ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา Modernization Theory (1950-1960) กลุ่มทฤษฎีกระแสหลัก

Download Report

Transcript ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา Modernization Theory (1950-1960) กลุ่มทฤษฎีกระแสหลัก

ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา
(Development Theory and Concepts)
กลุม่ ทฤษฎีกระแสหลัก
Modernization Theory
(1950-1960)
ประเด็นทฤษฎีภาวะทันสมัย (Modernization Theory)
มุ่งสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ด้วย :
- กระบวนการพัฒนาอุตสาหกรรม
- การจัดโครงสร้างทางการเมือง
- การบริหารแบบประเทศตะวันตก
วัดผล : การเพิ่มรายได้ / การพัฒนาเมือง
ผลการพัฒนา : ภาคอุตสาหกรรม
ภาคเกษตร
ภาคการค้าและธุรกิจ
ภาคการเงินและธนาคาร
ภาคก่อสร้าง และภาคอื่นๆ
ความหมายของความทันสมัย (Modernization)
J.G. Taylor
ความทันสมัยเป็ นกระบวนการ การพัฒนาที่
ประเทศในโลกที่สามทั้งหลายพยายามที่จะเดินตามทาง
จากแบบดั้งเดิมไปสู่ ความเป็ นสมัยใหม่ ด้วย
ทุนนิยมอุตสาหกรรม ตามแบบอย่างของยุโรปและ
อเมริกาเหนือ
Sunkel, Ferenzalida, O’ Brien, Landon และคณะ
ความทันสมัยเป็ นการรวมตัวกันของระบบ
ทุนนิยมโลก โดยกระบวนการของการนาเอาเทคโนโลยี
ชั้นสูงไปใช้เป็ นแบบแผนการบริโภค ตลอดจนวิถีชีวิต
ในด้านต่างๆ
Ankie M.M. Hoogvelt
3 ด้าน
ความทันสมัยทางด้านเศรษฐกิจ
1. จากเศรษฐกิจแบบเก่า ไปสู่แบบใหม่ ที่คานึงถึงผลกาไรสูงสุด
2. การมีตลาดและเงินตราเป็ นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
3. ระบบเศรษฐกิจและสังคมแบบเสรี
4. การเกษตรเพื่อการค้าและอุตสาหกรรม
5. การแบ่งแยกงานตามความถนัดและชานาญการ
ความทันสมัยทางสังคมและวัฒนธรรม
1. ความเสมอภาคทางสังคม
2. ยึดถือกฎหมายเป็ นหลักในการควบคุมสังคม และยอมรับในทรัพย์สินส่วนบุคคล
3. มีการเคลื่อนย้ายและเลื่อนชั้นสูงและเป็ นอิสระ
4. มีกลุม่ ชมรม หรือองค์กรอาสาสมัครในรูปของสถาบัน
5. มีระบบครอบครัวแบบครอบครัวเดี่ยว
ความทันสมัยทางการเมือง
เป็ นระบบการเมืองที่มีความหลากหลายในโครงสร้างระบบ มีองค์กรประชาธิปไตย
ที่ให้สิทธิ์เสียงในการเลือกตั้งแก่ประชาชน ด้วยระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรค
ความเป็ นมาของการนาเสนอแนวคิด
1. ความสาเร็จของการฟื้ นฟูยุโรปภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายใต้
แผนการ Marchall (1945-1955) = ERP (European Recovery
Progamme)
โครงการบูรณะประเทศอุตสาหกรรมยุโรปตะวันตกจากหายนะสงครามโลกครั้งที่ 2
- เพิ่มบทบาทรัฐบาลในการวางแผนเพื่อพัฒนาสร้างความเจริญเติบโต
- อาศัยทุนและความช่วยเหลือระหว่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐตาม Marshall Plan
สมัยประธานาธิบดี Truman
- เป้ าหมายต้องการให้อตั ราการเติบโตเศรษฐกิจไม่ต ่ากว่า 5% ต่อปี ใน England
Italy France Western German
ความเป็ นมาของการนาเสนอแนวคิด
2. แนวความคิดนักทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการกาหนดทฤษฎีความทันสมัย
2.1 นักทฤษฎีเศรษฐศาสตร์พฒ
ั นาการ
W.W.Rostow เสนอแนวคิด การสร้างความเจริญเติบโตตามลาดับขั้น (The Stages of
Growth) เชื่อว่า
“การพัฒนามีแนวทางเดียวที่ใช้ได้กบั ทุกสังคม
หนังสือชื่อว่า The Stages of Economic Growth : A Non Communist Manifesto ปี 1960
สังคมต่างๆ มีลาดับขั้นความเจริญเติบโตอยู่ 5 ขั้นตอน และไม่มีการข้ามขั้นตอนในการพัฒนา ยัง
เป็ นแนวทางการขจัดปั ญหาสภาวะสังคมทวิภาค (Dualistic Society) ที่เกิดความไม่เท่าเทียมกัน
ระหว่างสาขาการผลิตและพื้นที่
ความเป็ นมาของการนาเสนอแนวคิด
2. แนวความคิดนักทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการกาหนดทฤษฎีความทันสมัย
2.2 นักทฤษฎีสงั คมวิทยา
ความคิดของ Max Weber และ Talcott Parson ถูกนามา
ประยุกต์ใช้กาหนดแนวทาง
2.1 สังคมทันสมัย
2.2 สถาบันทันสมัย
2.3 บุคคลทันสมัย
ความเป็ นมาของการนาเสนอแนวคิด
2. แนวความคิดนักทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการกาหนดทฤษฎีความทันสมัย
2.3 นักรัฐศาสตร์และนักรัฐประศาสนศาสตร์
Samuel P. Hungtintion เสนอแนวความคิดและทฤษฎีความทันสมัย โดยอาศัยแนวทาง
สังคมวิทยา
Max Weber สถาปนาระบบราชการ สังคมเชิงจริยธรรมของศาสนาโปรแตสแตน ที่
เปลี่ยน Tradition Soc. Modern Soc.
