Cost - Home - KKU Web Hosting

Download Report

Transcript Cost - Home - KKU Web Hosting

ต้นทุนต่อหน่ วยผลผลิต (Unit Cost)
ของห้องปฏิบตั ก
ิ ารชันสูตร
วัตถุประสงค์การเรียนการสอน
ให้นกั ศึกษาสามารถ อธิบาย
ต้นทุนชนิดต่างๆ ของการตรวจทางห้องปฏิบตั ก
ิ าร
วิธก
ี าร allocate ค่าใช้จา่ ยไปทีก
่ ารตรวจทางห้องปฏิบตั ก
ิ าร
วิธก
ี ารคานวณค่าเสือ
่ มราคาเฉลีย่
การคานวณต้นทุนต่อหน่ วยการตรวจทางห้องปฏิบตั ก
ิ ารได้
Basic concepts and definitions
ความหมายของต้นทุน
ทุน [ทุน]
(1) น. ของเดิมหรื อเงินเดิมที่มีไว้ ลงไว้ กาหนดไว้ จัดตั้งไว้ เพื่อประโยชน์
ให้งอกงาม เช่น มีความรู้เป็ นทุน มีเงินเป็ นทุน
(2) น. เงินหรื อทรัพย์สินอื่นๆ ที่ต้ งั ไว้สาหรับดาเนินกิจการเพื่อหา
ผลประโยชน์
ต้ นทุน [ต้น-ทุน]
น. ทุนเดิมสาหรับทากิจการ
ราชบัณฑิตยสถานให้คาแปลของ
Cost ไว้ 2 ความหมายคือ (๑) ค่าใช้จ่าย และ (๒) ต้นทุน
Expenditure หมายถึง การใช้จ่ายต้นทุน (Cost)
ต้ นทุน (Cost) หมายถึง จานวนเงินที่จ่ายเป็ นเงินสดหรื อสิ นทรัพย์
โดยการบริ การผลิตหรื อก่อหนี้ เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ นค้าหรื อบริ การ
ค่ าใช้ จ่าย (Expenditure) หมายถึง การใช้ตน้ ทุนให้หมดไป
โดยหักจากรายได้ในรอบระยะเวลาหนึ่ง
โดยทัว่ ไปหมายถึงค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการดาเนินงาน
ประเภทของต้ นทุน
แบ่ งตามเจ้ าของหรือผู้รับภาระ ได้ 3 ประเภท คือ
ต้ นทุนของผู้ผลิต (Provider cost) หมายถึง
ต้นทุนสิ นค้าหรื อบริ การ (product cost or service cost)
ได้แก่ ค่าวัสดุ ค่าเสื่ อมราคาครุ ภณ
ั ฑ์และสิ่ งก่อสร้าง และค่าแรง
ต้ นทุนของลูกค้ า (Customer cost) หมายถึง
ต้นทุนการใช้บริ การของลูกค้า ได้แก่ ค่าเดินทาง ค่าอาหาร ค่าบริ การ
และอาจรวมต้นทุนทางอ้อมอื่นๆ อีก
เช่น ความกลัวบริ การหรื อต้นทุนทางจิตใจ (psychological cost) และเวลาที่ตอ้ งเสี ยไปเมื่อ
มารับบริ การ ซึ่ งทาให้ลกู ค้าเสี ยโอกาสที่ควรจะได้ เช่น ผลผลิตลดลง หรื อ มีรายได้ลดลง
ต้ นทุนทางสั งคม (Social cost) หมายถึง ต้นทุนที่เกิดจากผลกระทบของ
สิ่ งแวดล้อมหรื อสังคมรอบๆ ข้าง
แบ่ งตามลักษณะการใช้ จ่าย ได้ 2 ประเภท คือ
ตัวเงิน (Monetary cost) หมายถึง จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายจริ งหรื ออาจเป็ น
หนี้ผกู พันที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
ไม่ ใช่ ตัวเงิน (Non monetary cost) หมายถึง ของรับบริ จาค
แรงงานอาสาสมัคร
