Transcript แพร่
รู้จักเมืองแพร่ ดขี นึ ้
ประวัติศาสตร์ เมืองเก่าอายุ 1,185 ปี จากตานานวัดหลวง
ประมาณ พ.ศ. 1371 พ่อขุนหลวงพล ราชนัดดาแห่งกษัตริย์น่านเจ้ าได้
อพยพคนไทย(ไทยลื ้อไทยเขิน)ลงมาสร้ างเมืองบนที่ราบริมฝั่ งแม่น ้ายม
ขนานนามว่า เมืองพลนคร สอดคล้ องกับศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง
มหาราชหลักที่1 ด้ านที่ 4 บรรทัดที่ 24-25 ซึง่ จารึกไว้ ว่า “...เบื ้องตีนนอน
รอดเมืองแพล เมืองน่าน ....เมืองพลัว พ้ นฝั่ งของเมืองชวาเป็ นที่แล้ ว ปลูก
เลี ้ยงฝูงลูกบ้ านลูกเมืองนันชอบด้
้
วยธรรมทุกคน...”
ประชาชนที่อาศัยในจังหวัดแห่งความสุขประเทศ จังหวัดแพร่ อยู่ใน
อันดับที่ 7 และมีแหล่งโอโซนที่ดีเป็ นอันดับที่ 7 ที่บ้านนาคูหา อาเภอ
เมืองแพร่ นอกจากนี ้ความอุดมสมบูรณ์ของป่ าคิดเป็ นสัดส่วนต่อพื ้นที่
เป็ นอันดับ 7 ด้ วย
ที่มา : เอแบคโพลล์ พ.ศ. 2556
มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2556
ข้ อมูลจากกรมป่ าไม้ พ.ศ. 2555
พื ้นที่ทั ้งหมด 6,538.59 ตารางกิโลเมตรเป็ นภูเขา
ร้ อยละ 80 มีที่ราบ เพียงร้ อยละ 20 ประชากรรวม
457,607คน สภาพที่ตั ้งเป็ นศูนย์กลางการคมนาคม
ขนส่งทางรถยนต์ และทางรถไฟที่สาคัญแห่งหนึ่งของ
ภาคเหนือและเชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบ้ าน จึง
เรี ยกได้ ว่าเป็ น “ประตูสลู่ ้ านนา“
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP)
21,502 ล้ านบาท
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ต่อหัว
41,593 บาท (ลาดับ 64)
ที่มา : สนง.คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส่วน
มูลค่ารวมผลิตภัณฑ์ฯ รายจังหวัด พ.ศ. 2555
ภาพรวมการพัฒนาจังหวัดแพร่
1
2
1
3
3
4
4
1
2
1
ตัวชีว้ ัดการพัฒนาจังหวัดแพร่ ต่ากว่ าเกณฑ์ เฉลี่ยของประเทศ 10 ตัวชีว้ ัด ดังนี ้
1. การสร้ างความสามารถในการแข่งขัน มีขนาดเศรษฐกิจ การเติบโตเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว และ
ผลิตภาพแรงงาน
2. การสร้ างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม มีสดั ส่วนคนจน สัดส่วนผู้อยูใ่ นระบบ
ประกันสังคม ค่าเฉลี่ย O-NET ม.3 และ ร้ อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะพวกซ้ อนได้ รับการดูแล
รักษา/ส่งต่อ
3. การสร้ างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม มี การเปลี่ยนแปลงพื ้นที่ป่าไม้
4. ประสิทธิภาพของภาครัฐมี การเข้ าถึงน ้าประปา
แพร่
แพร่เป็ นศูนย์กลางโครงข่ายคมนาคมทางถนนตาม
แนวพื ้นที่เศรษฐกิจเหนือใต้ (NSEC) เชื่อมโยง ไทย-พม่า/
ลาว-จีน และแนวพื ้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก
(EWEC) เชื่อมโยงเวียดนาม-ลาว
และเชื่อมโยงกับความร่วมมือกลุม่ เศรษฐกิจต่างๆ ได้ แก่
1. BIMSTEC เป็ นกรอบความร่วมมือทาง
วิชาการและเศรษฐกิจระหว่าง 7 ประเทศในอ่าวเบงกอล
