สิทธิมนุษยชน ในกระบวนการยุติธรรม ธนรัตน์ ทั่งทอง ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ ประจาสานักประธานศาลฎีกา ควบคุมและขัง ควบคุม หมายความถึง การควบคุมหรือกักขังผู้ถูกจับโดยพนักงาน ฝ่ายปกครองหรือตารวจ ในระหว่างสืบสวนและสอบสวน (มาตรา 2 (21)) ขัง หมายความถึง การกักขังจาเลยหรือผู้ต้องหาโดยศาล (มาตรา 2 (22)) ความหมายของคาว่า ควบคุม และขัง จึงแตกต่างกันตรงที่ถ้าเป็นการ ควบคุ ม หรื อ กั ก.

Download Report

Transcript สิทธิมนุษยชน ในกระบวนการยุติธรรม ธนรัตน์ ทั่งทอง ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ ประจาสานักประธานศาลฎีกา ควบคุมและขัง ควบคุม หมายความถึง การควบคุมหรือกักขังผู้ถูกจับโดยพนักงาน ฝ่ายปกครองหรือตารวจ ในระหว่างสืบสวนและสอบสวน (มาตรา 2 (21)) ขัง หมายความถึง การกักขังจาเลยหรือผู้ต้องหาโดยศาล (มาตรา 2 (22)) ความหมายของคาว่า ควบคุม และขัง จึงแตกต่างกันตรงที่ถ้าเป็นการ ควบคุ ม หรื อ กั ก.

สิทธิมนุษยชน
ในกระบวนการยุติธรรม
ธนรัตน์ ทั่งทอง
ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์
ประจาสานักประธานศาลฎีกา
ควบคุมและขัง
ควบคุม หมายความถึง การควบคุมหรือกักขังผู้ถูกจับโดยพนักงาน
ฝ่ายปกครองหรือตารวจ ในระหว่างสืบสวนและสอบสวน (มาตรา 2 (21))
ขัง
หมายความถึง การกักขังจาเลยหรือผู้ต้องหาโดยศาล
(มาตรา 2 (22))
ความหมายของคาว่า ควบคุม และขัง จึงแตกต่างกันตรงที่ถ้าเป็นการ
ควบคุ ม หรื อ กั ก ขั ง โดยพนั ก งานฝ่ า ยปกครองหรื อ ต ารวจ เรี ย กว่ า ควบคุ ม
และถ้ากักขังโดยศาลเรียกว่า ขัง
การออกหมายขัง (มาตรา 71)
การออกหมายขังระหว่างการสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้อง หรือพิจารณา
(มาตรา 71 วรรคหนึ่ง) กล่าวคือ เมื่อได้ตัวผู้ต้องหา หรือจาเลยมาแล้ว ในระยะ
ใดระหว่างสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณา ศาลจะออกหมายขังผู้ต้องหา
หรือจาเลยไว้ตามมาตรา 87 หรือมาตรา 88 ก็ได้
เหตุในการออกหมายขัง
เนื่องจากมาตรา 71 วรรคหนึ่ง ให้นาบทบัญญัติมาตรา 66 มาใช้บังคับ
โดยอนุโลม
ดังนี้ เหตุออกหมายขังก็ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์เช่นเดียวกับการออก