แบ่ งตามความเป็ นรู ปธรรม
มองเห็น (Tangible cost) หมายถึง ตัวเงิน เช่น ค่าเดินทาง ค่ารักษา
ค่าอาหาร ค่าใช้บริ การ
มองไม่ เห็น (Intangible cost) หมายถึง ค่าเสี ยโอกาส ต้นทุนทางจิตใจ
มูลค่าผลกระทบที่อาจเกิด
แบ่ งตามวัตถุประสงค์ ของต้ นทุน
ต้ นทุนโดยตรง(direct cost) หมายถึง ต้ นทุนทีใ่ ช้ โดยตรง
เพือ่ ก่ อให้ เกิดผลสาเร็จของผลิตภัณฑ์ หรือบริการ
เช่ น ค่ าแรงงาน ค่ าวัสดุ/อุปกรณ์ หรือเครื่อง
ที่ใช้ ในการตรวจวิเคราะห์ สิ่งส่ งตรวจ
ต้ นทุนโดยอ้ อม(indirect cost) หมายถึง ต้ นทุนทีไ่ ม่ ได้ ใช้
โดยตรงเพือ่ ก่ อให้ เกิดผลสาเร็จของผลิตภัณฑ์ หรือบริการ
เช่ น ค่ าบริหารองค์ กร ค่ าพัฒนาบุคลากร
แบ่งตามพฤติกรรมของต้นท ุน
ต้นท ุนคงที่ (fixed cost)
หมายถึง ต้นท ุนรวมที่ตอ้ งจ่าย โดยไม่ข้ ึนกับผลผลิต/บริการที่เพิ่มหรือลด
เช่น ค่าเช่าอาคาร ค่าเครือ่ งมืออ ุปกรณ์ที่ใช้
ต้นท ุนต่อหน่วยจะเปลี่ยนตามจานวนผลผลิต/บริการ
ต้นท ุนผันแปร (variable cost)
หมายถึง ต้นท ุนรวมที่ตอ้ งจ่ายแปรผันตามจานวนผลผลิต/บริการ
เช่น ต้นท ุนค่าน้ายาตรวจวิเคราะห์ ต่อ 1 การตรวจทดสอบ
ต้นท ุนต่อหน่วยจะคงที่ต่อหน่วยผลผลิต/การบริการ
พฤติกรรมของต้นท ุน
ต้นทุนผันแปร (Variable Cost)
ต้นทุนผันแปรอย่างแท้จริง (True variable costs)
ต้นทุ นรวม(บาท)
700
600
500
400
300
200
100
0
0
5000
10000
15000
20000
25000
ระดับการผลิตสินค้า(หน่วย)
ต้นทุนผันแปรตามระดับ (Step variable costs)
ต้นทุ นการใช้ไฟฟ้ า(บาท)
40000
35000
30000
25000
20000
15000
10000
5000
0
0
1000
2000
3000
4000
5000
6000
ปริมาณกระแสไฟฟ้ า(หน่วย)
ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs)
ต้นทุนคงทีอ่ ย่างแท้จริง (True Fixed Costs)
ระดับการผลิต(หน่ วย) ต้นทุนคงที(่ บาท) ต้นทุนต่อหน่ วย(บาท)
10,000
20,000
40,000
80,000
200,000
200,000
200,000
200,000
20.00
10.00
5.00
2.50
ต้นทุนคงทีต
่ ามระดับ (Step Fixed Costs)
จานวนกะ
1
2
3
ระดับการผลิต (หน่ วย)
ต้นทุนคงทีร่ วม (บาท)
0 – 200,000
200,001 – 400,000
400,001 – 600,000
50,000
100,000
150,000
ต้นทุนผสม (Mixed Costs)
ต้นทุนผสมอย่างแท้จริง (Trued Mixed Costs)
ต้นทุนรวม (บาท)
1,000,000
800,000
ต้นทุนผันแปร
600,000
400,000
200,000
ต้นทุนคงที่
จานวนหน่ วยผลผลิต
แบ่ งตามมูลเหตุทกี่ ่ อให้ เกิดรายได้
ต้ นทุนสิ นค้ าหรือบริการ (Product cost) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปเพื่อ
ให้ได้สินค้าหรื อบริ การ