ทาให้ ไทยอยูใ่ นสถานะเป็ นสะพานเชื่อมโยงอนุภมู ิภาคทัง้
สองและขยายความสัมพันธ์กบั ประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อินเดีย
2. ACMECS เป็ นข้ อตกลงความร่วมมือด้ าน
ธุรกิจระหว่างประเทศไทย,พม่า,ลาว,กัมพูชา และ
เวียดนาม เป็ นยุทธศาสตร์ ความร่วมมือที่สาคัญต่อการ
ส่งเสริมความเป็ นศูนย์กลางเศรษฐกิจของไทย
3. GMS เป็ นความร่วมมือของ 6 ประเทศ คือ
ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (ยูนนาน) เพื่อให้
เกิดการขยายตัวทางการค้ า การลงทุน และบริการสนับสนุน
การจ้ างงานและยกระดับความเป็ นอยูข่ องประชาชน พัฒนา
ความร่วมมือทางเทคโนโลยีและการศึกษาและใช้
ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้
โอกาสทางเศรษฐกิจในเวทีการค้ าโลก
4. (ASEAN) เป็ นเพื่อการร่วมมือกันทาง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ประกอบด้ วย 10 ประเทศ
ได้ แก่ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์
สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม พม่า
ไม้ ค ้ายันด่านถาวร 7 แห่ง
แพร่ เป็ นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อกับด่านการค้ า
ชายแดนทังหมด
้
7 ด่าน ได้ แก่
1.แม่สาย จังหวัดเชียงราย
2.เชียงแสน จังหวัดเชียงราย
3.เชียงของ จังหวัดเชียงราย
4.บ้ านฮวก จังหวัดพะเยา
5.ห้ วยโก๋น จังหวัดน่าน
6.ภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์
7.แม่สอด จังหวัดตาก
โดยมีมลู ค่าการค้ าขายผ่านด่านดังกล่าวถึง
71.5 พันล้ านบาท
ด่ าน
มูลค่ าการค้ า
(พันล้ านบาท)
1.แม่สาย
10.6
2.เชียงแสน
10.1
3.เชียงของ
8.0
4.บ้ านฮวก
0.2
5.ห้ วยโก๋น
2.8
6.ภูดู่
0.2
7.แม่สอด
39
รวม
ที่มา : กรมศุลกากร ปี 55
71.5
ศักยภาพในอนาคต
ปั จจุบนั โครงข่ายการคมนาคมขนส่งระหว่าง
จังหวัดเพื่อเชื่อมโยงไปยังจุดผ่านแดน/ประตู่สู่
การค้ ากับประเทศเพื่อนบ้ านยังไม่ได้ มาตรฐาน ซึง่
ในอนาคตรัฐบาลได้ กาหนดให้ มีการพัฒนา
โครงสร้ างพื ้นฐานของจังหวัดแพร่ให้ มีมาตรฐาน
และมีศกั ยภาพเพื่อรองรับการแข่งขันดังนี ้
1.การก่อสร้ างและขยายเส้ นทางจราจรจาก
2 ช่องทาง ให้ เป็ น 4 ช่องทางจราจร ใน 3 เส้ นทาง
หลัก ได้ แก่
(1) ทางหลวงหมายเลข 101 จากอาเภอ
ร้ องกวาง จังหวัดแพร่ ไป อาเภอเวียงสา จังหวัด
น่าน เชื่อมลาว
(2) ทางหลวงหมายเลข 103 จาก อาเภอ
ร้ องกวาง-อาเภอสอง จังหวัดแพร่ เชื่อมทางหลวง
หมายเลข 1 ที่อาเภองาว จังหวัดลาปาง ไปพะเยาเชียงราย เชื่อมพม่า ลาว จีน
(3) ทางหลวงหมายเลข 101 และหมายเลข 11 จากอาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ไปยังจังหวัดลาปางเชื่อม
กลุม่ จังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
2.การก่อสร้ างขยายเส้ นทางการจราจร ตามทางหลวงหมายเลข 1023 จากอาเภอเมืองแพร่ ไปอาเภอลองอาเภอวังชิ ้น ต่อทางหลวงหมายเลข 1124 จากอาเภอวังชิ ้น ไปจังหวัดลาปาง และจังหวัดตาก เชื่อมพม่า
