เดินหน้าสู่ประชาคมอาเซียนการลงทุน-
Download
Report
Transcript เดินหน้าสู่ประชาคมอาเซียนการลงทุน-
เดินหน้าสู ่ประชาคม
อาเซียน
ดวงใจ อัศวจินตจิตร ์
การลงทุน--ไทยจะได้
รองเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการ
หรืลงทุ
อเสี
น ย
5 สิงหาคม 2554
การลงทุนภายใต ้ AEC
• ASEAN Comprehensive
Investment Agreement
(ACIA)
• ASEAN Framework
Agreement on Service
(AFAS)
สาระสาคัญของ ACIA
•
•
•
•
การเปิ ดเสรี
การคุ ้มครองการลงทุน
การส่งเสริมการลงทุน
การอานวยความสะดวก
การเปิ ดเสรีภายใต ้ ACIA
• เปิ ดเสรีในสาขาการผลิต เกษตร ประมง ป่ าไม้ เหมืองแร่ บริการ
่ ยวข้
่
ทีเกี
องกับ 5 สาขานี ้
• หลักการ:
– Progressive เป็ นไปตามความสมัครใจ ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถเลือก
่ ้อม ตามกรอบเวลาของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดย
เปิ ดในสาขา/เวลาทีพร
่
่ นอุปสรรคต่อการลงทุน
การลดหรือยกเลิกข ้อจากัดหรือเงือนไขที
เป็
่ ้มงวดกว่า หรือสงวนเพิม
่
– No Backtracking ต ้องไม่ออกกฎระเบียบใหม่ๆทีเข
่ กพันไว ้ภายใต ้ความตกลง AIA เดิม ยกเว ้นแต่มก
สาขาทีผู
ี ารจ่ายค่าชดเชย
• ให ้นักลงทุนอาเซียนถือหุนข
้ ้างมากได ้ ยกเว้นบางสาขา ข้อ
สงวนของแต่ละประเทศ
2015
้ั
มิได ้เปิ ดเสรีทงหมด
• นักลงทุนอาเซียน หมายถึง
่ หุ ้นอาเซียนตามทีแต่
่ ละประเทศกาหนด
– บริษท
ั ทีมี
– บริษท
ั นอกอาเซียนทีมี substantial business operation (SBO) ใน
อาเซียน (ไทยไม่ใช ้หลักการนี )้
ข้อสงวนของไทยภายใต้ ACIA
่
สาขาทีไทยไม่
อนุ ญาตให้ตา
่ งชาติเข้ามาลงทุนโดยเด็ดขาด
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การทากิจการหนังสือพิมพ ์
การทานา ทาไร่ ทาสวน
อยู่ในบัญชี 1 แนบท ้าย
้ ตว ์
การเลียงสั
พรบ. การประกอบธุรกิจของคน
ต่างด ้าว พ.ศ. 2542
การทาป่ าไม้และการแปรรูปไม้จากป่ าธรรมชาติ
ไม่อนุ ญาตให ้คนต่างด ้าวประกอบ
กิจการ
้
การทาการประมง เฉพาะการจับสัตว ์นาในน่
านน้าไทย
ด ้วยเหตุผลพิเศษ
และในเขตเศรษฐกิจจาเพาะของประเทศไทย
การสกัดสมุนไพรไทย
การทาหรือหล่อพระพุทธรูป และการทาบาตร
การผลิตอาวุธ
อยู่ในบัญชี 2 แนบท ้าย พรบ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด ้าว
่ ยวกั
่
ห ้ามไม่ให ้ต่างด ้าวประกอบกิจการทีเกี
บความ
ปลอดภัย หรือ
่
ความมันคงของประเทศ
การผลิตไพ่
ห ้ามตาม พรบ. ยาสูบ พ.ศ. 2509
การผลิตบุหรี่
ห ้ามตาม พรบ. ไพ่ พ.ศ. 2486
้
การผลิตนาตาลจากอ
้อย
ห ้ามทาเว ้นแต่ได ้ร ับอนุ ญาตจาก ครม.
ข้อสงวนของไทยภายใต้ ACIA
•
•
•
•
•
•
•
่
สาขาทีไทยห้
ามไม่ให้ตา
่ งชาติถอ
ื หุน
้ ข้างมาก (ต้องเป็ นนิ ตบ
ิ ุคคลไทย)
เว้นแต่ได้ร ับอนุ ญาตจาก ครม.