ต้ นทุนตามรอบระยะเวลาบัญชี (Period cost) เป็ นต้นทุนที่เกิดขึ้นตาม
รอบระยะเวลาปิ ดงบกาไรขาดทุนประจางวด เช่น ค่าเสื่ อมราคาครุ ภณ
ั ฑ์
แบ่ งตามพฤติกรรมต้ นทุนต่ อปริมาณสิ นค้ าหรือบริการ
ต้ นทุนผันแปร (Variable cost) หมายถึงค่าใช้จ่ายที่มีมูลค่ารวมแปรผัน
ตามปริ มาณการผลิต สิ นค้าหรื อบริ การ
ได้แก่ ค่าวัสดุ ค่าแรงที่จ่ายตามปริ มาณการผลิต
ต้ นทุนคงที่ (Fixed cost) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่มีมูลค่ารวมคงที่ ไม่แปรผัน
ตามปริ มาณการผลิตสิ นค้าหรื อบริ การ
ได้แก่ ค่าเสื่ อมราคาครุ ภณ
ั ฑ์ ค่าแรงที่จ่ายเป็ นเงินเดือน
แบ่ งตามประเภททรัพยากรทีใ่ ช้
ต้ นทุนวัสดุ (Material cost) หมายถึง ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ใน
การผลิตสิ นค้าหรื อบริ การ รวมถึงค่าวัสดุที่สูญเสี ยไปโดยไม่ทาให้ได้
สิ นค้าและบริ การในรอบการผลิตด้วย
ต้ นทุนค่ าแรง (Labor cost) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เป็ นเงินเดือน ค่าจ้าง
ค่าตอบแทน และค่าสวัสดิการต่างๆ ที่จ่ายให้บุคลากร เพื่อให้เกิดการ
ดาเนินงาน อาจเป็ นค่าใช้จ่ายที่ไม่สมั พันธ์กบั ปริ มาณงานหรื อ
ตามปริ มาณงานก็ได้
ต้ นทุนลงทุน (Capital cost) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้สิทธิ
ในทรัพย์สินที่ใช้ในกระบวนการผลิตสิ นค้าหรื อบริ การ เช่น ที่ดิน อาคาร
สิ่ งก่อสร้าง เครื่ องจักร รถยนต์ ครุ ภณ
ั ฑ์ เป็ นต้น
ต้นทุนลงทุนนี้อาจแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
ต้ นทุนลงทุน (Capital cost) อาจแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
ค่าเสี ยโอกาส (Opportunity cost)
ค่าเสื่ อมราคาตามอายุการใช้ทรัพย์สิน (Depreciated cost)
ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic cost)
ต้นทุนลงทุนจะรวมทั้งค่าเสี ยโอกาสและค่าเสื่ อมราคาของทรัพย์สิน
แต่การวิเคราะห์ตน้ ทุนการเงิน (Financial cost)
ต้นทุนลงทุนจะไม่รวมค่าเสี ยโอกาส
ผังแสดงประเภทของต้นท ุนในธ ุรกิจผลิตสินค้าหรือบริการ
ต้นท ุนรวม
ต้นท ุนผันแปร
ต้นท ุนการผลิต
ผันแปร
วัตถ ุดิบทางตรง
แรงงานทางตรง
ค่าใช้จ่ายในการผลิต
ผันแปร
ค่าใช้จ่ายใน
การขายและ
การบริหาร
ผันแปร
ต้นท ุนคงที่
ต้นท ุนการผลิต
คงที่
ค่าใช้จ่ายในการผลิต
คงที่
ค่าใช้จ่ายใน
การขายและ
การบริหาร
คงที่
วัตถ ุดิบทางตรง
(Direct Materials)
หมายถึง วัตถ ุดิบที่เป็นส่วนประกอบ
สาคัญในการผลิตสินค้าหรือบริการ และสามารถแบ่งแยกหรือคิดเข้าเป็ นต้นท ุน