3. การขยายท่าอากาศยานแพร่ เพื่อรองรับเครื่ องบินโบอิ ้ง 737-400 ซึง่ จะดาเนินการแล้ วเสร็ จในปี 2558
4.โครงการก่อสร้ างเส้ นทางรถไฟรางคู่ เส้ นทางเด่นชัย-เชียงราย-เขียงของ
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดแพร่
2 Axes
4 Belts
6 Zones
รัฐบาลมีนโยบายพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และได้กาหนดดาเนินการโครงการก่อสร้างเส้นทาง
รถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ ระยะทางรวม 326 กิโลเมตร ผ่าน 4 จังหวัด ได้แก่ แพร่ ลาปาง พะเยา
และเชียงราย มีจานวนสถานี 26 แห่ง เส้นทางรถไฟผ่านพื้นที่จงั หวัดแพร่ มีระยะทางประมาณ 82 กิโลเมตร
ผ่าน 5 อาเภอ 23 ตาบล จานวน 5 สถานี 6 แห่ง และนโยบายโครงการบริ หารจัดการน้ า 3.5 แสนล้านบาท
รวมถึงความเชื่อมโยงอนุภูมิภาค/อาเซียน ความเชื่อมโยงกับกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน และศักยภาพใน
อนาคตของจังหวัด จึงได้กาหนดศักยภาพยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด โดยกาหนดเป็ นแนวหรื อแกนใน
การพัฒนา
แกนหลักในการพัฒนา (Two Axes)
1. โครงการก่อสร้ างทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ เพื่อรองรับการการขยายตัวทางด้ านเศรษฐกิจและความ
เจริญในอนาคต
2. โครงการบริหารจัดการน ้าในแม่น ้ายมซึง่ เป็ นแม่น ้าสายหลักที่ประชาชนส่วนใหญ่ใช้ ในการทาเกษตรกรรม และ
กิจการอื่นๆโดยเฉพาะพื ้นที่ราบบริเวณสองฝั่ งแม่น ้าและยังมีลาน ้าสาขาที่สาคัญของแม่น ้ายม 16 สายหลัก เพื่อรองรับ
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดในด้ านการพัฒนาเกษตรคุณภาพสูง ป่ าเศรษฐกิจ และเป็ นศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ
(Rice Seed)
พัฒนาเมืองคู่ ปั ้นเศรษฐกิจ (Four belts)
จังหวัดได้ กาหนดการพัฒนาเมืองคู่ ปั น้ เศรษฐกิจ โดยได้ รับการเสนอจากพื ้นที่อาเภอที่มีศกั ยภาพที่โดดเด่นและมีความเชื่อมโยงกันตามศักยภาพของพื ้นที่ ได้ มีการจับคูก่ นั ระหว่างอาเภอเพื่อ
ดาเนินการในด้ านต่าง ๆ ดังนี ้
1. ด้ านการท่องเที่ยว ได้ แก่ อาเภอเมืองแพร่กบั อาเภอสอง โดยในปี 2556 มีผ้ เู ยี่ยมเยือน 832,642 คน
สร้ างรายได้ 1,336.22 ล้ านบาท
2. ด้ านเกษตรคุณภาพสูง ได้ แก่ อาเภอหนองม่วงไข่และอาเภอร้ องกวาง มีพืชเศรษฐกิจที่สาคัญคือ พริก ซึง่ มี
ปริมาณการผลิต 8,697 ตันต่อปี เป็ นอันดับ 1 ประเทศ ถัว่ เหลือง ปริมาณการผลิต 13,200ตันต่อปี เป็ นอันดับ 2 และ
ข้ าวมีปริมาณการผลิต 224,102 ตันต่อปี
3. ด้ าน OTOP ได้ แก่ อาเภอสูงเม่น และอาเภอเด่นชัย ในปี 2556 สินค้ า OTOP สร้ างรายได้ 343.8 ล้ านบาท
4. ด้ านป่ าเศรษฐกิจ ได้ แก่ อาเภอลองและอาเภอวังชิ ้น จังหวัดแพร่มีพื ้นที่ป่า ร้ อยละ 62.94 ของพื ้นที่ทงหมด
ั้
เป็ นอันดับ 7
ของประเทศ ซึง่ ป่ าส่วนใหญ่เป็ นไม้ เศรษฐกิจที่สร้ างรายได้ ให้ จงั หวัดแพร่ เช่น ไม้ สกั ไม้ ไผ่ และไม้ ผลต่างๆ เป็ นต้ น