Parson นาไปสร้างแนวคิด Tradition Society และ Modern Society
Hungtintion นามาใช้กาหนดคุณลักษณะภาวะทันสมัย หรือ
Characteristic of Modernity
ความเป็ นมาของการนาเสนอแนวคิด
2. แนวความคิดนักทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการกาหนดทฤษฎีความทันสมัย
2.3 นักรัฐศาสตร์และนักรัฐประศาสนศาสตร์
Tradition Soc.
Modern Soc.
1) ความผูกพันทางสังคม
Particularistis
Universalistic
2) ความสาเร็จในหน้าที่การงาน
Ascription
Achievement
3) การตัดสินใจเชิงคุณค่า
Affectivity
Objectivity
4) บทบาทองค์กร/สถาบัน
Differseness
Specification
ความเป็ นมาของการนาเสนอแนวคิด
2. แนวความคิดนักทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการกาหนดทฤษฎีความทันสมัย
2.3 นักรัฐศาสตร์และนักรัฐประศาสนศาสตร์
Tradition Soc.
Modern Soc.
5) การกาหนดอานาจ/หน้าที่/แบ่งงาน
Centralization
Decentralization
6) การผลิต
Low Productivity
High Productivity
7) ความสัมพันธ์ทางการแลกเปลี่ยน
Local-Exchange
Inter-Exchange
8) ระบบการบริหาร
Inefficient
Efficient
ความเป็ นมาของการนาเสนอแนวคิด
3. ความเกรงกลัวต่อการขยายตัวของลัทธิสงั คมนิยม ซึ่งมีแนวโน้มจะเติบโตมาก
ขึ้น ถ้าหากจะทาการพัฒนาแบบไม่มีแผนต่อไป
- ประเทศสหรัฐอเมริกา
- กลุม่ ประเทศพันธมิตรทุนนิยม แบบประชาธิปไตย
4. แนวคิดที่ได้จากการจาลองตัวแบบ ตามแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์
John M. Keynes การปฏิวตั สิ งั คมแบบมีแผน (Social Revolution Planning)
รัฐบาลจะต้องเข้าไปมีบทบาททางนโยบายต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการ
ผสมผสานระหว่างบทบาทของรัฐและภาคเอกชน เพื่อร่วมกันเปลี่ยนแปลงสังคม
Paradigm (กระบวนทัศน์ / แนวคิด)
การพัฒนา คือ การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ด้วยกระบวนการพัฒนา
อุตสาหกรรม โดยมีการจัดโครงสร้างการเมืองและการบริหารตามแบบอย่าง
ประชาธิปไตยของประเทศในตะวันตก ที่ยดึ ถือแนวทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ที่วัดผล
การพัฒนาจากการเพิ่มขึ้นของรายได้และการเติบโตของเมือง โดยเชื่อว่า ผลของการ
พัฒนาจะแพร่กระจายไปสูภ่ าคชนบทและการเกษตร
เงินทุน
เทคโนโลยี
เมือง
อุตสาหกรรม
Know-How
Infra-Structure
วัตถุดิบ
แรงงาน
ชนบท
เกษตรกรรม
ตัวแบบของการพัฒนา (ปัจจัยหลักที่เป็ นตัวกาหนด)
1. การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในแนวทางของทุนนิยม (Capitalism)
2. เพิ่มบทบาทของรัฐบาลในการวางแผนการพัฒนา
3. กาหนดเป้ าหมายและแผนการพัฒนาที่อยูบ่ นพื้นฐานของการขอรับความ
ช่วยเหลือจากต่างประเทศ
แนวคิดและทฤษฎีทางการพัฒนา
1. ทฤษฎีความเจริญเติบโตตามลาดับขั้น (W.W. Rostow 1960)
(The Stage of Economic Growth)
1. Traditional Society
2. Pre-Condition for take-off
3. Take-off
4. Drive to Marturity
5. Stage of high Mass Consumption
ทฤษฎีการพัฒนาของ W.W. Rostow การพัฒนาของทุกสังคม จะดาเนินไป
ในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน โดยการแปรเปลี่ยนสภาพสังคมจากสภาวะล้าหลังไปสู่