่
การผลิตเครืองไม้
แกะสลัก
้
การเลียงไหม
การผลิตเส ้นไหมไทย การทอผ้าไหม หรือการพิมพ ์
อยู่ในบัญชี 2
แนบท ้ายพ.ศ. 2542
ลวดลายผ้าไหมไทย
พรบ. การประกอบ
ธุรกิจของคนต่างด ้าว
่
การผลิตเครืองดนตรี
ไทย
ไม่อนุ ญาต
ให ้คนต่างด ้าวประกอบกิจการ
่
่ น เครืองถม
่
่
การผลิตเครืองทอง
เครืองเงิ
เครืองทองลงหิ
น
เพราะมี
ผลกระทบต่อศิลปวัฒนธรรม
่
้ ้าน
หรือเครืองเขิ
น
หัตถกรรมพืนบ
หรือจารีตประเพณี
่ ้นดินเผาทีเป็
่ น
การผลิตถ ้วยชามหรือเครืองปั
่
ทร ัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล
้อม
ศิลปวัฒนธรรมไทย
้
การทานาเกลือ รวมทังการท
าเกลือสินเธาว ์
ข้อสงวนของไทยภายใต้ ACIA
่
สาขาทีไทยห้
ามไม่ให้ตา
่ งชาติถอ
ื หุน
้ ข้างมาก (ต้องเป็ นนิ ตบ
ิ ุคคล
ไทย)
เว้นแต่ได้ร ับอนุ ญาตจากอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
• การสีข ้าว
อยู่ในบัญชี 3 แนบท ้าย พรบ.
• การผลิตไม้อัด แผ่นไม้วเี นี ยร ์ ชิปบอร ์ด
การประกอบธุรกิจของ
คนต่างด ้าว
หรือฮาร ์ดบอร ์ด
ไม่อนุ ญาตให ้คนต่าง
ด ้าวประกอบ
• การผลิตปูนขาว
กิจการ เนื่ องจากเป็ น
่
ธุรกิจทีคนไทย
ยังไม่พร ้อมจะแข่งขัน
ข้อสงวนของไทยภายใต้ ACIA
่
่ นการเปิ ดเสรี
สาขาทีไทยจะผ่
อนปรนเงื่อนไขให้นก
ั ลงทุนอาเซียนเพือเป็
เหมืองแร่
่
• เหมืองแร่ เป็ นสาขาเดียวทีไทยอนุ
ญาตให ้นักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุนได
้ ้มากถึง 60% เป็ น
กรณี พเิ ศษ สาเหตุทไทยจ
ี่
าเป็ นต ้องเปิ ดเสรีให ้นักลงทุนอาเซียนเข ้ามาลงทุนโดยสามารถถือ
้ ออสเตรเลีย ภายใต ้ความ
หุนได
้ ้ถึง 60% ในกิจการเหมืองแร่ เนื่ องจากไทยได ้ให ้สิทธิพเิ ศษนี แก่
ตกลงเขตการค ้าไทย-ออสเตรเลีย (TAFTA) และพันธกรณี ระหว่างอาเซียนกาหนดให ้ไทยต ้อง
ขยายสิทธิพเิ ศษดังกล่าวให ้แก่นักลงทุนอาเซียนเช่นกัน ตามหลักการว่าอาเซียนตอ้ งได ้ร ับสิทธิ
พิเศษสูงสุดเสมอ
้ ้ นักลงทุนอาเซียนจะสามารถถือหุ ้นได ้ถึง 60% แต่ต ้องเป็ นไปตามเงือนไขดั
่
• ทังนี
งต่อไปนี ้
่ นนิ ตบ
นักลงทุนทีเป็
ิ ุคคลต ้องจดทะเบียนในประเทศไทยในรูปของห ้างหุ ้นส่วนสามัญ
ห ้างหุนส่
้ วนจากัด หรือบริษท
ั จากัด
้ นต่อทุน ที่ 3 ต่อ 1
ต ้องมีสด
ั ส่วนหนี สิ
่
ไทยขอสงวนสิทธิในการออกหรือร ักษามาตรการใดๆ ก็ตามในระดับร ัฐบาลท ้องถิน
(ต ้องไม่เลือกปฏิบต
ั แิ ละไม่มเี จตนาทาให ้ประเทศสมาชิกอาเซียนเกิดความเสียหาย)
้
ต ้องได ้ร ับสัมปทานจากกรมอุตสาหกรรมพืนฐานและการเหมื
องแร่ กระทรวง
่
่