พืน้ ที่เร่ งพัฒนา (Six Zones)
Yom River
Double Track
จังหวัดได้ กาหนดเขตพื ้นที่เร่งพัฒนา โดยยึดเอาการพัฒนาตามเส้ นทางรถไฟรางคูแ่ ละแม่น ้ายม ที่
ผ่านยังพื ้นที่ของจังหวัด การบริ หารจัดการน ้ายมตลอดจนการพิจารณาถึงจุดแข็งและศักยภาพความพร้ อมใน
ด้ านต่าง ๆ โดยได้ กาหนด 6 เขตพื ้นที่เร่งพัฒนา (Six Zones) ดังนี ้
1. Container Yard
สถานีลานวางตู้สนิ ค้ า
การขนส่งสินค้ าด้ วยตู้คอนเทนเนอร์
มุง่ หวังเพื่อขนส่งสินค้ าในเชิงปริมาณ ให้ ความ
สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลาและลดปั ญหาของ
สินค้ าเสียหาย ซึง่ ระบบการขนส่งทางถนนระยะ
ทางไกล จะสิ ้นเปลืองพลังงานมากส่งผลให้ ต้นทุน
สินค้ าสูงขึ ้นและขนส่งได้ ในปริมาณน้ อยเมือ่
เปรี ยบเทียบกับการขนส่งด้ วยระบบราง ดังนั ้นการ
พัฒนาให้ ระบบรางเป็ นระบบหลักในการขนส่ง
และระบบถนนเป็ นระบบสนับสนุน (Feeder) โดยมี
ลานวางตู้สนิ ค้ า (Container Yard) เพื่อใช้ เป็ นพื ้นที่
ขนถ่ายสินค้ าตามแนวเส้ นทางรถไฟ จะเป็ นการ
ส่งเสริมศักยภาพในการขนถ่ายสินค้ าจากระบบ
รางสูร่ ะบบถนน
ความเป็ นไปได้ ในการพัฒนาลานวางตู้สนิ ค้ าตามแนวเส้ นทางรถไฟสายเหนือเดิมที่มีอยูใ่ นจังหวัดแพร่มงุ่ สู่
จังหวัดเชียงใหม่ มี ๒ สถานี คือ สถานีเด่นชัย เป็ นสถานีรถไฟหลัก และสถานีย่อยอาเภอลอง อีกทั ้งในอนาคต ได้ รับการ
พิจารณาให้ เป็ นจังหวัดเริ่มต้ นของรถไฟรางคู่สดู่ ่านเชียงของที่จะเป็ นจุดเชื่อมระบบรางระหว่างประเทศ และนอกจากจะ
มีการขนส่งระบบรางที่มีศกั ยภาพ จังหวัดแพร่ยงั มีการพัฒนาระบบถนนที่เชื่อมต่อกับระบบรางในพื ้นที่ใกล้ เคียง ระหว่าง
ภาคเหนือตอนบน ๑ และภาคเหนือตอนบน ๒ ซึง่ เป็ นโครงการที่วางแผนโดยการรถไฟแห่งชาติที่จะพัฒนาระบบรถไฟ
รางคู่ เพื่อให้ การคมนาคมขนส่งด้ วยระบบรางมีความรวดเร็วและมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ ้น และที่สาคัญการขนส่งด้ วย
รถไฟนั ้น มีต้นทุนต่ากว่ารถยนต์ถึงปี ละ 50,000 ล้ านบาท รวมถึงจังหวัดแพร่ น่านและพะเยา มีสนิ ค้ าด้ านการเกษตรที่
ขนส่งอยู่แล้ วปี ละ 2,005,701 ตัน
สถานที่ตงั ้ Container Yard อ.เด่ นชัย
ถนนโครงการ (20 ม.)
Phase2
Phas
e1
- เนือ้ ที่ 268 ไร่ (ที่ทหาร)
- ก่ อสร้ างพร้ อมรถไฟสายเด่ นชัยเชียงของ
อาเภอเด่ นชัย
600
ไร่
268ไร่
ทล.11
Phase1
Phase 2
เขตทหาร
2,388 ไร่
- เนือ้ ที่ 600 ไร่ จัดสรรให้ เอกชน
ลงทุน
- พัฒนาเป็ น Distribution Center,
Cargo และ CY เต็มรู ปแบบ
- ขนส่ งสินค้ าภายในประเทศ
และสินค้ านาเข้ า - ส่ งออก, ICD
แนวทางดาเนินการ
-ให้ รฟท. ก่อสร้ าง CY งบ 100ลบ.
จากงบรถไฟทางคู่ (77,275 ลบ.)
-ขยายและก่อสร้ างโครงข่ายถนน
1.กว้ าง 20 ม. ยาว 7.5 กม.
2.กว้ าง 16 ม. ยาว 1 กม.
-ให้ กรมโยธาธิการศึกษาวางผังพัฒนา
พื ้นที่เพิ่มเติม Phase 2
สร้ างมูลค่าเพิ่มปี ละ 600 ล้ านบาท
5 ปี เป็ น 3,000 ล้ านบาท
