Modernization กล ุ่มทฤษฎีภาวะความทันสมัย 01460443 การพ ัฒนาส ังคม

Download Report

Transcript Modernization กล ุ่มทฤษฎีภาวะความทันสมัย 01460443 การพ ัฒนาส ังคม

ั
01460443 การพ ัฒนาสงคม
กลมุ่ ทฤษฎีภาวะความทันสมัย
Modernization
กลุม
่ ทฤษฎีภาวะท ันสม ัย (Modernization Theory)
มุง
่ สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ด้วย : - กระบวนการพ ัฒนาอุตสาหกรรม
- การจ ัดโครงสร้างทางการเมือง
- การบริหารแบบประเทศตะว ันตก
ว ัดผล : การเพิม
่ รายได้ / การพ ัฒนาเมือง
ผลการพ ัฒนา : ภาคอุตสาหกรรม
ภาคเกษตร
ภาคการค ้าและธุรกิจ
ภาคการเงินและธนาคาร
ภาคก่อสร ้าง และภาคอืน
่ ๆ
กลุม
่ ทฤษฎีภาวะท ันสม ัย (Modernization Theory)
มุง
่ สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ด้วย : - กระบวนการพ ัฒนาอุตสาหกรรม
- การจ ัดโครงสร้างทางการเมือง
- การบริหารแบบประเทศตะว ันตก
ว ัดผล : การเพิม
่ รายได้ / การพ ัฒนาเมือง
ผลการพ ัฒนา : ภาคอุตสาหกรรม
ภาคเกษตร
ภาคการค ้าและธุรกิจ
ภาคการเงินและธนาคาร
ภาคก่อสร ้าง และภาคอืน
่ ๆ
จุดกาเนิดทฤษฎี
1) การประสบความสาเร็จในโครงการฟ้ ื นฟูย ุโรป
1945-1955, ERP (European Recovery Progamme)
โครงการมุ่งบูรณะประเทศอ ุตสาหกรรมย ุปโรปตะวันตกให้
พ้นจากหายนะสงครามโลกครัง้ ที่ 2
- เพิ่มบทบาทรัฐบาลในการวางแผนเพื่อพัฒนาสร้างความ
เจริญเติบโต
- อาศัยท ุนและความช่วยเหลือระหว่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐ
ตาม Marshall Plan สมัยประธานาธิบดี Truman
- เป้าหมายต้องการให้อตั ราการเติบโตเศรษฐกิจไม่ต่ากว่า 5%
ต่อปี ใน England Italy France Western German
2) แนวคิดของนักทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อทฤษฎีภาวะทันสมัย
1. นักทฤษฎีเศรษฐศาสตร์พฒ
ั นาการ
W. W. Rostow เสนอแนวคิด “การสร้างความเจริญเติบโต
ตามลาดับขัน้ (The Stages of Growth)” เชื่อว่า การพัฒนามีแนวทางเดียว
ที่ใช้ได้กบั ทุกสังคม หนังสือ The Stages of Economic Growth : A Non
Communist Manifesto ปี 1960
สังคมต่างๆ มีลาดับขัน้ ความเจริญเติบโตอยู่ 5 ขัน้ ตอนและไม่ขา้ ม
ขัน้ ตอนในการพัฒนา ประกอบกับยังเป็ นแนวทางการขจัดสภาวะสังคม
ทวิภาค (Dualistic Society) ที่เกิดความไม่เท่าเทียมกันระหว่างสาขาการ
ผลิตและพื้นที่
W.W. Rostow
แนวคิดการพัฒนาระดับขัน้ ของความเจริญเติบโต (Stages of
Growth)
1) The Traditional Society
2) The Pre-conditions for Take-off
3) The Take-off into Self-Sustaining Growth
4) The Drive to Maturity
5) The Age of High Mass Consumption
2. นักทฤษฎีสงั คมวิทยา
ความคิดของ Max Weber และ Talcott Parson ถ ูกนา
มาประย ุกต์ใช้กาหนดแนวทาง
2.1 สังคมทันสมัย
2.2 สถาบันทันสมัย
2.3 บ ุคคลทันสมัย
3. นักรัฐศาสตร์และนักรัฐประศาสนศาสตร์
Samuel P. Hungtintion เสนอแนวความคิดและทฤษฎีภาวะ
ทันสมัย โดยอาศัยแนวทางสังคมวิทยา
Weber และ Parson โดย Hungtintion นามาใช้กาหนด
คุณลักษณะภาวะทันสมัย Characteristic of Modernity
Tradition Soc.
Modern Soc.