สภาวะที่ทนั สมัย ในลักษณะเช่นเดียวกัน มี 5 ขั้นตอน
1. ขั้นปฐมภูมิ (Traditional Society) เป็ นสังคมดั้งเดิมก่อนการพัฒนา มีการเกษตร
เป็ นสาขาหลักของระบบเศรษฐกิจ การผลิตสินค้ามีอยูอ่ ย่างจากัดภายใต้สภาพ
ทางธรรมชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณี ใช้แรงงานคนเป็ นหลัก เป็ นการผลิต
เพื่อพออยูพ่ อกิน
2. ขั้นเตรียมการ (Pre-conditions for take-off) เป็ นระยะที่สงั คมมีการสร้างทุนขั้น
พื้นฐานอย่างกว้างขวาง เริม่ มีการนาเอาวิทยาการความรูแ้ ละเทคโนโลยี
สมัยใหม่ทางการผลิตมาปรับใช้ในการเกษตร เพื่อให้เกิดการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจ โดยการเพิ่มผลิตภาพของแรงงานและที่ดิน
3. ขั้นทะยานตัวเพื่อการพัฒนา (Take-off) เป็ นระยะที่มีการเร่งรัดการลงทุน เพื่อ
ขยายฐานการผลิตโดยมีอุตสาหกรรมเป็ นสาขานา และเร่งรัดให้มีการขยายตัว
อย่างรวดเร็ว เป็ นการผลิตสินค้าหรืออุตสาหกรรมที่ใช้ผลผลิตทางการเกษตร
เป็ นวัตถุดิบ ที่เริ่มมีการใช้เทคโนโลยีและวิชาการทันสมัย และมีประสิทธิภาพที่
สูงขึ้น เสริมสร้างสถาบันทางสังคมและการเมืองเข้ารองรับเพื่อสนับสนุนและ
ส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
4. ขั้นก้าวสูก่ ารตั้งตัวของการพัฒนา (Drive to Maturity) เป็ นระยะที่มีการนา
เอาความรูส้ มัยใหม่ทางการบริหาร การจัดการ หรือการประยุกต์เทคโนโลยี
สมัยใหม่ เข้ามาใช้ในกระบวนการพัฒนา เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพ พัฒนาด้าน
แรงงานให้เป็ นแรงงานที่มีฝีมือ เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบและกลไก
ทางเศรษฐกิจให้สามารถต่อสูก่ บั ภาวะการแข่งขันได้
5. ขั้นอุดมสมบูรณ์ (Stage of High Mass Consumption) เป็ นระยะที่คนในสังคมเริ่ม
มีการกินดีอยูด่ ี โดยมี สวัสดิการ สวัสดิภาพและวิถีชีวิตที่มั ่นคง
2. ทฤษฎีการสะสมทุน (Capital Accumulation)
2.1 ทฤษฎีการพัฒนาในแนวคิดของ Harrod-Domar ทุนเป็ นปั จจัยเงื่อนไข
สาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ ดังนั้นประเทศที่กาลังพัฒนาจะต้องทา
การสะสมทุน เนื่องจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ
หรือมีดลุ ยภาพนั้น การลงทุนจะต้องเท่ากับการออม
Economic Growth แปรผันตาม Saving
Saving
Economic Growth
Growth
Investment
ผกผัน
Capital
Output
Investment สร้าง Productive Capacity
ดังนั้น การพัฒนาจะต้องดาเนินการเงื่อนไขสาคัญ 2 ประการ
1. มีการระดมการสะสมทุนขึ้นในประเทศ
2. มีการถ่ายโอนเทคโนโลยี (Technology Transfer) จากต่างประเทศ
การจัดตั้งสถาบันเพื่อทาหน้าที่รองรับทั้ง 2 ประการเป็ นสิ่งสาคัญ
2.2 ทฤษฎีการพัฒนาในแนวคิดของ Mahalanobis
แนวคิดนี้มุ่งเน้นความสาคัญที่ทุน (Capital intensive) คือ ถ้าประเทศที่มี
การออมที่สูงขึ้นจะส่งผลให้ระดับรายได้ประชาชาติ และการบริโภคสูงขึ้น
ในเวลาต่อมา ดังนั้นการลงทุนควรมุ่งเน้นใน 2 สาขา คือ
• สาขาผลิตปั จจัยประเภททุน
• สาขาผลิตสินค้าเพื่อการบริโภค
โดยให้มีการลงทุนในอัตราที่ใกล้เคียงกันและสัมพันธ์กนั แต่เนื่องจาก