2. New Economic
Zone เมืองแพร่ได้ถกู กาหนดให้ เป็ นเขตพื ้นที่เมืองเก่า
อ.เมือง
กลุม่ ที่ 2 และมีการกาหนดกรอบแนวทางการอนุรักษ์
บนหลักของการพัฒนาเมืองเชิงอนุรักษ์ ดังนันการ
้
ดาเนินการใด ๆ ในเขตพื ้นที่เมืองเก่าเพื่อรองรับการ
ขยายตัวทางด้ านเศรษฐกิจในอนาคตไม่สามารถทาได้
ด้ วยเหตุนี ้จึงมีความจาเป็ นที่จะต้ องหาพื ้นที่พฒ
ั นา
เศรษฐกิจใหม่ของจังหวัด โดยได้ กาหนดตาบลน ้าชา
อาเภอเมืองเนื ้อที่ 60 ตารางกิโลเมตร ซึง่ มีศกั ยภาพ
รองรับเส้ นทางทางรถไฟ (สถานีแพร่ กบั สถานีแม่คามี)
สาหรับใช้ เป็ นเขตพื ้นที่เศรษฐกิจใหม่
ในปี งบประมาณ พ.ศ.2557 ในพื ้นที่ศนู ย์
ราชการ 625 ไร่ ได้ มีการก่อสร้ างโครงการขนาดใหญ่
ศูนย์รวบรวมและถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมชันสู
้ ง
ด้ านการเกษตร(Science Center)โดย
กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และการก่อสร้ าง
วิทยาลัยชุมชนจังหวัดแพร่ และสนามกีฬามาตรฐาน
สาหรับในอนาคตจะได้ มีการผลักดันให้ เกิด
มหาวิทยาลัยแพร่ และศูนย์บริ หารราชการเพื่อใช้ เป็ น
สถานที่ราชการและสถานที่สาหรับเอกชนในการ
บริ หารจัดการด้ านการค้ า และการลงทุนตลอดจนการ
จัดทาผังเมืองให้ เป็ นระบบเพื่อแบ่งแยกพื ้นที่ให้ เกิด
ความเหมาะสมทังเขตศู
้
นย์ราชการ เขตพานิชยกรรม
เขตที่อยูอ่ าศัย เป็ นต้ น
6.สวนป่ า
ชุมชน
4.บ้ านพักข้ าราชการ
แนวทางดาเนินการ
3.ศูนย์ ราชการ
2.มหาวิทยาลัยแพร่
• สนับสนุนการก่ อตัง้ มหาวิทยาลัยแพร่
และย้ ายศูนย์ ราชการออกมาสร้ างเป็ น
ศูนย์ บริหารราชการ
• ให้ กรมโยธาธิการฯ กาหนดให้ แพร่
เป็ นพืน้ ที่จัดรูปที่ดนิ เพื่อพัฒนาเมือง
ในปี 57 ตาม พรบ.จัดรูปที่ดินเพื่อ
พัฒนาพืน้ ที่ ปี 47
1.พิพิธภัณฑ์
วิทยาศาสตร์
เพิ่มมูลค่ าทางเศรษฐกิจ
มากกว่ า 28,500 ล้ านบาท
5.ศูนย์ กีฬา
ผังแม่ บทมหาวิทยาลัย
3. Agro-Industrial
เขตอุตสาหกรรมการเกษตร
สอง
สถานีสอง
สถานีหนองเสีย้ ว
เพื่อรองรับการกระจายอุตสาหกรรมใน
ต่างจังหวัด การศึกษาพื ้นที่จงึ เป็ นสิ่งจาเป็ น
เพื่อให้ มีการจัดตั ้งเขตประกอบอุตสาหกรรมใน
พื ้นที่ที่เหมาะสมสะดวกในการสนับสนุนและ
กากับดูแลการประกอบกิจการโรงงานให้ เกิด
ความเป็ นระเบียบ ทั ้งด้ านผังเมือง การควบคุม
สิง่ แวดล้ อม รวมไปถึงการใช้ ทรัพยากรที่ดินให้
เกิดประโยชน์สงู สุด จังหวัดแพร่จงึ ได้ กาหนดเขต
พื ้นที่อาเภอสอง ซึง่ มีศกั ยภาพที่จะให้ เป็ นเขต
อุตสาหกรรม (Industrial Zone) เนื่องจากมี
จุดเด่นในด้ านเป็ นจุดเชื่อมเส้ นทางรถไฟและถนน
ในปี 2544 มีรายงานการศึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงอุตสาหกรรมที่ระบุถึงความเหมาะสม
ของการตั้งเขตอุตสาหกรรมในพื้นที่ตาบลบ้าหนุน อาเภอสอง โดยเน้นไปที่อุตสาหกรรมแปรรู ปสิ นค้าเกษตรหรื อ
อุตสาหกรรมการเกษตรรวม 14 ชนิด มีพ้ืนที่วา่ งสามารถรองรับการพัฒนาเป็ นเขตอุตสาหกรรมได้ไม่นอ้ ยกว่า 2 ตร.กม.