หมายจับ ในมาตรา 66
ศาลมีดุลพินิจที่จะไม่ออกหมายขังหรือให้ออกหมายปล่อยได้ (มาตรา
71 วรรคสาม)
การควบคุมหรือขังจาเลยระหว่างอุทธรณ์หรือฎีกา (มาตรา 73)
คดีใดอยู่ระหว่างอุทธรณ์ฎีกา ถ้าจาเลยต้องควบคุมหรือขังมาแล้วเท่ากับ
หรือเกินกว่ากาหนดจาคุกหรือกาหนดจาคุกแทนตามคาพิพากษา ให้ศาลออก
หมายปล่อยจาเลย เว้นแต่จะเห็นสมควรเป็นอย่างอื่นในกรณีที่โจทก์อุทธรณ์ฎีกา
ขอให้เพิ่มโทษ (มาตรา 73)
คาสั่งคาร้องของศาลฎีกาที่ ท.165/2552 โจทก์และโจทก์ร่วมต่าง
ฎีกาขอให้ลงโทษจาเลยทั้งสามตามคาพิพากษาศาลชั้นต้น แม้ปรากฏว่าจาเลยที่
3 ต้องขังมาเกินกว่ากาหนดโทษจาคุกตามคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 7 แล้ว
ก็ยังไม่มีเหตุให้ศาลชั้นต้นออกหมายปล่อยจาเลยที่ 3 ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 73
กาหนดเวลาควบคุมตัวผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหา (มาตรา 87)
แนวคาพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับการออกหมายขังระหว่างสอบสวน
ผู้ต้องหาที่ยังไม่ถูกจับกุม ไม่อยู่ในอานาจควบคุมของพนักงานสอบสวน
หรือพนักงานอัยการ จะขอให้ศาลออกหมายขังผู้ต้องหาในระหว่างสอบสวนไม่ได้
ดูฎีกาที่ 8708/2547
ฎีกาที่ 8708/2547 การที่ผู้ต้องหามาพบพนักงานสอบสวนตามที่ถูก
เรียกและพนักงานสอบสวนแจ้งข้อหาให้ทราบทันที ยังถือไม่ได้ว่าผู้ต้องหาถูกจับ
เพราะยังไม่มีคาสั่งหรือหมายของศาล เมื่อผู้ต้องหายังไม่ถูกจับกุมจึงไม่อยู่ใน
อ านาจควบคุ ม ของพนั ก งานสอบสวนหรื อ ผู้ ร้ อ ง (พนั ก งานอั ย การ) ผู้ ร้ อ ง
จึงไม่สามารถยื่นคาร้องขอให้ศาลออกหมายขังผู้ต้องหาไว้ ระหว่างสอบสวนตาม
ป.วิ.อ.มาตรา 87 วรรคสาม (เดิม) ได้
เมื่อศาลมีคาสั่งอนุญาตให้ขังโดยผู้ต้องหาไม่ค้าน เป็นคาสั่งที่ชอบด้วย
กฎหมาย ข้อที่ผู้ต้องหาอ้างว่าถูกทาร้ายจนให้การรับสารภาพ ไม่มีผลทาให้คาสั่ง
ดังกล่าวกลายเป็นคาสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ฎ.3502/2542
ค าสั่ ง ศาลที่ ไ ม่ อ นุ ญ าตให้ ขั ง ผู้ ต้ อ งหาต่ อ ไป จะอุ ท ธรณ์ ฎี ก าไม่ ไ ด้
ดูฎีกาที่ 1125/2496 (ประชุมใหญ่)
ฎี ก าที่ 1125/2496 (ประชุ ม ใหญ่ ) ป.วิ . อ.มาตรา 87 ที่ บั ญ ญั ติ ใ ห้