ของสินค้าหรือบริการที่ ผลิตได้ง่าย สาหรับวัตถดุ ิ บที่ ไม่สามารถแบ่ งแยกได้
หรือไม่ ส ามารถคิ ดเข้า เป็ นต้นท นุ ของสิน ค้า หรือบริก ารได้ให้ถือ เป็ นวัตถ ดุ ิ บ
ทางอ้อม (Indirect Materials) หรือวัสด ุสิ้นเปลือง (Supplies) ซึ่งปรากฏเป็น
รายการอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการผลิต
แรงงานทางตรง (Direct
Labor)
หมายถึง ค่าแรงงานที่จ่ายให้กบั พนักงานที่
ผลิตสินค้าหรือบริการโดยตรง และสามารถคิดเป็นต้นท ุนของสินค้าหรื อบริการ
ได้ง่าย สาหรับค่าแรงที่ ไม่สามารถคิ ดเข้าเป็นต้นทนุ ของสินค้าหรื อบริการได้
เนื่องจากไม่ใช่แรงงานที่ผลิตสินค้าโดยตรง จะถือเป็นแรงงานทางอ้อม (Indirect
Labor) ซึ่งปรากฏเป็นรายการอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการผลิต
ค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing
Overhead)
หมายถึง ค่าใช้จ่าย
ทัง้ หมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้าหรือบริการ ยกเว้น วัตถ ุดิบทางตรงและ
แรงงานทางตรง เป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถระบ ุได้ชดั ว่าเป็นค่าใช้จ่ ายที่เกิดขัน้
จากการผลิตสินค้าหรือบริการชนิดใด แต่เป็นค่าใช้จ่ายที่ช่วยให้ก ระบวนการ
ผลิตสินค้าหรือบริการเป็นไปโดยราบรื่น โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท
ค่าใช้จ่ายในการผลิตผันแปร (variable cost) หมายถึง
ค่าใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลงไปตามกิจกรรมการผลิต
ค่าใช้จ่ายในการผลิตคงที่ (fixed cost) หมายถึง
ค่าใช้จ่ายที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามกิจกรรมการผลิต เช่น
ค่าเช่าสถานที่ ค่าประกันภัย ค่าเสื่อมราคาคร ุภัณฑ์
วัตถุประสงค์ การวิเคราะห์ ต้นทุน ต้ องการทราบ
•ต้นทุนการให้บริ การผูป้ ่ วยนอก เท่ากับ ....บาท/ครั้ง
•ต้นทุนการให้บริ การผูป้ ่ วยใน เท่ากับ .... บาทต่อราย
•ต้นทุนการให้บริ การผูป้ ่ วยใน เท่ากับ .... บาทต่อราย
•ต้นทุนต่อหน่วยการให้บริ การตรวจ .... บาทต่อตัวอย่าง
•ต้นทุนต่อหน่วยการให้บริ การตรวจ .... บาทต่อ 1 รายการตรวจ
•อัตราส่ วนของต้นทุน เป็ น ค่าแรง : ค่าวัสดุ : ค่าลงทุน เท่ากับเท่าใด
ต้นทุนต่อหน่ วยผลผลิตของห้องปฏิบตั ก
ิ าร หมายถึง
ค่าใช้จา่ ยทีจ่ า่ ยเพือ
่ ให้เกิดผลผลิตทีต
่ อ
้ งการ 1 หน่ วย
ผลผลิตของห้องปฏิบตั ค
ิ อ
ื ผลตรวจตัวอย่าง
กรอบแนวคิดและขั้นตอนในการวิเคราะห์
1. ศึกษาและวิเคราะห์โครงสร้างของระบบงาน (System analysis) และ
โครงสร้างการบริ หารงบประมาณ เพื่อจาแนกหน่วยงานเป็ นหน่วย