รวมทั้งมีโครงสร้างพื้นฐานไว้รองรับอย่างเพียงพอตลอดจนมีวตั ถุดิบสิ นค้าทางด้านการเกษตรไว้รองรับจานวนมาก เช่น
ข้าว ข้าวโพด พริ ก ถัว่ เหลือง ฯลฯ แนวทางในการดาเนินงานโดยกาหนดให้มีการศึกษาชิงลึกถึงแนวทางการพัฒนาเขต
อุตสาหกรรมแปรรู ปสิ นค้าเกษตร การวางผังแม่บทเขตอุตสาหรรม และการวางและจัดทาผังเมืองรวมชุมชนโดยรอบ
ตลอดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการขนส่งระบบราง
แนวทาง
ดาเนินการ
สิ่ งที่จะขอ
อาเภอสอง
เขตอุตสาหกรรม
การเกษตร
-ให้ กระทรวงอุตสาหกรรม
ศึกษา ทบทวนและกาหนด
เขตประกอบการอุตสาหกรรม
การเกษตร
-ให้ กรมโยธาฯวางผังเมืองพืน้ ที่
ชุมชนโดยรอบ
สถานีรถไฟ
สอง
มูลค่าทางเศรษฐกิจที่คาดว่าจะ
ได้ รับจากการสร้ างพื ้นที่อตุ สาหกรรม
ด่ านนางฟ้า
คิดเป็ นมูลค่า 3,750
บาท
ล้ าน
4.FURNITURE CITY
จังหวัดแพร่มีประวัติศาสตร์ ความผูกพันและมีภมู ปิ ั ญญาความรู้ในเชิงช่างไม้ มายาวนาน เมื่อ 138 ปี ที่
แล้ ว ตามหลักฐานการบันทึกในอดีต และในปี 2508 เริ่มมีการตั ้งร้ านค้ าเฟอร์ นิเจอร์ ไม้ สกั จนกระทัง่ ปี 2540 เกิด
วิกฤตเศรษฐกิจ (ต้ มยากุ้ง) ต่อมาในปี 2545 มีนโยบาย OTOP ชาวแพร่จงึ กลับมาทาเฟอร์ นิเจอร์ ไม้ สกั อีกครัง้ พร้ อม
องค์ความรู้ด้านการออกแบบและการจัดการ ปั จจุบนั จังหวัดแพร่มีโรงงานอุตสาหกรรมไม้ 1,708 โรง โดยมีแหล่ง
วัตถุดิบรวม 152,650 ไร่ และมีมลู ค่าทางการค้ าจานวน 5,000 ล้ านบาทต่อปี โดยในปี 2558 จะเกิดเสรี ทางการค้ า
ASEAN เฟอร์ นิเจอร์ ไม้ จากกลุม่ ประเทศอาเซียนจะเข้ ามาแข่งขันทางการตลาด จังหวัดแพร่จงึ กาหนดยุทธศาสตร์ การ
พัฒนาจังหวัด ช่วงปี 2558-2561 สูก่ ารเป็ น Furniture City ซึง่ ตั ้งเป้าหมายจะสร้ างรายได้ มลู ค่า 12,000 ล้ านบาทต่อปี
ในปี 2561 โดยออกแบบและพัฒนาสินค้ าเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน (Comprehensive Advanced : CA)
สร้ างอัตลักษณ์เฉพาะตัว (Corporate Identity) และเกิดมูลค่าเพิ่ม (Value Creation) สร้ างการตลาดเชิงรุกและ
ประชาสัมพันธ์ เพื่อมุง่ สูก่ ารเป็ น Furniture City
แนวทางดาเนินการ
แพร่ อาสาเป็ นเจ้ าภาพจัด : International Teak Symposium
เพื่อสร้ างภาพลักษณ์ โอกาส องค์ ความรู้ เครือข่ าย
ขยายกาลังการผลิต โดยให้ ออป. จัดตัง้ เครื่ องจักรรองรั บ
การผลิตไม้ แปรรู ปและอบไม้ เป็ นวัตถุดบิ 19 ล้ านบาท
4,000 ลบ.ม./ปี
สร้ างความเข้ มแข็ง ทุนหมุนเวียน 9 สหกรณ์
32 ล้ านบาท
ปรั บปรุ งซ่ อมแซมพิพธิ ภัณฑ์ ไม้ สัก ในโรงเรี ยนป่ าไม้ แพร่
(ที่ตงั ้ สานักงาน บ.อิสเอเชียติก เมื่อ 100 กว่ าปี )
50 ล้ านบาท
ห้ องสมุดธรรมชาติ (Teak Nature Library) เป็ นป่ าปลูกที่ใหญ่ ท่ สี ุดในโลก
แบบครบวงจร (ป่ าแม่ พวก อ.เด่ นชัย) ในระบบ Rotation Cropping)
ภาคเอกชนเกิดความเชื่อมั่นในการลงทุน
- Furniture Center
- New Economic Zone
6,000 ลบ.ม./ปี
20 ล้ านบาท
สร้ างมูลค่ าเพิ่ม 5,000 ล้ านบาท/ปี
เป็ น 12,000 ล้ านบาท/ปี
5. Rice Seed
ประเทศไทยมีพื ้นที่ปลูกข้ าวหอมมะลิประมาณ 19.20 ล้ าน