พนัก งานสอบสวนควบคุ ม ผู้ ต้องหา หรื อให้ ศาลออกหมายขัง ผู้ต้อ งหาไว้ ได้ มี
กาหนดระยะเวลาเป็นขั้น ๆ ตามความผิดนั้น เป็นบทบัญญัติคุ้มครองผู้ต้องหามิ
ให้ถูกควบคุมหรือกักขังนานเกินสมควรแก่เหตุและความจาเป็น ฉะนั้น เมื่อศาล
สั่งไม่อนุญาตให้ขังต่อไปเพราะเห็นว่าไม่มีความจาเป็นที่จะขังแล้ว ก็ไม่มีเหตุที่จะ
อุทธรณ์ฎีกาเพื่อให้ขังผู้ต้องหาต่อไปอีกได้ เพราะสิทธิที่จะฟ้องผู้ต้องหาต่อศาลยัง
มีอยู่ในเมื่อคดีมีมูล
ระยะเวลา 48 ชั่วโมงตามมาตรา 87 วรรคสามตอนต้น ให้นับแต่เวลาที่
ผู้ถูกจับมาถึงที่ทาการของพนักงานสอบสวน ไม่ใช่นับแต่เวลาที่จับกุมตัว ดังนั้น
ถ้าจับกุมตัวผู้ต้องหาเวลา 23.50 น. แต่มาถึงสถานีตารวจเวลา 00.00 น. ของอีก
วันหนึ่ง ระยะเวลา 48 ชั่วโมง ต้องนับแต่เวลา 00.00 น.ของอีกวันหนึ่ง ดูฎีกาที่
984/2529
กรณีที่พนักงานสอบสวนมิได้ขอฝากขังผู้ต้องหาต่อศาลภายในกาหนด
หรือเมื่อครบกาหนดเวลาตามมาตรา 87 แล้ว ยังไม่อาจฟ้องผู้ต้องหาต่อศาลได้
ต้องปล่อยตัวผู้ต้องหาไป แต่หาใช่เป็นเหตุให้โจทก์ไม่มีอานาจฟ้องไม่ (ดูฎีกา
ที่ 4294/2550) ต่อมาถ้าต้องฟ้องผู้ต้องหาต่อศาล มีฎีกาที่ 515/2491 (ประชุม
ใหญ่ ) วิ นิ จ ฉั ย ว่ า เจ้ า พนั ก งานมี อ านาจจั บ ตั ว มาเพื่ อ ฟ้ อ งคดี ต่ อ ศาลได้ เ พราะ
พนักงานอัยการต้องนาตัวจาเลยมาศาลในขณะยื่นฟ้องด้วย ดูฎีกาดังกล่าว
พนักงานอัยการฟ้องโดยจาเลยถูกควบคุมตัวในชั้นสอบสวนเกินกว่า
ที่กฎหมายกาหนดไม่ทาให้กระบวนการสอบสวนที่ชอบและการนาคดีมาฟ้อง
ยังศาลเสียไป เพราะเป็นคนละส่วนกับเรื่องการฟ้อง จึงไม่เป็นเหตุให้ศาลยก
ฟ้อง ดูฎีกาที่ 4113/2552
ถ้าศาลออกหมายขั งผู้ ต้อ งหาแล้ ว ผู้ ต้อ งหาหลบหนีไปถือว่ าผู้ต้ องหา
อยู่ ใ นอ านาจของศาลแล้ ว ไม่ ต้ อ งน าตั ว จ าเลยมาศาลในวั น ยื่ น ฟ้ อ ง
ดูฎีกาที่ 1735/2514 (ประชุมใหญ่)
ก่อนประทับฟ้อง ศาลไม่มีอานาจออกหมายขังจาเลย ฎ.2756/2524
การขังระหว่างพิจารณา (มาตรา 88)
คดีที่ราษฎรเป็นโจทก์ เมื่อศาลประทับฟ้องและได้ตัวจาเลยมาศาลแล้ว
หรือ คดี ที่ พนั กงานอัยการเป็ นโจทก์ เมื่ อได้ยื่ นฟ้อ งต่ อศาลแล้ว ศาลจะสั่ งขั ง
จาเลยหรือปล่อยชั่วคราวก็ได้
บทบัญญัติมาตรา 88 นี้ ได้แก้ไขเพิ่มเติมล่าสุดปี 2547 นี้ ตาม พ.ร.บ.
แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 22) พ.ศ.2547
จากบทบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า วแสดงว่ า คดี ที่ ร าษฎรเป็ น โจทก์ ซึ่ ง ต้ อ งมี ก าร
ไต่สวนมูลฟ้องก่อนระหว่างไต่สวนมูลฟ้อง ศาลจะสั่งขังจาเลยไม่ได้ เพราะจาเลย
ยังไม่อยู่ในฐานะจาเลย แต่เมื่อศาลประทับฟ้องแล้ว ศาลก็มีอานาจขังจาเลยใน
ระหว่างพิจารณาหรือปล่อยชั่วคราวก็ได้ สาหรับคดีที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์
ศาลมี อ านาจขั ง จ าเลยไว้ ใ นระหว่ า งพิ จ ารณาหรื อ จะปล่ อ ยชั่ ว คราวก็ ไ ด้
เช่นเดียวกัน
อย่างไรก็ตาม การออกหมายขังของศาลตามมาตรานี้ ก็ต้องอยู่ภายใต้
หลักเกณฑ์ตามมาตรา 71 วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา 66 ว่าด้วยเหตุในการออก
หมายขังเช่นเดียวกับการออกหมายขังระหว่างการสอบสวนตามมาตรา 87
ฎีกาที่ 4752/2549 เมื่อพนักงานอัยการได้ฟ้องจาเลยและศาลประทับ
ฟ้อง ศาลย่อมมีอานาจออกหมายขังจาเลยไว้ระหว่างพิจารณาได้ตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 71 และมาตรา 88 ที่ใช้ขณะยื่นคาร้องและที่แก้ไขใหม่ ซึ่งเป็นขั้นตอน
ต่างหากจากการจับกุมและควบคุมจาเลยของเจ้าพนักงานตารวจที่ผู้ร้องอ้างว่ามิ
ชอบด้วยกฎหมาย การคุมขังจาเลยระหว่างพิจารณาจึงไม่ขัดต่อ ป.วิ.อ.มาตรา
90
ในกรณียื่นฟ้องจาเลยที่ต้องขังตามหมายศาล ศาลจะขังจาเลยต่อไปหรือ
ปล่อยชั่วคราวก็ได้ จาเลยที่ถูกขังในคดีหนึ่งแล้ว เมื่อถูกฟ้องอีกคดีหนึ่งศาลก็ออก
หมายขังได้อีก ดูฎีกาที่ 2766/2540
การจั ด การตามหมายขั ง หรื อ หมายจ าคุ ก (มาตรา 89 , 89/1 ,
89/2)
ข้ อ สั ง เกต บทบั ญ ญั ติ ม าตรา 89 และ 89/1 ได้ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย
พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม ป.วิ.อ. (ฉบับที่ 25) พ.ศ.2550 กาหนดหลักเกณฑ์การขัง
ผู้ต้องหาหรือจาเลยที่อยู่ระหว่างสอบสวนหรือพิจารณา โดยให้ศาลมีอานาจสั่ง
ให้ขังผู้ต้องหาหรือจาเลย ในสถานที่อื่นนอกจากเรือนจาก็ได้ โดยสถานที่อื่นนั้น
ต้องมิใช่สถานีตารวจ
ก่ อ นหน้ า นี้ ศาลฎี ก าวิ นิ จ ฉั ย ว่ า พนั ก งานสอบสวนอาจขอรั บ ตั ว
ผู้ ต้ อ งหาไปควบคุ ม เองเพื่ อ ท าการสอบสวนต่ อ ไปได้ ดู ฎี ก าที่ 42394240/2542 แต่ ผ ลของกฎหมายที่ แ ก้ ไ ขใหม่ พ นั ก งานสอบสวนจะขอตั ว
ผู้ต้องหาไปควบคุมตัวที่สถานีตารวจไม่ได้
การจาคุกสถานที่อื่นหรือจาคุกเฉพาะวันที่กาหนด (มาตรา 89/2)