อุตสาหกรรม ตามกฎหมายทีเกียวข ้อง
2 ใน 5 ของกรรมการบริหารต ้องเป็ นสัญชาติไทย
ข้อสงวนของไทยภายใต้ ACIA
่
สาขาทีไทยเคยผู
กพันไว้ภายใต้ความตกลง AIA เดิมว่าจะเปิ ดเสรี
ภายในปี 2553
้ ตว ์น้า
• การทาประมง เฉพาะการเพาะเลียงสั
• การทาป่ าไม้จากป่ าปลูก
• การทากิจการเพาะขยายหรือปร ับปรุงพันธุ ์พืช
บัญชี 3
ขณะนี ้ อยู่ในระหว่างการเสนอขอความเห็นชอบจากร ัฐสภาใน
่
การเปิ ดเสรี ว่าจะผ่อนปรนเงือนไขการเข
้ามาลงทุนได ้มากน้อยเพียงใด
จึงจะไม่สง่ ผลกระทบต่อผูป้ ระกอบการไทย ตลอดจน
่
ทร ัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล
้อม
ข้อสงวนของไทยภายใต้ ACIA
•
•
•
•
•
•
•
•
ข้อสงวนรายมาตรการ
้ ่า 2 ล ้านบาท สาหร ับการประกอบกิจการทัวไป
่
การกาหนดทุนขันต
และ 3 ล ้านบาทสาหร ับการประกอบกิจการในบัญชีแนบท ้าย พรบ. การ
ประกอบธุรกิจของคนต่างด ้าว
่
การกาหนดเงือนไขให
้นักลงทุนอาเซียนต ้องขอใบอนุ ญาต/ใบร ับรองใน
การประกอบธุรกิจจากกรมพัฒนาธุรกิจการค ้า กระทรวงพาณิ ชย ์ ใน
ทุกกรณี
่ น
การจากัดสิทธิในการถือครองทีดิ
่ ่อาศัย
การจากัดสิทธิในการถือครองทีอยู
การกาหนดสัดส่วนการจ ้างแรงงาน และห ้ามประกอบอาชีพสงวนของ
ไทย
่ ยวข
่
การสงวนสิทธิให ้ร ัฐบาลไทยสามารถกาหนดนโยบายทีเกี
้องกับ
่ ยวข
่
กิจการของร ัฐ หรือกิจการทีเกี
้องกับภาคร ัฐ
การสงวนสิทธิในกิจการขนาดย่อม (SMEs)
การสงวนสิทธิในการลงทุนใน Portfolio
AFAS-การเปิ ดเสรี
• สาขาบริการเร่งร ัด (Priority Integration Sector:
PIS) ได ้แก่ e-ASEAN (สาขาโทรคมนาคมและ
่ และสาขาการ
คอมพิวเตอร ์) สาขาสุขภาพ สาขาท่องเทียว
บิน2010 ต ้องอนุ ญาตให ้ผูใ้ ห ้บริการมีหุ ้นของนักลงทุนอาเซียน
่ ทังหมด
้
ไม่ต่ากว่า 70% และยกเลิกข ้อจากัดการเข ้าสูต
่ ลาดอืนๆ
• สาขาโลจิสติกส ์ ในปี 2010 ต ้องอนุ ญาตให ้ผูใ้ ห ้บริการมี
สัดส่วนการถือหุ ้นของนักลงทุนอาเซียนไม่ต่ากว่า 51% และ
ปี 2013 สัดส่วนการถือหุ ้นของนักลงทุนอาเซียนไม่ต่ากว่า
70%
่ (Non-Priority Services Sector)
• สาขาบริการอืน
ครอบคลุมบริการทุกสาขานอกเหนื อจาก priority sectors
ต ้องอนุ ญาตสัดส่วนการถือหุ ้นของนักลงทุนอาเซียนไม่ต่า
่
AFAS-การเคลือนย
้ายบุคลากร
มีการจัดทา Mutual Recognition Agreement
่ านวยความสะดวกในการเคลือนย
่
(MRA) เพืออ
้ายนักวิชาชีพ/แรงงาน
่
เชียวชาญ/ผู
ม้ ค
ี วามสามารถพิเศษของอาเซียนได ้อย่างเสรี สาหร ับ 7
สาขาวิชาชีพ ได ้แก่
1. สาขาวิชาชีพการพยาบาล
2. สาขาวิชาชีพทันตแพทย ์
สถาปัตยกรรม
3. สาขาวิชาชีพแพทย ์