ต้นทุน (Cost center) ตามลักษณะหน้าที่และความสัมพันธ์ในการ
ให้บริ การและการสนับสนุนกันของแต่ละหน่วยงาน
หน่วยต้นทุนที่ให้บริ การแก่หน่วยงานภายในและไม่มีบริ การที่ใช้เรี ยกเก็บค่าบริ การจากผูม้ า
ขอรับบริ การได้ เรี ยก หน่วยต้นทุนที่เรี ยกเก็บเงินไม่ได้ (Non-revenue produciing center:
NRPCC)
หน่วยต้นทุนที่เรี ยเก็บค่าบริ การจากผูม้ าขอรับบริ การได้ (Revenue producing cost center:
RPCC)
หน่วยงานที่ให้บริ การผูป้ ่ วยโดยตรง (Direct patient service center, Patient service area: PS
หน่วยงานที่ไม่ให้บริ การผูป้ ่ วยโดยตรง (Indirect patient service center, Non-patient service
area: NPS
กรอบแนวคิดและขั้นตอนในการวิเคราะห์
2. ศึกษาต้นทุนรวมโดยตรง (total direct cost) ของทุกหน่วยต้นทุน
ค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าลงทุน
3. จัดสรรต้นทุนของ NRPCC และ RPCC ไปให้หน่วยต้นทุนสุ ดท้าย
(หน่วยบริ การผูป้ ่ วย) ต้นทุนที่ PS ได้รับนี้เรี ยกว่า ต้นทุนทางอ้อม
4. หาต้นทุนต่อหน่วยบริ การ
ต้นทุนทั้งหมด = ต้นทุนทางตรง + ต้นทุนทางอ้อม
ต้นทุนรวมต่อหน่วยบริการ 1 หน่วย =
ต้นทุนรวมทัง้ หมด
จานวนบริการทัง้ หมด
หน่วยบริ การ
หน่ วยต้ นทุนของงานบริการสุ ขภาพ
หน่วยสนับสนับสนุนการบริ การ
เรียกเก็บค่าบริการรวม
ตามรายการ
กาหนดค่าบริการ/รายการ
เพือ่ ให้ หน่ วยบริการเรียกเก็บ
ไม่ สามารถเรียกเก็บค่าบริการ
จากผู้มารับบริการ
หน่วยบริ การผูป้ ่ วยนอก
งานชันสูตร
งานบริ การและธุรการ
หน่วยบริ การผูป้ ่ วยใน
งานรังสี วินิจฉัย
งานการเงิน
งานสาธารณสุ ขชุมชน
งานเภสัชกรรม
งานเวชระเบียน
คลินิกโรคเฉพาะทาง
งานทันตกรรม
งานจ่ายกลาง
งานห้องผ่าตัด
งานพัสดุ
ผลิต: งานบริ การที่เรี ยกเก็บค่ าบริการ/รายการ
ต้ นทุนค่ าบริการ/รายการ
Unit Cost
งานซ่อมบารุ ง
งานยานพาหนะ
งานซักฟอก
งานโภชนาการ
Cost components (องค์ประกอบของต้นทุน)
Total Cost (ต้นทุนรวม)
หน่ วยงานทีผ
่ ลิตผลผลิต/บริการ
Total Direct Cost (ต้นทุนรวมทางตรง)
Operating Cost
ต้นทุนดาเนินการ
Capital Cost
เงินลงทุน
หน่ วยงานสนับสนุน
Total Indirect Cost
(ต้นทุนรวมทางอ้อม)
OC
CC
LC MC
ของหน่ วยงานสนับสนุน
Labor Cost
ต้นทุนค่าแรง
Materials Cost
ต้นทุนค่าวัสดุ
Fixed or Variable Cost
ต้นทุนคงที่ หรือ ต้นทุนผันแปร
Fixed Cost
ต้นทุนคงที่
Allocate (จัดสรร)
จากหน่ วยงานสนับสนุน
เป็ นต้นทุนของหน่ วยงาน
ทีผ
่ ลิตผลผลิต/บริการ
ต้นทุนของห้องปฏิบตั ก
ิ ารชันสูตร
มีพฤติกรรมแบบไหน ?