ข้อสังเกต บทบัญญัติมาตรา 89/2 ได้เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม
ป.วิ.อ. (ฉบับที่ 25) พ.ศ.2550 มีสาระสาคัญให้ศาลมีคาสั่งให้จาคุกสถานที่อื่น
นอกจากเรือนจาได้หรือให้จาคุกในเรือนจาหรือสถานที่อื่น เฉพาะวันที่กาหนดได้
หรื อ ให้ จ าคุ ก โดยวิ ธี ก ารอื่ น ที่ ส ามารถจ ากั ด การเดิ น ทางและอาณาเขตของ
ผู้นั้น โดยมีหลักเกณฑ์ว่าต้องเป็นผู้ซึ่งต้องจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดได้รับโทษ
จาคุกมาแล้ว ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม ของกาหนดโทษจาคุกหรือไม่น้อยกว่าสิบ
ปี ในกรณีต้องโทษจาคุกเกินกว่าสามสิบปีขึ้นไปหรือจาคุกตลอดชีวิต
สาหรับบุคคลที่มีอานาจร้องขอให้ขังผู้ต้องหาหรือจาเลยในสถานที่อื่น
ได้แก่ พนักงานอัยการ ผู้บัญชาการเรือนจา หรือเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่จัดการ
ตามหมายจาคุกร้องขอ หรือเมื่อศาลเห็นควร สังเกตว่าผู้ซึ่งต้องจาคุกไม่มีสิทธิ
ร้องขอ
การขอให้ปล่อยตัวผู้ถูกคุมขังในคดีอาญา หรือ ในกรณีอื่นใดโดยมิ
ชอบด้วยกฎหมาย
หลักกฎหมาย ป.วิ.อ. มาตรา 90 “เมื่อมีการอ้างว่าบุคคลใดต้องถูกคุม
ขั ง ในคดี อ าญาหรื อ ในกรณี อื่ น ใดโดยมิ ช อบด้ ว ยกฎหมาย (ถู ก ควบคุ ม ตั ว
ในกรณีอื่น ๆ นอกจากถูกคุมขัง) บุคคลเหล่านี้มีสิทธิยื่นคาร้องต่อศาลท้องที่ที่มี
อานาจพิจารณาคดีอาญา ขอให้ปล่อย
(1) ผู้ถูกคุมขังเอง
(2) พนักงานอัยการ
(3) พนักงานสอบสวน
(4) ผู้บัญชาการเรือนจาหรือพัศดี
(5) สามี ภริยา หรือญาติของผู้นั้น หรือบุคคลใดเพื่อประโยชน์ของผู้ถูก
คุมขัง
เมื่อได้รับคาร้อง ให้ศาลดาเนินการไต่สวนฝ่ายเดียวโดยด่วน ถ้าศาลเห็น
ว่ า ค าร้ อ งนั้ น มี มู ล ศาลมี อ านาจสั่ ง ผู้ คุ ม ขั ง ให้ น าตั ว ผู้ ถู ก คุ ม ขั ง มาศาล
โดยพลั น และถ้ า ผู้ คุ ม ขั ง แสดงให้ เ ป็ น ที่ พ อใจแก่ ศ าลไม่ ไ ด้ ว่ า การคุ ม ขั ง เป็ น
การชอบด้วยกฎหมาย ให้ศาลปล่อยตัวผู้ถูกคุมขังไปทันที
ข้อสังเกตเบื้องต้น
“ขัง” หมายถึง การขังจาเลยหรือผู้ต้องหาโดยศาล (มาตรา 2 (22))
“ควบคุ ม ” หมายถึ ง การควบคุ ม หรื อ กั ก ขั ง ผู้ ถู ก จั บ โดยพนั ก งาน
ปกครองหรือตารวจระหว่างสืบสวนและสอบสวน (มาตรา 2 (22))
ตัวอย่าง ผู้เสียหายแจ้งความต่อพนักงานสอบสวนว่าตามวันเวลาเกิด
เหตุ ส. กับพวก คือ พ. ร. และ น. ร่วมกันบุกรุกในเวลากลางคืนทาให้เสียทรัพย์
และลักทรัพย์ แต่เจ้าพนักงานตารวจทาการจับ อ. แล้วนาตัวมาฝากขังต่อศาล อ.