4. สาขาบัญชี
5. สาขาบริการสิศวกรรม
6. สาขาบริการ
7. สาขาการสารวจ
้ ้ หลักการของ MRA คือ เปิ ดให ้วิชาชีพทีมี
่ คณ
ทังนี
ุ สมบัตต
ิ ามที่
กาหนดสามารถจดทะเบียนหรือขอร ับใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพนั้นๆ
่
ในประเทศอาเซียนอืนได
้โดยต ้องปฏิบต
ั ต
ิ ามกฎระเบียบภายในของ
ประเทศนั้นๆ ด ้วย เช่น แพทย ์ต่างชาติทขอร
ี่
ับใบอนุ ญาตประกอบ
่ ้องผ่านการประเมินและอยู่ภายใต ้การดูแลของ
วิชาชีพในประเทศอืนต
หน่ วยงานกากับดูแลในประเทศทีร่ ับให ้ทางาน (ของประเทศไทย คือ
ผลกระทบด ้านการลงทุน
่ งขึน้ ทังภายในประเทศและ
้
• การแข่งขันของภาคเอกชนทีจะสู
ในกลุม
่ ประเทศสมาชิกอาเซียน
่ งดูดการลงทุนจะรุนแรงขึนและ
้
• การแข่งขันเพือดึ
tariffjumping FDI จะหมดไป ประเทศสมาชิกจะต ้องเน้นการ
่ ้
้ อการลงทุนเพือให
่ อต่
สร ้างสภาพแวดล ้อมการลงทุนทีเอื
สามารถแข่งขันในการดูดการลงทุน
้
• การขยายตัวของการลงทุนในไทยทังจากอาเซี
ยนด ้วยกันเอง
และจากต่างชาติ
• การเปิ ดโอกาสให ้ธุรกิจไทยไปลงทุนในกลุม
่ ประเทศสมาชิก
่ ่นคงมากขึน้ และมีการเปิ ดเสรี
อาเซียนโดยมีหลักประกันทีมั
่
่
มากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิงสาขาที
ไทยมี
ความสามารถใน
การแข่งขัน
่
ASEAN Outward Investment
US$ million
2005
2006
2007
2008
2009
2010
Indonesia
Malaysia
Philippines
3,065
2,726
4,675
5,900
2,249
2,664
3,076
6,021
11,314
14,965
7,930
13,329
189
103
3,536
259
359
487
Singapore
Thailand
11,218
18,809
32,702
(256)
18,464
19,739
529
970
3,003
4,053
4,116
5,122
Source: World Investment Report 2011
14
่
การดาเนิ นการเพือรองร
ับ AEC
•
•
•
•
ส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศอย่างเป็ นรูปธรรม
่
ปร ับปรุงระเบียบกฎเกณฑ ์เกียวกั
บการลงทุน
ลดภาระภาษีของภาคเอกชน
่
่
เพิมบริ
การภาคร ัฐและความเชือมโยงกั
บหน่ วยงาน
ต่างๆ เช่น แรงงาน ภาคการศึกษา
การส่งเสริมการลงทุนไทยใน
ต่างประเทศ
• คณะอนุ กรรมการส่งเสริมการลงทุนไทยใน
ต่างประเทศ
• บีโอไอศึกษาข ้อมูลเชิงลึกในอุตสาหกรรม 5 สาขา
่
้ า ชินส่
้ วนยานยนต ์ ท่องเทียว
่
(เกษตร สิงทอและเสื
อผ้
่ กษาด ้านวิศวกรรมและ
และบริการ ก่อสร ้าง ทีปรึ
สถาปัตยกรรม)
• บีไอโอศึกษาและจัดทาร่างกฎหมายและหลักเกณฑ ์
การส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศ
่
• มอบหมายกระทรวงการคลังพิจารณาดาเนิ นการเรือง
มาตรการการเงินและภาษี