ต้นทุนทางตรง (Direct cost)
ต้นทุนของผลผลิตทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงกับกระบวนการผลิต
ตัวอย่างเช่น
• ค่าแรงผูป
้ ฏิบตั ห
ิ น้าทีต
่ รวจวิเคราะห์
• ค่าวัสดุและอุปกรณ์ ทใี่ ช้ในการตรวจวิเคราะห์
• ค่าวัสดุในระบบควบคุมคุณภาพผลการตรวจ
• ค่าเสือ
่ มราคาเครือ
่ งทีใ่ ช้ในการตรวจวิเคราะห์
ต้นทุนทางอ้อม (Indirect cost)
ต้นทุนของผลผลิตทีไ่ ม่เกีย่ วข้องโดยตรงกับกระบวนการผลิต
ตัวอย่าง เช่น
• ค่าแรงผูบ
้ ริหารห้องปฏิบตั ก
ิ าร
• การบริหาร
• ค่าแรงผูป
้ ฏิบตั งิ านสนับสนุนการตรวจ
• ค่าใช้จา่ ยในการตลาด
• ค่าบารุงรักษาอาคารปฏิบตั งิ าน
• ค่าเช่าสถานทีป
่ ฏิบตั งิ าน
1. ต้นท ุนคงที่จาก
1.1 ค่าเสียโอกาสในที่ดิน & ค่าเสื่อมราคาของที่ดิน ?
1.2 ค่าเสื่อมราคาของคร ุภัณฑ์ที่ใช้ภายในหน่วยงานชันสูตร
1.4 ต้นท ุนที่ได้รบั การปันส่วนมาจากหน่วยงานอื่นๆ ห้องปฏิบตั ิการชันสูตร
ไปขอใช้บริการ เพื่อให้งานของห้องปฏิบตั ิการชันสูตรบรรล ุเป้าหมาย
1.5 ค่าใช้จ่ายคงที่ ในการดาเนินงานของห้องปฏิบตั ิการชันสูตร
1.5.1 วัตถ ุดิบทางอ้อม
1.5.2 แรงงานทางอ้อม
2. ต้นท ุนผันแปรจาก
2.1 วัตถ ุดิบทางตรงที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์
2.2 แรงงานทางตรงที่จ่ายให้กบั เจ้าหน้าที่ที่ตรวจวิเคราะห์
2.3 ค่าใช้จ่ายผันแปรตามปริมาณงาน
2.3.1 วัตถ ุดิบทางอ้อม
2.3.2 แรงงานทางอ้อม
ค่าเสือ
่ มราคา (Depreciation cost) คือ
มูลค่าของครุภณ
ั ฑ์ ทีด
่ น
ิ และอาคารหรือสิง่ ปลูกสร้างที่
ถูกกระจายออกเป็ นงวดๆ เพือ
่ ใช้เป็ นค่าใช้จา่ ยรายปี อันเกิด
จากครุภณ
ั ฑ์ ทีด
่ น
ิ และอาคารหรือสิง่ ปลูกสร้างเหล่ านั้น ซึง่
ประเมินจากอายุการใช้งานเป็ นปัจจัยหลัก
วิธเี ส้นตรง (Straight line method)
นิยมคิดให้เท่ากับ 0
เมือ
่ ครบอายุการใช้งาน
ราคาทุน – มูลค่าซาก
ค่าเสือ
่ มราคารายปี =
อายุการใช้งาน
เครือ
่ งปั่น ราคา 150,000 บาท อายุการใช้งาน 5 ปี
ค่าเสือ
่ มราคา = ?