ประเทศที่กาลังพัฒนาทั้งหลายยังไม่มีความรูค้ วามชานาญที่เพียงพอสาหรับการ
ผลิตสินค้าประเภททุนอย่างมีประสิทธิภาพอาจทาให้สินค้าไม่ได้มาตรฐาน และมี
ราคาแพง ดังนั้นการพัฒนาควรเริ่มต้นจากการผลิตสินค้าเพื่อการบริโภค
กลยุทธของพัฒนาในแนวคิดของการสะสมทุน
1. การลงทุนขนาดใหญ่ (Big Push Programs) Rosenstein-Rodan : การ
สร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจจะทาได้จริง จะต้องลงทุนขนานใหญ่
ในกระบวนการพัฒนา จึงจะมีแรงส่งแพร่กระจายอย่างเพียงพอ
การพัฒนาอุตสาหกรรมต้องทาหลายอย่างพร้อมกันเพื่อช่วยให้มี
อุปสงค์มากพอสาหรับสินค้าอุตสาหกรรมที่ผลิตขึ้นและเกิดการประหยัด
ตามมา เพราะอุตสาหกรรมต่างๆ มีส่วนเกี่ยวข้องและพึ่งพากัน เช่น
การพึ่งพาทุนประเภทสาธารณูปโภค (Social Overhead Capital) อาจจะ
ทาขึ้นในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง
ข้อดีของแนวคิด
• ประหยัดวงเงิน เนื่องจากโครงการต่างๆ สามารถประสานการใช้ประโยชน์จากต้นทุน
พื้นฐานร่วมกัน การลงทุนพื้นฐานสาหรับโครงการเดี่ยวๆ ไม่คมุ ้ ค่า
• สามารถลงทุนพัฒนากาลังคนได้อย่างจริงจังเนื่องจากคุม้ ค่าการสนองตอบความ
ต้องการ
• รายได้ที่เพิ่มขึ้นจะแพร่กระจายทั ่วทุกสาขา สามารถสร้างโอกาสและสร้างทางเลือกได้
ข้อเสียในแนวคิด
• ประเทศที่กาลังพัฒนาทั้งหลายมีทรัพยากรอย่างจากัด การทุม่ ทุนขนานใหญ่ให้กบั
พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งจะส่งผลทาให้กระทบต่อความเป็ นธรรมของการกระจายโอกาส
และรายได้
• การทุม่ ทุนขนานใหญ่จะทาให้การพัฒนาของประเทศเกิดช่องว่างหลายๆ ประการ
ขึ้นในกระบวนการพัฒนา
2. การพัฒนาอย่างมีดลุ ยภาพ (Balanced Growth Theory)
Ragnar Nurkse กล่าวว่า การลงทุนเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ จะต้องทาทุกด้านทุกส่วนของระบบเศรษฐกิจไปพร้อมกัน
เพื่อให้ตลาดมีขนาดใหญ่ เพราะอุตสาหกรรมหนึ่งๆ จะสร้างตลาดให้
เกิดขึ้นในแต่ละด้าน ขณะเดียวกันก็เป็ นแหล่งที่มาของอุปทานให้กบั
ส่วนอื่นๆ
การลงทุนหลายด้านหลายสาขาพร้อมกัน จะทาให้เกิด การแพร่
กระจายไปทั่วระบบเศรษฐกิจ (Multiplier effect) และก่อให้เกิด การ
ประหยัดทางเศรษฐกิจทัง้ ในแนวดิ่งและแนวราบ ทาให้การใช้ทรัพยากร
เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ขนาดของอุปสงค์และอุปทานมีเพียงพอ
สาหรับสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้น
2. การพัฒนาอย่างมีดลุ ยภาพ (Balanced Growth Theory)
ข้อดี/ข้อเสียของแนวคิด
Singer กล่าวว่า กลยุทธ์ของการลงทุนแบบ Balanced Growth จะไม่
เหมาะที่จะเป็ นวิธีแก้ปัญหาสาหรับประเทศด้อยพัฒนา เนื่องจากต้องใช้เงิน
ลงทุนจานวนมากที่เกินกว่าความสามารถในการชาระหนี้ได้ กลยุทธ์น้ ีใช้ได้
สาหรับประเทศที่พฒ
ั นาแล้ว เนื่องจากมีปัจจัยความพร้อมหลายประการ ทั้ง
กาลังคนและกาลังเงิน แต่จะต้องทาภายหลังที่ผ่านพ้นระยะเศรษฐกิจหดตัว
(Economic Recession) แล้ว
3. การพัฒนาแบบไม่สมดุล (Unbalanced Growth Theory)
A. O. Hirochman กล่าวว่า การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศด้อยพัฒนา
ควรเริ่มด้วยการลงทุนขนาดใหญ่เฉพาะในสาขาเศรษฐกิจที่เป็ น
