บทที่ 8 การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

Download Report

Transcript บทที่ 8 การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

บทที่ 8 การวิเคราะห์ผลการดาเนินงานตามแผนกาไร
วัตถุประสงค์ การเรียนรู้
1.ศึกษาความสมบูรณ์และข้อพิจารณาทางเลือกในการวางแผนกาไร
2.ศึกษาการนาแผนไปใช้และการรายงานผลการปฏิบตั ิงานเพื่อการ
ควบคุมของฝ่ ายบริ หาร
3.ศึกษารายงายผลการปฏิบตั ิงานและการวิเคราะห์ผลแตกต่างจาก
งบประมาณ
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
การวางแผนทุ่รกิจใช้กนั ในปัจจุบนั นี้อาจสรุ ปเป็ นงบการเงินได้ 3
งบ คือ งบประมาณดาเนินงาน งบประมาณงบดุล และงบประมาณงบ
กระแสเงินสด การจัดทางบประมาณสามารถแบ่งได้ 3 ระยะคือระยะสั้น
ระยะปานกลาง และระยะยาว ในการวางแผนและควบคุมกาไร พิจารณา
ได้จาก 3 ประการคือ
1. ความสมบูรณ์ของแผนกาไร
2. การวิเคราะห์ ประเมินผล และเลือกทางเลือก
3. การนาแผนกาไรไปใช้
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
ความสมบูรณ์ของแผนกาไร
การจัดทาแผนกาไรสิ้ นสุ ดลงเมื่อจัดทางบประมาณกาไรขาดทุน
งบประมาณการงบดุล และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงิน
ก่อนที่จะมีการกระจายแผนกาไรที่ได้รับรองแล้วให้หน่วยงานต่าง ๆ โดย
ปกติมกั จะปรับปรุ งรู ปแบบของงบประมาณใหม่ เพื่อหลีกเลี้ยงเทคนิค
ทางบัญชีและข้อมูลอื่น ๆ ที่ไม่จาเป็ น
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
ข้อพิจารณาในการเลือกทางเลือกต่าง ๆ ในการวางแผนกาไร
สิ่ งที่สาคัญที่ตอ้ งนามาพิจารณาประกอบการตัดสิ นใจเลือกทางเลือก
ในการดาเนินงานตามแผนกาไร คือ
1. ราคาขายกับงบประมาณ
2. นโยบายในการโฆษณาส่ งเสริ มการขาย
3. เขตขายและการขยายเขตขาย 4. ส่ วนผสมการขาย
5. ความสมดุลระหว่างการผลิตคงที่และระดับสิ นค้าคงคลัง
6. ค่าใช้จ่ายในการวิจยั
7. การจ่ายลงทุนเพิม่
8. การทดสอบการตดสิ นใจเลือกทางเลือก
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
การนาแผนกาไรไปใช้
เมื่อกิจการอนุมตั ิแผนกาไรแล้ว กิจการจะกระจายแผนกาไรให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง และกิจการต้องจัดทาคู่มือการใช้งบประมาณ สาเนาแผนกาไร
ให้แต่ละหน่วยงาน
การวางแผนงบประมาณจะใช้เป็ นหลักในการดาเนินงานในปัจจุบนั และ
ก่อให้เกิดการประสานงาน และใช้เป็ นเครื่ องมือในการควบคุมการ
ปฏิบตั ิงาน
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
รายงานผลการปฏิบตั ิงานเพื่อการควบคุมของฝ่ ายบริ หาร
ในการพิจารณาปัญหาและวิธีควบคุม รายงานผลการปฏิบตั ิงานต่อผูบ้ ริ หาร
ของกิจการเป็ นส่ วนที่สาคัญของกระบวนการวางแผนและควบคุมกาไร
ที่ดี การายงานผลการปฏิบตั ิงานเป็ นส่ วนหนึ่งของการจัดทางบประมาณ
ซึ่งอาจกาหนดโดยใช้เป้ าหมายของแผนและวัตถุประสงค์ที่จะได้รับ
รายงานผลการปฏิบตั ิงานอาจจาแนกประเภทได้ ดังนี้
1. รายงานที่เสนอต่อบุคคลภายนอก
2. รายงานให้กบั ผูเ้ ป็ นเจ้าของ
3. รายงานเป็ นการภายใน
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
รายงานผลการปฏิบตั ิงานในลักษณะที่เป็ น
เครื่ องมือในการประสานงาน
รายงานผลการปฏิบตั ิงานช่วยสร้างลักษณะที่สาคัญในการควบคุม ซึ่งฝ่ าย
บริ หารจะต้องเชื่อถือข้อมูลที่เสนอไว้ในรายงานที่จดั ทาขึ้นภายในกิจการ
เฉพาะนั้น รายงานภายในจึงช่วยเป็ นสื่ อเชื่อมความสัมพันธ์ที่สาคัญ ในทุก
ระดับ และจะช่วยกระตุน้ ให้มีการปฏิบตั ิงานและการตัดสิ นใจ จาก
ข้อมูลที่ได้ เข้าใจปัญหา และวิธีที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
ลักษณะสาคัญของรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
ในการกาหนดแผนกาไรของกิจการ ควรเน้นที่การปฏิบตั ิงานของหน่วยย่อย
ๆ ที่ตอ้ งยึดตามวัตถุประสงค์ของกิจการ กิจการอาจเน้นถึงมาตรฐานที่สมั พันธ์กนั ใน
การกาหนดหน้าที่และความเหมาะสม ดังนั้นรายงานผลการปฏิบตั ิงานควรเป็ นดังนี้
1. เหมาะกับสายงานจัดแบ่งและควบคุม
2. กาหนดหลักเกณฑ์การบริ หารที่ เหมาะสม
3. ทาซ้ า ๆ ในช่วงเวลาสั้น ๆ
4. ปรับให้เหมาะกับความต้องการของผูใ้ ช้
5. ง่าย เข้าใจชัดและรายงานเฉพาะข้อมูลที่สาคัญ 6. แสดงสิ่ งที่ทาได้จริ งและข้อแตกต่างที่
สาคัญ
7. จัดทาและเสนอได้ทนั ที
8. จัดทาให้กลมกลืนกัน
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
รู ปแบบของรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
ระบบการรายงานผลการปฏิบตั ิงานควรเหมาะสมกับการจัดแบ่ง
สายงานของกิจการเหมือนกับที่กิจการเน้นสาหรับการทางบประมาณให้
เหมาะกับระบบบัญชี
กิจการที่ทาการผลิตอาจกาหนดให้รายงานการปฏิบตั ิงานนั้นต้อง
1. สัมพันธ์กบั โครงสร้างการจัดองค์การ
2. ระบุรายการที่ยอมรับที่สามารถควบคุมได้
3. สัมพันธ์กบั รายการอื่น ๆ
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
การปรับรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
ให้ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้
แต่ละฝ่ าย/แผนกจะใช้รายงานผลการปฏิบตั ิงานของตนมากน้อยแค่ไหน
ขึ้นอยูก่ บั ปัจจัยหลายประการ ปัจจัยที่สาคัญ คือ ด้านการประเมินผลและ
การตัดสิ นใจ ผูใ้ ช้รายงานผลการปฏิบตั ิงาน ประกอบด้วย
1. ผูบ้ ริ หารขั้นสูง : รายงานจากทุกฝ่ ายของกิจการ
2. ผูบ้ ริ หารระดับกลาง :รายงานผลการปฏิบตั ิงานของแผนก/ ฝ่ ายงานต่าง ๆ
3. ผูบ้ ริ หารขั้นต่า : รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การประสานงาน และการ
ควบคุมประจาวัน
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
วิธีการติดตามรายงานของฝ่ ายบริ หาร
กิจการที่มีการจัดการที่ดีจะทารายงานผลการปฏิบตั ิงานเป็ นรายเดือน
รายงานนี้จะแสดงให้เห็นทั้งจุดดีและจุดเสี ยของกิจการ ผูบ้ ริ หารควบ
ตรวจดูรายงานผลการปฏิบตั ิงานอย่างระมัดระวัง เพื่อให้ทราบถึง
ประสิ ทธิภาพในการปฏิบตั ิตามแผนกาไร
การติดตามผลการปฏิบตั ิงาน คือ การหาทางแก้ไข กาหนดความรับผิดชอบ
ของฝ่ ายปฏิบตั ิการ
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
ข้อมูลที่ตอ้ งรวมอยูใ่ นรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
ข้อมูลที่ตอ้ งรวมอยูใ่ นรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ดังนี้
1. การระบุความรับผิดชอบ
2. ข้อแตกต่างของรายการที่ควบคุมได้และควบคุมไม่ได้
3. ระบุระยะเวลาที่แน่นอน
4. วิธีการรายงานผลแตกต่าง
5. การปรับปรุ งจานวนตามงบประมาณตามเหตุการณ์จริ ง
6. รายละเอียดของแต่ละหน่วยงาน
7. ข้อคิดเห็นและคาแนะนา
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]
การวิเคราะห์ผลแตกต่างจากงบประมาณ
วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ผลแตกต่างก็เพื่อประโยชน์ในการควบคุม
ระหว่างงานที่เกิดขึ้นจริ งบรรลุตามเป้ าหมายหรื อไม่ ข้อแตกต่างระหว่าง
งานจริ งกับแผนงานใช้เป็ นแนวทางในการปรับปรุ ง ควบคุมการ
ดาเนินงานให้ดีข้ ึน จึงจาเป็ นที่ตอ้ งทราบข้อมูลดังนี้
1. จานวนผลต่าง
2. แหล่งที่มาของผลต่าง
3. ผูร้ ับผิดชอบในผลต่างที่จะเกิดขึ้น
4. สาเหตุที่เกิดผลแตกต่าง
ในการวิเคราะห์ผลต่างจะเน้นวิเคราะห์เกี่ยวกับ
- การขาย
- วัตถุดิบ
- แรงงานทางตรง - ค่าโสหุย้ การผลิต
SIRIPORN SOMKHUMPA &P’na :[email protected]