ขัน้ ตอนการจัดทาต้นทุนหน่วยผลผลิต
1. กาหนด ผลผลิต/บริการ ตามพันธกิจ ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน
2. ระบุกิจกรรมต่างๆ ที่ตอ้ งปฏิบตั เิ พื่อให้ได้ ผลผลิต/บริการ
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ ผลผลิต/บริการ
ค่าใช้จา่ ยที่ใช้กบั กิจกรรมนี้ เป็ น ต้นทุนทางตรง direct cost
กิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ ผลผลิต/บริการ
ค่าใช้จา่ ยที่ใช้กบั กิจกรรมนี้ เป็ น ต้นทุนทางอ้อม indirect cost
3. ระบุหน่วยงานหลักที่มหี น้าที่โดยตรงในการสร้างผลผลิต/บริการ
หน่วยงานหลัก => Functional cost center
หน่วยงานสนับสนุน => Support cost center
4. ระบุตน้ ท ุนรวมของทัง้ หน่วยงาน แยกเป็ นต้นทุนทางตางและต้นทุนทางอ้อม
และระบุว่าเป็ นต้นทุนของหน่วยงานใดบ้าง
5. กาหนดเกณฑ์การปั่นส่วนต้นท ุนของหน่วยงานสนับสน ุนเข้าหน่วยงานหลัก
ค่าใช้จ่ายบางอย่างอาจเป็ นได้ทงั้ ค่าใช้จ่ายทางตรงและทางอ้อม
ต้นทุน
หน่ วยงาน
กิจกรรม
ผลผลิต
Direct C
จุลทรรศน์
ตรวจวิเคราะห์ & บันทึกผล
ผลตรวจ1
Labor C
เคมีคลินิก
ตรวจวิเคราะห์ & บันทึกผล
ผลตรวจ2
Material C
จุลชีววิทยา
ตรวจวิเคราะห์ & บันทึกผล
ผลตรวจ3
Capital C
ภูมค
ิ ม
ุ้ กัน
ตรวจวิเคราะห์ & บันทึกผล
ผลตรวจ4
ตรวจวิเคราะห์นอกเวลา&บันทึกผล
Indirect C
Labor C
เก็บตัวอย่าง
ลงทะเบียนรับตัวอย่าง
Material C
Capital C
เจาะ/เก็บตัวอย่าง
ธุรการ
รายงานผล
จัดหาควบคุมปริมาณวัสดุ
ประสานงานทั่วไป
สูตรการคิดต้นทุนต่อหน่ วย
ต้นทุนรวมทัง้ หมด
ต้นทุนต่อหน่ วย =
ปริมาณผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่ วยการตรวจ glucose =
ต้นทุนรวมของการตรวจ glucose
ปริมาณการตรวจ glucose
ต้นทุนคงทีต
่ อ
่ หน่ วย
ต้นทุนต่อหน่ วย = +
ต้นทุนผันแปรต่อหน่ วย
ต้นทุนคงทีต
่ อ
่ หน่ วยการตรวจ glucose
ต้นทุนต่อหน่ วยการตรวจ glucose = +
ต้นทุนผันแปรต่อหน่ วยการตรวจ glucose
การปั่นส่วนหรือกระจายต้นทุน
การจัดสรรต้นทุนทางตรงของหน่ วยสนับสนุนหนึ่ง (ซึง่ เป็ น
ต้นทุนร่วมของหน่ วยต้นทุนอืน
่ ๆ) ตามเกณฑ์ทก
ี่ าหนดไปยัง
หน่ วยต้นทุนอืน
่ ๆ ทีม
่ ต
ี น
้ ทุนร่วมกัน
ตัวอย่างเกณฑ์การปั่นส่วนจากต้นทุนทางตรงของหน่ วยงานสนับสนุน
หน่ วยสนับสนุน
เกณฑ์การปันส่วน
งานการเงิน
จานวนเจ้าหน้าที,่ จานวนรายการครัง้ ทีท
่ างาน
งานพัสดุ
มูลค่าวัสดุ ครุภณ
ั ฑ์ทจี่ ดั การซื้อ, จานวนครัง้ ที่
จัดการเรือ
่ งเบิกจ่ายหรือจัดซื้อ
