จัดเวทีประชาคม เวทีเครือข่ ายผู้สูงอายุ ศึกษาดูงาน และทาระบบ
ฐานข้ อมูล
แนวคิดการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)

ตรวจสุ ขภาพประจาปี
 สนับสนุนการพึง่ ตนเองของผู้สูงอายุ
 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
 สนับสนุนคลังสมองของผู้สูงอายุ

 พัฒนาศักยภาพชมรมผู้สูงอายุ

กลุม
่ ที่ 1 พึง่ ตนเองได้ (74%)
ส่ งเสริ มการเป็ นจิตอาสา
พัฒนาคลังสมองในชมรมผูส้ ู งอายุ

ตรวจสุ ขภาพประจาปี
 Home Visit / Home Health Care
พัฒนาระบบบริการส่ งเสริมสุ ขภาพผู้สูงอายุ
 บริหารความสั มพันธ์ ภาคีเครือข่ าย
 เพิม่ ศักยภาพภาคีเครือข่ าย
กิจกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพเฉพาะโรค
สนับสนุนให้ผสู ้ ู งอายุมีส่วนร่ วมกลุม่ ที่ 2 พึง่ ตนเองได้บา้ ง (24%)
ในกิจกรรมของครอบครัว ชมรม
ชุมชน วัด ฯลฯ
 ประเมินพฤติกรรมสุ ขภาพ
และตรวจสุ ขภาพประจาปี


ผู้สูงอายุ
 Home Visit / Home Health Care
 ผลิตพัฒนาองค์ ความรู้ และนวัตกรรม




กิจกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพเฉพาะโรค
กลุม
่ ที่ 3 พึง่ ผูอ
้ น
ื่ (2%)
พัฒนาศักยภาพผูด้ ูแลผูส้ ู งอายุ
รู ปแบบสถานฟื้ นฟูสภาพชุมชน
รู ปแบบสถานบริ บาลชุมชน
58
http://gotoknow.org/blog/km-dental-nonta/228211
เราจะไปทางไหนดี ?
เราจะไปทางไหนดี.....?
• ทาอย่ างไรให้ ระบบบริการสุ ขภาพมีคุณภาพ ประสิ ทธิภาพดีขึน้
สอดคล้องกับกลุ่มประชากรสู งอายุทเี่ พิม่ ขึน้
• ทาอย่ างไรให้ ระบบการคลังทางสุ ขภาพ อยู่ได้ ไม่ ล่ม
แต่ ละบุคคลต้ องร่ วมรับผิดชอบในการดูแลสุ ขภาพตนเอง ---วางแผน
ระบบภาษี / ประกันสุ ขภาพ / co-payment
• ทาอย่ างไรให้ บุคคลตระหนักถึงสุ ขภาพตนเอง
• ทาอย่ างไรทีจ่ ะคงความเข้ มแข็งของ ครอบครัว ชุ มชน ในการดูแลผู้สูงอายุ
• ทาอย่ างไรกับกลุ่มทีต่ ้ องการความช่ วยเหลือจริงๆ ต้ องมีระบบรองรับ
ขอบคณ
ุ ทีช่ ่ วยกันพัฒนา
รูปแบบการดูแลผ้ สู ู งอายรุ ะยะยาว