ไร่ ในแต่ละปี มีความต้ องการใช้ เมล็ดพันธุ์ 192,000 ตัน แต่ภาค
ราชการและเอกชนสามารถผลิตได้ เพียง 72,000 ตัน จึงทาให้ ขาด
แคลนเมล็ดพันธุ์ถงึ 119,100 ตัน จังหวัดแพร่ ปลูกข้ าวหอมมะลิ
ประมาณ 50,699 ไร่ ส่วนใหญ่เป็ นการปลูกเพื่อบริ โภคและเข้ าสู่
โครงการรับจานาของรัฐบาลถึง 39,249 ไร่ 21,586 ตัน ผลิตเมล็ด
พันธุ์เพียง 1,450 ไร่ 790 ตัน ดังนันเพื
้ ่อเป็ นการแก้ ไขการขาด
แคลนเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิที่มีคณ
ุ ภาพดีดงั กล่าวข้ างต้ น ปั ญหา
ภาระการรับจานาข้ าวของรัฐบาล การเพิ่มมูลค่าสินค้ าเกษตร
ตลอดจนเป็ นการยกระดับรายได้ ของเกษตรกรผู้ปลูกข้ าวหอมมะลิ
จังหวัดแพร่มีศกั ยภาพในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ มีหน่วยงานวิจยั และผลิต
เมล็ดพันธุ์ข้าวในพื ้นที่ (ศูนย์วิจยั ข้ าวแพร่และศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวแพร่) จึงทาให้ กลุ่มเกษตรกร
ในจังหวัดมีความรู้ความชานาญในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ผลิตต่อไร่สงู กว่าค่าเฉลี่ยของ
ประเทศ (จังหวัดแพร่ 640 กก./ไร่ ประเทศ 383 กก./ไร่) พื ้นที่ถือครองการเกษตรเฉลี่ยต่อ
ครัวเรื อน(5 ไร่/ครัวเรื อน) ทาให้ สามารถดูแลแปลงเมล็ดพันธุ์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
(Labour intersive) จากสถานการณ์และศักยภาพดังกล่าว จังหวัดแพร่จงึ มี
ยุทธศาสตร์ ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ ๑๐๕ เพื่อเป็ น “ศูนย์พฒ
ั นาและผลิตเมล็ด
พันธุ์ข้าวคุณภาพสูง (Rice Seed)
ในปี 2558-2561 จังหวัดแพร่ได้ ตั ้งเป้าหมายเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิแพร่โดยการเพิ่มพืน้ ที่ให้ ถงึ 90,000ไร่
ซึง่ จะได้ ผลผลิต 45,000 ตัน คิดเป็ นมูลค่า 1,305 ล้ านบาท (29บาทต่อกิโลกรัม) ลดภาระการจานาข้ าวหอมมะลิ
ของรัฐบาลได้ ถึง 810 ล้ านบาท(18,000บาทต่อตัน) สร้ างผลผลิตและมูลค่าเพิ่ม 2,307 ล้ านบาท(37 กก/ไร่ ราคา
13.86บ./กก.) เมื่อนามูลค่า,การลดภาระการจานาและผลผลิต/มูลค่าเพิ่ม มารวมกันจะให้ ประเทศมีรายได้
เพิ่มขึ ้น 4,422 ล้ านบาท
Mapping โรงงำนแปรสภำพเมล็ดพันธุ์ภำคเหนือ
เชียงรำย
3 แห่ ง 713 ตัน
เชียงใหม่
3 แห่ ง 516 ตัน
พะเยำ
3 แห่ ง 1,292 ตัน
ลำปำง
3 แห่ ง 690 ตัน
แพร่
4 แห่ ง 790 ตัน
เป้าหมายเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิแพร่
ปี
58
59
60
รวม
1.พื้นที่
20,000 ไร่
30,000 ไร่
40,000 ไร่
90,000 ไร่
2.ผลผลิ ต
10,000 ตัน
15,000 ตัน
20,000 ตัน
45,000 ตัน
3.มูลค่า
290
435
580
1,305
(29 บาท/กก.)
ล้ านบาท
ล้ านบาท
ล้ านบาท
ล้ านบาท
4.ลดภาระ
การจานา
180
ล้ านบาท
270
ล้ านบาท
360
ล้ านบาท
810
ล้ านบาท
1 ล้ านไร่
1.5 ล้ านไร่
2 ล้ านไร่
4.5 ล้ านไร่
512
ล้ านบาท
769
ล้ านบาท
1,025
2,307
ล้ านบาท
ล้ านบาท
(18,000 บาท/ตัน)
5.กระจายเมล็ดพันธุ์
(10 กก./ไร่ )
6.ผลผลิ ต/
มูลค่าเพิ่ ม
(37 กก./ไร่ ราคา
13.86 บ./กก.)