ยุทธศาสตร์หรือเป็ นสาขาในการพัฒนา (Strategies or Leading Sector)
เพื่อกระตุน้ การพัฒนาในสาขาอื่นๆ เช่น
• การสร้างโครงสร้างพื้นฐาน (Social Overhead Capital) จะเป็ นกล
ยุทธ์สาหรับการจูงใจให้เกิดการลงทุนขนานใหญ่
• การลงทุนในอุตสาหกรรมผลิตสินค้าสาเร็จรูป (Finished Product)
หรือเกือบสาเร็จรูปเพื่อการอุปโภคบริโภค โดยอาจใช้วตั ถุดิบหรือ
ชิ้นส่วนจากต่างประเทศเป็ นการเริ่มต้น วิธีการนี้จะทาให้เกิด
อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าขั้นกลาง และขั้นพื้นฐานขึ้นใน
ประเทศ
ความไม่สมดุลของการลงทุนจะเป็ นตัวช่วยในการสร้าง พลังการตลาด และ
นอกตลาดให้เกิดขึ้น เพราะ :
พลังการตลาด เป็ นตัวสร้างโอกาสให้กบั ผูป้ ระกอบการมีกาไร เมื่อกาไรมี
มากขึ้นจะจูงใจให้ผปู ้ ระกอบการตัดสินใจริเริ่มขยายตัวทางเศรษฐกิจ
พลังนอกตลาด จะกดดันให้เจ้าหน้าที่ของรัฐเกิดความพยายามที่จะหา
มาตรการแก้ไขการขาดดุลยภาพ การผลิตหรือปรับปรุงการบริการที่ลา้ หลังให้
ทันกับความก้าวหน้าที่เกิดขึ้นใหม่ หรือสภาวะที่เรียกว่า การใช้ภาคเอกชนเป็ น
ตัวกระตุน้ การทางานในภาครัฐบาล
การสร้างพลังการตลาด มี 2 แบบ
• อุปสงค์มากกว่าอุปทาน (Excess Demand)
• อุปทานมากกว่าอุปสงค์ (Excess Supply)
อุปสงค์มากกว่าอุปทาน (Excess Demand) จะส่งผลกระตุน้ ต่อระบบ
เศรษฐกิจได้ง่ายและมากกว่า เนื่องจากมีผลกาไรเป็ นล่อหรือจูงใจ แบบนี้ให้
ความสาคัญพัฒนาอุตสาหกรรมมากกว่าเกษตรกรรมหรือผลิตสินค้าขั้นปฐมภูมิ
อุปทานมากกว่าอุปสงค์ (Excess Supply) เป็ นการเชิญชวน นักลงทุน
ด้วยการให้ความสะดวกในช่วงเศรษฐกิจตกต ่า เช่น การลดอัตรา ดอกเบี้ย
เงินกู ้ การให้สิทธิประโยชน์สูงสุด การมีทรัพยากรกาลังคนที่เพียงพอ (มี
สถาบันการศึกษา)
ข้อวิจารณ์กลยุทธ์ Unbalanced Growth
1. นักลงทุนมีทศั นคติตอ่ การตัดสินใจเลือกกิจกรรมของการลงทุน ที่มุ่งหาประโยชน์
ส่วนตัวมากจนเกินไป จนไม่คานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
2. กลยุทธ์แต่ละแบบต่างก็มีจดุ อ่อนคือ
แบบ Excess demand จะส่งผลต่อ
• ราคาสินค้าบีบตัวสูงขึ้นและนาไปสู่ภาวะเงินเฟ้ อ
• ดุลการชาระเงินมีความยุง่ ยากมากขึ้น
• การปรับเข้าสู่ระบบปกติตอ้ งใช้เวลานาน
แบบ Excess supply จะส่งผลต่อ
• ความเติบโตของเศรษฐกิจในสาขาอื่นๆ ที่เกิดขึ้นตามหลังจะก้าวตามไม่ทนั กับ
อัตรากาลังส่วนเกิน จะก่อให้เกิดความสิ้นเปลืองทางเศรษฐกิจ
ข้อวิจารณ์กลยุทธ์ Unbalanced Growth
3. ทรัพยากรที่มีมาก ถ้ารัฐไม่อานวยความสะดวกก็ขยายตัวได้ยาก รัฐจะต้อง
รวบรวมทรัพยากรที่มีอยู่ ให้สามารถสอดประสานกันได้
4. คากล่าวที่ว่าภาครัฐขาดผูม้ ีความรูค้ วามสามารถนั้นไม่ถูก ในสภาพที่เป็ นจริงนั้นมี
จานวนคนมากที่รู ้ แต่ไม่มีโอกาสได้ใช้ความรู ้
4. Inward & Outward Looking
เป็ นวิธีการพัฒนาที่มุ่งเน้นการสร้างกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทาให้การค้า
ระหว่างประเทศเป็ นตัวนาของการขยายตัวเพื่อสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจ
• Inward การส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ
• Outward การส่งเสริมเพื่อพัฒนาการส่งออก
การพัฒนาภายใต้แนวคิดนี้จะทาได้หรือไม่ ขึ้นอยูก่ บั ศักยภาพ โอกาสและ
คุณลักษณะพิเศษ เช่น สิงคโปร์
รูปแบบของการพัฒนาภายใต้แนวคิดนี้ (Pattern of Development) ก่อให้เกิด
สภาวะการเปลี่ยนแปลงในหลายลักษณะ คือ
1. การพัฒนาที่ใช้ทรัพยากรอย่างกว้างขวาง ขยายการผลิตโดยเปิ ดโอกาสให้ใช้
พื้นที่ใหม่ๆ ของประเทศ (Expansionist) เช่น การขยายที่ดินทากินในเขตป่ า
เสื่อมโทรม การเปิ ดเขตส่งเสริมอุตสาหกรรม
2. การพัฒนาที่มุ่งใช้ปัจจัยประเภททุนและความรูค้ วามชานาญมากเป็ นพิเศษ
โดยการสร้างคนและฝึ กอบรมแรงงานที่มีความรูค้ วามสามารถขึ้นสูงและมี
ความพร้อมในเรื่องของทุน (Intrinsic) ซึ่งมีท้งั ภาคการผลิตและภาคบริการ
ส่วนมากจะเป็ นประเทศเล็กๆ ที่มีทรัพยากรจากัด เช่น สวิสเซอร์แลนด์
เบลเยี่ยม สิงคโปร์
3. การพัฒนาที่ใช้ปัจจัยต่างๆ ของตนเองเท่าที่มีอยู่ โดยการสร้างความพร้อม
ให้มีมากขึ้น ซึ่งเป็ นการพัฒนาที่พยายามพึ่งตนเองเป็ นหลัก (Dominant) เช่น
พยายามสร้างเงินออมขึ้นในประเทศ โดยไม่อาศัยความช่วยเหลือจาก
ต่างประเทศ หรือโดยอาศัยตลาดต่างประเทศ
4. การพัฒนาที่มุ่งแสวงหาความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ทั้งเงินทุน
เทคโนโลยี ความรูค้ วามชานาญ และการบริหารจากต่างประเทศในลักษณะ
ของการพึ่งพา (Satellitic)
5. เป็ นการพัฒนาที่มุ่งให้ภาคเอกชนมีบทบาทเป็ นหลักของการพัฒนา โดยรัฐ
เป็ นผูส้ นับสนุนให้มีเสรีในการลงทุนการผลิตสินค้า การขนส่ง การค้า การ
ตัดสินใจที่เกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากร (Autonomous) และก็มกั จะไม่มีการ
จัดเก็บภาษีเพื่อการลงทุนในโครงการพัฒนาต่างๆ เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย
6. การพัฒนาที่รฐั เป็ นผูช้ กั นา หรือภาครัฐเป็ นหลักนาของการพัฒนาเป็ นผูร้ ิเริ่ม
ลงทุน หรือประกอบการ (Induced) ส่วนมากมักจะเป็ นกิจกรรมขนาดใหญ่
3. ทฤษฎี 4 ทันสมัยของเติ้งเสี่ยงผิง
การก้าวผ่านจากสภาพของสังคมนิยมสู่สงั คม
คอมมิวนิสต์ ท่ามกลางการต่อสู่กบั ทุนนิยมโลกเป็ นไปด้วย
ความยากลาบากมาก
การเปลี่ยนแปลงสังคมจีนโดยเพียงติดยึดอยูก่ บั
รูปแบบการสร้างจิตสานึกทางอุดมการณ์เพียงอย่างเดียว
ไม่ได้ จาเป็ นที่จะต้องมีแนวคิดและวิธีการการพัฒนาประเทศ
อย่างเป็ นรูปธรรมโดยที่ยงั มีเป้ าหมายเชิงอุดมการณ์เช่นเดิม
3. ทฤษฎี 4 ทันสมัยของเติ้งเสี่ยงผิง
การพัฒนาประเทศจาเป็ นที่จะต้องอาศัยองค์ความรู ้ เทคโนโลยีและปั จจัย
การผลิตใหม่ๆ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและความมั ่นคงของประเทศ โดยการ
สร้างความทันสมัยใน 4 ด้าน คือ
1. วิทยาศาสตร์ที่ทนั สมัย
2. การเกษตรที่ทนั สมัย
3. อุตสาหกรรมที่ทนั สมัย
4. ความมั ่นคงที่ทนั สมัย
กลยุทธ์การพัฒนาของแนวคิด 4 ทันสมัย
1. การส่งคนรุน่ ใหม่เข้าสูก่ ารเรียนรูว้ ิทยาการสมัยใหม่จากทั ่วโลก
2. การจัดให้มี 2 ระบบเศรษฐกิจขึ้นในประเทศ (One Nation Two Systems)
เพื่อต่อสูก้ บั ทุนนิยมโลก
3. ปฏิรูประบบและกระบวนการผลิตของชุมชน จากระบบคอมมูน (Commun)
สูร่ ะบบกึ่งเสรี