1) ความผูกพันทางสังคม
Particularistis
2) ความสาเร็จในหน้าที่การงาน
Ascription
3) การตัดสินใจเชิงค ุณค่า
Affectivity
4) บทบาทองค์กร/สถาบัน
Differseness
5) การกาหนดอานาจ/หน้าที่/แบ่งงาน
Centralization
Universalistic
Achievement
Objectivity
Specification
Decentralization
Tradition Soc.
Modern Soc.
6) การผลิต
Low Productivity
High Productivity
7) ความสัมพันธ์ทางการแลกเปลี่ยน
Local-Exchange
Inter-Exchange
8) ระบบการบริหาร
Inefficient
Efficient
สาระสาคัญของทฤษฎีภาวะทันสมัย
1) จุดมุง่ หมายการพัฒนา
เร่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอัตราเฉลี่ย 5% ต่อปี
(คิดจาก GNP ทัง้ ในและนอกประเทศ) GNP Percapita สูง
Conceptualization : เศรษฐกิจเป็ นแกนนาผลักดันให้เกิดการ
แพร่กระจายออกสูส่ าขาและพื้นที่อื่นๆ (Trickle Down
Effect)
2) สาขาการผลิต
รัฐควรลงทุน/ผลักดันการผลิตในภาคอุตสาหกรรม
แทนภาคเกษตรกรรม เพราะทาให้อตั ราการเติบโตทาง
เศรษฐกิจดีขนึ้
3) พื้นที่ที่ให้ความสาคัญ
การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเอื้อต่อการพัฒนา
(Infra-Structure)
- พื้นที่เมืองรองรับการผลิต เกิด Urbanization/ เมือง
อุตสาหกรรม
- พื้นที่วิจยั และพัฒนารองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม
นิคมอุตสาหกรรม
4) วิธีการผลิต
เน้นการใช้ทนุ อย่างเข้มข้น (Capital Intensive) เพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพหรือผลิตภาพสูง (High Productivity) ทุน/
เทคโนโลยีมากกว่าแรงงาน
5) เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต
ใช้เทคโนโลยีขนั้ สูง (High/Advanced Technology) มี
นวัตกรรม/พลวัตรตัวเอง (Dynamics) การเปลี่ยนแปลง
รวดเร็ว
6) การจัดลาดับการผลิตและการแลกเปลี่ยน
อาศัยกลไกระบบตลาด (Marketing System) ภาครัฐและ
เอกชนสถาปนาขึน้ มา ลักษณะ Invisible Hand
7) การวัดผลการพัฒนา
ใช้ GNP Percapita Income หรือ รายได้ตอ่ หัวต่อปี ชี้
วัดผลสาเร็จการพัฒนา
8) ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาการผลิต
ลงทุนภาคอุตสาหกรรม แพร่ขยาย (Trickle Down Effect)
- ภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ ภาคพาณิชยกรรม
ภาคอื่นๆ
- โดยอาศัย Marketing System ถ้า Trickle Down Effect ไม่
เกิด การ Take Off จะไม่มี
9) แหล่งท ุน ปกติการออมภายในประเทศจะเกิดทุนได้
- การสะสมทุนภายในประเทศด้วยการออม (Internal
Saving)
- การก่อหนีส้ าธารณะ
- การส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศ
10) บทบาทภาครัฐ
- สร้างองค์กรภาครัฐกาหนดนโยบายและแผนพัฒนา
- วิธีการวางแผนลักษณะ Top Down โดยมี Leader
Sector กลุม่ ข้าราชการ นักวิชาการ ผูป้ ระกอบการ
: ทฤษฎีการสะสมทุน (Capital Accumulation)
- การลงทุนขนาดใหญ่ (Big Push Programs)
- การพ ัฒนาอย่างมีดล
ุ ยภาพ (Balanced Growth Theory)
- การพ ัฒนาแบบไม่สมดุล (Unbalanced Growth Theory)
- การพ ัฒนาการค้าระหว่างประเทศ (Inward & Outward
Looking )
ี่ งผิง
ทฤษฎี 4 ท ันสม ัยของเติง้ เสย
ั
การพ ัฒนาประเทศจาเป็นทีจ
่ ะต้องอาศยองค์