รวม 3+4+6 มูลค่า 4,422 ล้านบาท
ที่มา : กรมการข้ าว, สมาคมโรงสีข้าวไทย
แนวทางดาเนินการ
ปี 58
ปี 57
ของบประมาณ
ขอสนับสนุนเมล็ดพันธุ์
- ก่อสร้ างศูนย์พัฒนาและ
ปรับปรุงเมล็ดพันธุ์
จากกรมการข้ าว
200 ตัน
151 ล้ านบาท
ปี 58
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อจัดซื้อคืน
ผลผลิต
(จัดหาแหล่งเงินกู้ปลอด
ดอกเบี้ยจากกองทุนช่วยเหลือผู้
ที่ได้ รับผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก
การเปิ ดเสรีทางการค้ า
(FTA)และ/หรือกองทุน
สงเคราะห์เกษตรกร(FAF))
“เมืองผลิตเมล็ดพันธุ ์
ข้าวคุณภาพสูง
(Rice Seed)”
ปี 58
- GAP Seed
- บุคลากรปฏิบัติงาน
จากงบจังหวัด
275 ล้านบาท
สร้ างรายได้ มูลค่ารวม
4,422 ล้านบาท
แก้ ไขปัญหาขาดแคลนของประเทศ
45,000 ตัน
6.
Liquor สุราพืน้ บ้านจังหวัดแพร่ โดย
เฉพาะที่ตาบลสะเอียบ อาเภอสอง
มีประวัติต้มสุราเกือบ 200 ปี และมี
ภูมปิ ั ญญาชาวบ้ านที่เชี่ยวชาญ
ด้ านการผลิตสุราพื ้นบ้ าน มีแหล่ง
น ้าซึง่ เป็ นวัตถุดิบในการนามาปรุง
เหล้ าจากหล่มด้ งซึง่ เกิดจากการ
ยุบตัวของภูเขาไฟ สร้ างรายได้ จาก
การจาหน่ายสุรามากกว่า 1,000
ล้ านบาท และเสียภาษีให้ กบั ภาครัฐ
เกือบ 400 ล้ านบาท/ปี และเป็ น
แหล่งผลิตสุราชุมชนจากข้ าวเหนียว
ที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศไทยและจัด
จาหน่ายไปยัง 33 จังหวัดใน
ปริมาณ 15ล้ านขวดต่อปี
แนวทางในการพัฒนาสุราพื ้นบ้ านของอาเภอสองให้ เป็ น “สุราพื ้นบ้ านสัญลักษณ์ของประเทศไทยสาหรับเป็ น
ของที่ระลึก (Souvenir) เน้ นตลาดบน รองรับ AEC” ยกระดับให้ เทียบเท่ากับ เหมาไถ-จีน และสาเก-ญี่ปนุ่ เน้ นตลาด
เฉพาะกลุม่ (Niche Market) ส่งเสริมการดื่มเพื่อสุขภาพมีความปลอดภัย โดยรัฐเข้ าไปชี ้ช่องทางการตลาดและ
แนวทางให้ กบั ผู้ประกอบการ ทั ้งการปรับปรุงคุณภาพ การออกแบบบรรจุภณ
ั ฑ์ และการตลาด เป็ นต้ น ในส่วนนี ้จะ
เน้ นที่ตลาดล่างและกลาง สาหรับตลาดบนรัฐจะใช้ R&D เข้ าไปมีบทบาทในกระบวนการผลิตในทุกขั ้นตอน การจัดตั ้ง
โรงงาน
นาร่อง การสร้ างแบรนด์ การออกแบบบรรจุภณ
ั ฑ์ การนาเอา Story วิถีชีวิตท้ องถิ่นไปสร้ างเรื่ องราวให้ เกิดความ
น่าสนใจและเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว ตลอดจนการส่งเสริมการตลาด การประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ สรุ าพื น้ บ้ านของ
จังหวัดเป็ นที่ยอมรับและมีชื่อเสียงสามารถสร้ างรายได้ ให้ กบั ภาคส่วนต่าง ๆ ได้ อย่างยัง่ ยืน
แนวทำงดำเนินกำร
สุราพืน้ บ้ าน
พัฒนาคุณภาพ สุราพืน้ บ้ านสะเอียบ
สุราจังหวัด
-โรงงานนาร่ อง กระบวนการผลิตอย่ างครบวงจร
-ศูนย์ R&D สุรา และบรรจุภัณฑ์
สุราประเทศ
ไทย
- สร้ าง Brand และ การตลาด
- เปิ ดโอกาสให้ ภาคเอกชนเข้ ามาลงทุน
- เพิ่มมูลค่าการค้ าเป็ น 3,000 ล้ านบาท/ปี
เป้ำหมำยกำรลงทุนเพือ่ กำรพัฒนำจังหวัด
หน่ วย
ลงทุน
2558
2561
2565
ตร.กม.
6,538
6,538
6,538
ประชากร
คน
471,472
485,759
505,483
จานวนผูม้ ี
งานทา
คน
282,883
291,455
303,289
GPP
ล้านบาท
28,185
44,931
50,140.64
GPPต่อคนมี
งานทา
บาท/คน/ปี
99,634
154,161
165,322
งบประมาณจาก
รัฐบาล
ล้านบาท
7.5
8.9
10.0
พื้นที่
ระดับการศึกษา จานวนปี เฉลี่ย
เฉลี่ย
ที่เรี ยน
1,552.67