กลยุทธ์การพัฒนาในแนวคิด 4 ทันสมัย
4. ให้นาเอาเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตสมัยใหม่เข้าสูก่ ารปฏิรูป
การเกษตรและอุตสาหกรรม
5. การเสริมสร้างประสิทธิภาพของกองทัพ โดยใช้วิทยาศาสตร์และวิทยาการ
สมัยใหม่
4. ทฤษฎีสูย่ ุคเศรษฐกิจใหม่ที่ทนั สมัย
สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมในสงครามเวียดนานกว่า 10 ปี ส่งผลให้อุตสาหกรรม
ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะทางการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ การขนส่งและระบบสื่อสาร
เติบโตอย่างรวดเร็ว
อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กที่เกี่ยวข้องกับการอุปโภคบริโภคกลับ
ตกต ่า ส่งผลให้ฐานการผลิตจากเอเชียสามารถรุกเข้าสู่ตลาดอเมริกาอย่าง
กว้างขวาง ทาให้เศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในเอเชียเติบโตอย่างรวดเร็ว ประเทศ
ที่กาลังพัฒนาหลายประเทศเริ่มก้าวสู่สงั คมของความเป็ นอุตสาหกรรม (New
Industrial Country)
4. ทฤษฎีสูย่ ุคเศรษฐกิจใหม่ที่ทนั สมัย
สหรัฐอเมริกาจาเป็ นต้องเร่งรัดการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว การ
แก้ไขปั ญหาดังกล่าว จะใช้การพัฒนาใน แนวคิดเดิม คือ
การแก้ไขภาคการผลิตสาขาเดิมๆ ที่ตกต ่า ซึ่งต้องใช้เวลายาวนานและ
พบกับภาวะการแข่งขันที่รุนแรงกับสินค้าที่มาจากเอเชีย ขณะที่กาลังซื้อของ
ประชาชนยังอยูใ่ นสภาพเช่นเดิมหรือจะใช้แนวความคิดใหม่เพื่อเปลี่ยนโฉมหน้า
ทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสงคราม ทาให้เกิดองค์ความรู ้
และเทคโนโลยีใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย โดยเฉพาะ-
: เทคโนโลยีทางด้านการสื่อสาร (Information Technology: IT)
: ระบบการประมวลผลและติดตามข้อมูลที่รวดเร็ว (Computer)
: ระบบการขนส่ง ทางอากาศยานและอวกาศ
สหรัฐอเมริกานาเอาองค์ความรู ้ เทคโนโลยีใหม่เหล่านี้เข้าสู่ภาคการผลิต
เพื่อเป็ นสินค้าตัวใหม่เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโลก (New Economy)
กลยุทธ์ของแนวคิดนี้
1. สร้างกระแสโลกาภิวตั น์ให้เกิดขึ้นทั ่วโลก
2. บังคับให้ทุกประเทศต้องยอมรับเงื่อนไขในกติกาว่าด้วย ลิขสิทธิ์และ
สิทธิบตั ร โดยเฉพาะประเทศที่ทาการค้ากับสหรัฐอเมริกา เพื่อการผูกขาดสินค้าใน
กลุ่มนี้ไว้กบั ตน
3. สร้างระบบมาตรฐานสากลเข้าสู่กระบวนการผลิต การบริการ การขนส่ง
และในอีกหลายด้าน เพื่อเป็ นเครื่องมือในการกีดกันทางการค้า
4. ผลักดันการค้าเสรีให้เกิดขึ้นในเวทีการค้าโลก เพื่อสร้างความได้เปรียบ
ในการแข่งขัน
5. สร้างรูปแบบของผลิตภัณฑ์หรือสินค้าชนิดใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ในตลาดการค้าของโลก เพื่อสร้างความได้เปรียบจากการมีขีดความสามารถทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีข้นั สูง มากกว่าประเทศอื่นๆ
สาระสมมติฐานของแนวคิด Modernization
1. ทุกสังคมมีความแตกต่างกัน แม้กระทั ่งในตัวเองจึงต้องลดความแตกต่าง โดย
ขบวนการพัฒนาเปลี่ยนแปลงสังคมที่ลา้ หลัง ไปสู่สงั คมที่ทนั สมัยให้เหมือนกัน
Modernization Process
Traditional Society