ความรู ้
เทคโนโลยี และปัจจ ัยการผลิตใหม่ๆ เพือ
่ การพ ัฒนาระบบ
เศรษฐกิจและความมน
่ ั คงของประเทศ โดยสร้างความ
ท ันสม ัยใน 4 ด้าน คือ
1. วิทยาศาสตร์ทท
ี่ ันสม ัย
2. การเกษตรทีท
่ ันสม ัย
3. อุตสาหกรรมทีท
่ ันสม ัย
4. ความมน
่ ั คงทีท
่ ันสม ัย
ทฤษฎีสย
ู่ ค
ุ เศรษฐกิจใหม่ทท
ี่ ันสม ัย
ื่ สาร (Information
: เทคโนโลยีทางด้านการสอ
Technology: IT)
: ระบบการประมวลผลและติดตามข้อมูลทีร่ วดเร็ว
(Computer)
่ ทางอากาศยานและอวกาศ
: ระบบการขนสง
สหร ัฐอเมริกานาเอาองค์ความรู ้ เทคโนโลยีใหม่เข้าสู่
ิ ค้าต ัวใหม่เข้าสูร่ ะบบเศรษฐกิจโลก
ภาคการผลิตเพือ
่ เป็นสน
(New Economy)
้ ฤษฎีและต ัวแบบ
การประยุกต์ใชท
1)
โครงการฟื้ นฟูเศรษฐกิจในยุโรป (European
Recovery Programme)
- โครงการ ERP ประสบผลสาเร็จมากโดยอ ัตราการ
เติบโตทางเศรษฐกิจไม่ตา
่ กว่า 5% ซงึ่ ร ัฐต้องเข้ามาวางแผน
ั
่ ยเหลือระหว่างประเทศ
และอาศยความช
ว
่ เงินกูย
- การระดมทุนในรูปแบบต่างๆ เชน
้ ม
ื เงินให้เปล่า
่ ยเหลือ เงินลงทุนเอกชนและอืน
เงินชว
่ ๆ
่ ยเหลือวิชาการในรูปแบบ สง
่ ผูเ้ ชย
ี่ วชาญ
- การชว
ึ ษา ดูงานและ
ชานาญการ ให้คาปรึกษาและบริการ ให้ทน
ุ ศก
อบรม
่ ทหาร การชว
่ ยเหลือ
- การปกป้องระบบการเมืองเสรี สง
ร่วมมือทางทหาร
2) การพัฒนาในประเทศด้อย/กาลังพัฒนา
ประเทศต่างๆ นาทฤษฎีและตัวแบบมาใช้วางแนว
ทางการพัฒนาคล้ายคลึงกัน ดังนี้
1. การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
(GNP)
การพัฒนา
รายได้ประชาชาติเพิ่ม
อุตสาหกรรม
ทดแทนนาเข้า
รายได้ตอ่ หัวประชากร
(ISI)
สูงขึน้
ISI = Import-Substituting Industrialization
2) การส่งเสริมการพัฒนาเมือง โดยเร่งความเป็นเมือง
(Urbanization)
- สังคมเมืองทันสมัย
- รูปแบบการผลิตอุตสาหกรรมเป็ นพื้นฐานสาคัญ
- ขยายการแผ่กระจาย (Trickle-down)
3) การเสริมสร้างความก้าวหน้าระบบราชการ
ในแง่ปฏิรปู
- การจัดองค์กร
- พัฒนาบุคคล
เพื่อเอื้อต่อการบริหารการพัฒนาที่ดี สถาบันอื่นนอก
ระบบราชการเสนอแนะและตรวจสอบ เช่น รัฐสภา พรรค
การเมือง องค์กรเอกชน องค์กรอิสระ
4) หน่วยงานรัฐมีบทบาทวางแผน (Development
Planning)
การมีสว่ นร่วมภาคเอกชนและธุรกิจ การเร่งสร้าง
โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม
5) ส่งเสริมการลงท ุนจากต่างประเทศ (Direct & Indirect
Foreign Investment)
เพื่อขจัดปั ญหาการขาดแคลนแหล่งทุนและการถ่ายโอน
ทางเทคโนโลยี (Technological Transfer)
การยอมรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศทัง้ รูปแบบให้
เปล่าและผูกพันเงือ่ นไข
การปรับทิศทางนโยบาย
โดยเฉพาะการวางแผน
เดิม : จากส่วนกลาง
ล่าง
Top down
ใหม่ : จากส่วนล่าง
บน
Bottom up
เปลี่ยนเป้าหมายใหม่ จะทาให้การพัฒนามีความเป็ น
ตัวของตัวเองมากกว่า การเรียกร้องปลดพันธนาการจาก
ทุนนิยม
กระบวนการพัฒนา
อาศัยบทบาทของสถาบันการเมือง การบริหารและอื่นๆ
1) รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ
บทบาทสาคัญกาหนดแผนพัฒนาลักษณะวางแผน
ส่วนกลาง (Top-down Planning)
2) จัดตัง้ สถาบัน
3) ขยายตัวเขตเมืองและบริการ
4) การให้บริการทางสังคมแก่ชมุ ชนชนบท