งานธุรการ
จานวนหนังสือและไปรษณียภัณฑ์ทรี่ บั และส่งให้,
จานวนการพิมพ์งาน
งานอาคารสถานที่
งานรักษาความปลอดภัย
พื้นทีท
่ างาน, จานวนเจ้าหน้าที่
งานซ่อมบารุง
จานวนชั่วโมงทีบ
่ ารุงรักษาและซ่อมครุภณ
ั ฑ์
ตัวอย่างเกณฑ์การปั่นส่วนจากค่าจ้างเหมาและค่าสาธารณูปโภค
ค่าใช้จา่ ย
เกณฑ์การปันส่วน
ค่าจ้างเหมารักษาความปลอดภัย
พื้นทีก
่ ารทางาน
ค่าสาธารณู ปโภค
พื้นทีก
่ ารทางาน
ค่าโทรศัพท์
มีใบเสร็จตามหมายเลข
ใช้ขอ
้ มูลจริงตามหมายเลข
เบอร์กลาง
ใช้สดั ส่วนการใช้งานจริง, ตามข้อมูลใบเสร็จ
ค่าโทรศัพท์มือถือ
ใช้ขอ
้ มูลจริงตามหมายเลข
ค่าโทรศัพท์ทางไกล
ใช้ขอ
้ มูลจริงตามหมายเลข
ค่าไฟฟ้ า
จานวนอุปกรณ์ ทใี่ ช้ไฟฟ้ า, จานวนผูป
้ ฏิบตั งิ าน,
พื้นทีก
่ ารทางาน
ค่าน้าประปา
จานวนผูป
้ ฏิบตั งิ าน, จานวนผูใ้ ช้บริการ, ลักษณะ
การปฏิบตั งิ าน, พื้นทีก
่ ารทางาน
ค่าจ้างเหมาทาความสะอาด
พื้นทีก
่ ารทางาน + ความถีก
่ ารทาความสะอาด
Direct Variable Costs(DVC) for Automated Analyzers
Test A: ( 13 min )
Labor:
1 Tech.($14/hour) / 60 = $0.23/min
13 min x $0.23/min
Benefits: (Social security,
Workman’s compensation, Group health,
Vacation, Sick time, etc. )
Slack:
Consumables:
( 10 % of wage + benefits )
35% of hourly wage
$3.03 /test
$1.06 /test
Saline
30 ml@ $.0012 /ml
$0.04 /test
Pipette
3 ea.@ $.02 /ea.
$0.06 /test
Antiserum 0.2 ml@ $1.00 /ml
Test tubes 2 ea.@ $.025 /ea.
DVC /test =
$0.20 /test
$0.05 /test
$4.85 /test
ตัวอย่างการวางแผนเก็บข้อมูลค่าใช้จ่าย
เพื่อคานวณต้นทุนต่อการตรวจ 1 รายการ
ของหน่วยชันสู ตรโรค
http://home.kku.ac.th/wiskun/450222/SampleUCA2554x.xlsx
สร้างด้วย Microsoft Excel 2007
แนวคิดการคานวณต้นทุนรวมตอหน
่
่ วย(บริการ) ของงา
ต้นทุนรวม
ของหน่วยงานอืน
่ ๆ
กระจายให้
ตามเกณฑ
ต้นทุ
์ นรวมทางออม
้
ของหน่วยชันสูตร
ต้นทุนรวมของ
ต้นทุนรวมทางออม
้
หน่วยชันสูตร
กระจายให้ทุกรายการเ
คาแรง
+ คาเสื
่
่ ่ อม
รายการตรวจ 1
ราคา
ต้นทุนรวมของ กระจายใหตามรายการตรวจ 2
้
ต้นทุนรวม/หน่วย
หน่วยชันสูตร ความสั มพันธ รายการตรวจ
3
์
ของแตละรายการ
คาวั
่
่ สดุ
...
ต้นทุนทางตรง
รายการตรวจ n
ตนทุ
้ นรวมทัง้ หมดของการตรวจ 1 ในร
จานวนการตรวจ 1 ทัง้ หมดในรอบ
ค่าเสื่ อมราคาอาคาร
ค่าเสื่ อมราคาครุ ภณั ฑ์
ค่าแรง
ค่าน้ าประปาและค่าไฟฟ้ า
บันทึกการใช้วสั ดุ
ตารางคานวณต่อทุนต่อหน่วย