Modern Society
2. ความด้อยพัฒนา เกิดจากความไม่เท่าเทียมกันของสาขาการผลิต สังคมดั้งเดิม
ให้ความสาคัญกับสัดส่วนของสาขาเกษตรกรรมมากกว่าอุตสาหกรรมและอื่นๆ
และใช้วิธีการผลิตแบบ Primitive ส่วนใหญ่
3. การพัฒนาจะต้องมีข้นั ตอนตามลาดับ จะลัดขั้นตอนไม่ได้ การพัฒนาจะกระทา
ได้ก็โดยการดูดซับและถ่ายโอนวิทยาการที่ทนั สมัยมาปรับใช้และจะต้องเป็ น
วิทยาการที่สอดคล้องตามสภาพในแต่ละลาดับขั้น
4. จุดมุ่งหมายที่เป็ นปลายทางของเศรษฐกิจอยูท่ ี่การสร้าง
• โครงสร้างทางเศรษฐกิจที่ทนั สมัย
• สาขาการผลิต แบบอุตสาหกรรม
• เมืองที่ทนั สมัย
• ความเป็ นระเบียบของระบบสังคมและการเมืองแบบตะวันตก
Socio-Political Order
Western Societies
5. สร้างระบบเสรีประชาธิปไตยให้เกิดขึ้น
6. การมีบุคลากรที่มีความสามารถในฐานะของผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expertise) ที่มีความรู ้
ความเข้าใจและความก้าวหน้าทางวิชาการ
กลยุทธการพัฒนาในแนวคิดความทันสมัย
1. สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจด้วยการเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวม
ประชาชาติ โดยการพัฒนาอุตสาหกรรม ในแนวทางของการทดแทนการนาเข้า
(เป็ นการมุ่งเน้นเพื่อการบริโภค มิใช่เพื่อการลงทุน)
2. สร้างเมือง ที่มีระบบบริการสาธารณะต่างๆ เพื่อให้สภาวะของระบบชุมชนที่
เหมาะสมสาหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมและเป็ นแบบอย่างของความทันสมัย
3. ปรับปรุงระบบราชการ ด้วยการเสริมสร้างความสามารถทางด้านการวางแผน
และการบริหาร (โดยคาดหวังให้เป็ นแกนนาของการสร้างสังคม)
กลยุทธการพัฒนาในแนวคิดความทันสมัย
4. มีระบบและกลไกการวางแผน เพื่อเป็ นกรอบกาหนดหลักการและแนวคิดการ
พัฒนาต่างๆ ที่ได้รบั การวางรูปแบบไว้อย่างมั ่งคงและแน่นอน พร้อมที่จะถูก
นาไปปฏิบตั ิ
5. ส่งเสริมการลงทุนที่สามารถรองรับการหลั ่งไหลจากต่างประเทศ โดยเฉพาะ
การมีความคิดที่พร้อมจะรับความช่วยเหลือ
6. พัฒนาสถาบันต่างๆ ให้เหมาะสมและเข้มแข็ง เช่น สถาบันทางการเมืองหรือ
สถาบันทางการศึกษาฯ เพื่อพัฒนาไปสู่การรอปรับเงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลง
ภายใต้ภาวะความทันสมัย
ผลกระทบ (Impact) ที่เกิดขึ้นกับประเทศที่กาลังพัฒนา
1. วัฒนธรรมทางเศรษฐกิจเกือบทุกสังคมมีความคล้ายคลึงกัน แต่ตา่ งกันที่
ระดับหรือขนาด ส่วนสังคมนั้นจะถูกจัดให้เข้าเป็ นส่วนหนึ่งของระบบใหญ่
ที่ตรงจุดใด
2. สังคมเมือง สังคมใหญ่ได้รบั การพัฒนา ส่วนสังคมชนบทกลับถูกปล่อยปละ
ละเลย ถูกทอดทิ้ง (สถาบันครอบครัว สถาบันชุมชน)
3. ระบบการเมืองถูกพัฒนาขึ้นเพื่อรองรับกลุ่มผูม้ ีอานาจและกลุ่มที่มีผลประโยชน์
จากกระบวนการพัฒนา
ผลกระทบ (Impact) ที่เกิดขึ้นกับประเทศที่กาลังพัฒนา
4. ความเติบโตของระบบเกิดขึ้นกับภาคเอกชน ในขณะที่ระบบราชการคงสภาพ
เหมือนเดิม จะมีการเปลี่ยนแปลงก็แต่เฉพาะวิทยาการในตัวคน
5. วัฒนธรรมชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มีอยูอ่ ย่างหลากหลายนั้น
ถูกทาลายล้างจนไม่อาจคงเหลือไว้ซึ่งเอกลักษณ์และคุณค่า ซึ่งทุกสังคม
ควรจะต้องมีแก่นแท้ของตนเอง