เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ๒

Download Report

Transcript เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ๒

เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ า
อ.ดร.มาโนช โพธาภรณ์
๒ พย ๒๕๕๕
ลักษณะเฉพาะของทรัพยากรน้ า
• ทางด้านอุปสงค์
– เป็ นสิ่ งจาเป็ นต่อการการดารงชีวติ
– ความต้องการใช้มีหลายประเภทที่แตกต่างกัน (multiple use) จากหลายภาค
ส่ วน เช่นเมือ่ มองจากแหล่ งนา้ ที่มีการกักเก็บเช่ นเขื่อนแห่ งหนึ่ง จะเห็นว่า
สามารถจัดสรรได้เพื่อ (ก) การเกษตร (ข) การผลิตน้ าประปาเพื่อการอุปโภค
บริ โภค/การผลิตทางด้านอุตสาหกรรม-เช่นบริ เวณชายฝั่งตะวันออก (ค) ผลิต
กระแสไฟฟ้ า (ง) ปล่อยพักผ่อนหย่อนใจ (การประมง การเดินเรื อ)
– คุณภาพที่ตอ้ งการแตกต่างกันไปตามประเภทการใช้
– อรรถประโยชน์ข้ ึนกับเวลา สถานที่การใช้ (ทาให้การส่ งน้ า อัดแรงดัน
ปรับปรุ งคุณภาพน้ า รวมถึงการบรรจุขวด จึงเป็ นเรื่ องสาคัญ)
ลักษณะเฉพาะของทรัพยากรน้ า (ต่อ)
• ทางด้านอุปทาน
– โดยรวม (ทั้งโลก) มีปริ มาณคงที่
– มีอยูท่ ้ งั ๓ สถานะทั้งของแข็ง (น้ าแข็งขั้วโลก) ของเหลว (ส่ วนใหญ่เป็ นน้ าเค็ม
น้ าทะเล และน้ าจืด) และก๊าซ (ในชั้นบรรยากาศหุ ม้ ห่อโลก และที่ระเหยจาก
พื้นดินและน้ ากลายเป็ นไอ แล้วตกมายังพื้นโลก)
• แนวคิดเรื่ องวัฎฎจักรน้ า (water cycle) แสดงถึงวงจร การเปลี่ยงแปลงทางกายภาพ
– น้ าจืด (fresh water) สามารถจาแนกตามแหล่งน้ าได้เป็ น น้ าผิวดิน (surface
water) น้ าใต้ดิน (groundwater)
•
•
น้ าผิวดินไหลตามแรงโน้มถ่วงของโลก (gravity flow)
น้ าจาก ๒ แหล่งสัมพันธ์กนั (น้ าผิวดินสามารถไหลซึมเป็ นน้ าใต้ดินได้ ในอัตราแปร
ผันกับสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน เช่นพื้นที่โล่ง พื้นที่คอนกรี ต)
แนวทางการรักษาความสมดุลระหว่าง D - S
(๑) การจัดหาน้ าเพิ่ม (supply management)
การพัฒนาแหล่งนา้ (ถือเป็ นโครงสร้างพื้นฐาน) เช่น (ก) อ่างเก็บน้ า เพิม่ ขนาด
หรื อสร้างใหม่ (ข) อุโมงค์ เพื่อใช้สาหรับการผันน้ า ข้ามลุ่มน้ า (เช่นท่าจีน สู่
เจ้าพระยา เพื่อการผลิตน้ าประปา) -- ต้นทุนในเรื่ องของสิ่ งแวดล้อม
(๒) การจัดการทางด้านอุปสงค์ (demand management)
ใช้แรงจูงใจและกลไกราคาเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการใช้ทรัพยากร
**น้ าเป็ นทั้ง economic goods และ social goods – ส่ วนหลังเป็ นความ
จาเป็ นพื้นฐาน ตามสิ ทธิ มนุษยชน สิ ทธิ การเข้าถึงทรัพยากร สิ ทธิ การมีน้ าใช้เพื่อ
รักษาความเป็ นชุมชน หรื อการผลิตเพื่อยังชีพ
(๓) การลงทุนติดตั้งเครื่ องมือเพื่อปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการใช้น้ า
กลไกการจัดสรรน้ า
(๑) กลไกตลาด (price or market mechanism) ให้ราคาเป็ นตัวจัดสรร
เพิ่มประสิ ทธิภาพ (หรื อรายได้ หรื อประโยชน์ จากการจัดสรรน้ า
มากกว่าให้กบั กิจการที่มีมูลค่าสูงสุ ดก่อน)
-
อาจต้องการโครงสร้างพื้นฐานรองรับ เช่นระบบการส่ งน้ า มาตรวัด
ต้องมีความชัดเจน และเป็ นที่ยอมรับเรื่ องสิ ทธิการใช้ประโยชน์ และการแลกเปลี่ยน
ซื้อขาย
ต้องการความยืดหยุน่ ให้แปรผันไปกับฤดูกาล และสภาพธรรมชาติ
(๒) ระบบการแบ่งปันน้ า (quantity rationing)
- ระบบการจ่ายน้ าเข้านาตามรอบ (rotation system)