ยื่ น ค าร้ อ งอ้ า งว่ า การจั บ และคุ ม ขั ง ระหว่ า งสอบสวนมิ ช อบด้ ว ยกฎหมาย
เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าไม่มีการออกหมายจับ อ. และตามข้อมูลเบื้องต้นตาม
ที่แจ้งความมีผู้กระทาความผิดเพียง 4 คน ไม่มี อ. เป็นผู้ร่วมกระทาความผิด
พฤติ ก ารณ์ ดั ง กล่ า วจึ ง มี ข้ อ สงสั ย ตามสมควรว่ า เจ้ า พนั ก งานต ารวจจั บ และ
ควบคุม อ. โดยถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ ดังนี้ ถือได้ว่าคาร้องของผู้ร้องมีมูลที่
ศาลจะดาเนินการต่อไป (ฎ.466/2541)
ข้อสังเกต
1. การถูกควบคุมหรือขังโดยผิดกฎหมายตามมาตรา 90 นี้ ไม่ว่าจะถูก
ควบคุมหรือขังโดยเจ้าพนักงานหรือบุคคลธรรมดาก็ขอปล่อยตามมาตรานี้ได้
(ฎ.1200/2504 ประชุมใหญ่)
คดีนี้เป็นเรื่องที่ผู้ร้องยื่นคาร้องต่อศาลว่า ภริยาผู้ร้องถูกคนร้ายสมคบกัน
ฉุดคร่าไปเพื่ออนาจารและข่มขืนกระทาชาเรา ต่อมาผู้ร้องสืบทราบว่าคนร้ายได้
นาภริยาผู้ร้องไปหน่วงเหนี่ยวกักขังอยู่ที่บ้านแห่งหนึ่ง จึงขอให้ศาลออกหมายค้น
บ้ า น ห ลั ง นั้ น เ พื่ อ พ บ แ ล ะ ช่ ว ย เ ห ลื อ ภ ริ ย า ข อ ง ผู้ ร้ อ ง ที่ ถู ก กั ก ขั ง
โดยมิชอบด้วย ป.วิ.อ.มาตรา 69 (3)
2. สิทธิการขอปล่อยตามมาตรา 90 มีอยู่เพียงชั่วระยะเวลาที่ผู้ถูกคุมขัง
ยังถูกควบคุมตัวอยู่เท่านั้น หากมีการปล่อยตัวผู้ถูกคุมขังไปแล้ว ไม่ว่ากรณีใด
ก็ไม่มีเหตุที่จะร้องขอให้ปล่อยตัวอีกต่อไป
ตัวอย่าง ตามคาร้องปรากฏว่าภายหลังจากผู้ร้องถูกควบคุม พนักงาน
สอบสวนได้ปล่อยตัวผู้ร้องชั่วคราวไปแล้ว โดยให้ผู้ร้องทาสัญญาประกันไว้ กรณี
จึงไม่มีการควบคุมตัวผู้ร้องในขณะที่ยื่นคาร้องแล้ว ผู้ร้องจึงไม่อาจที่จะร้องขอ
ตาม มาตรา 90 ได้อีกต่อไป สาหรับทรัพย์สินที่อ้างว่าตารวจยึดไปโดยมิชอบและ
ขอให้ศาลคืนแก่ผู้ร้อง ก็ไม่ใช่กรณีจะยื่นคาขอมาพร้อมกับคาร้องตามมาตรา90ได้
เช่นกัน(ฏ.4827/2550 ประชุมใหญ่)
ผู้ร้องยื่นคาร้องขอให้ศาลไต่สวน และมี คาสั่งปล่อยตัวผู้ร้องจากการ
ควบคุมของเจ้าพนักงานที่อ้างว่าผู้ร้องเป็นบุคคลที่เป็นภัยต่อสังคม เมื่อปรากฏว่า
ระหว่างการไต่สวนของศาลชั้นต้น ผู้ร้องได้รับการปล่อยตัวไปแล้ว จึงไม่มีความ
จาเป็นที่จะต้องไต่สวนอีกต่อไป หากผู้ร้องเห็นว่าการกระทาของผู้คัดค้านเป็น
เหตุให้ผู้ร้องได้รับความเสียหาย โดยผิดกฎหมายอย่างไร ก็ชอบที่ผู้ร้องจะต้องไป
ว่ากล่าวกันเป็นอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก (ฎ.893/2523, ฎ.392/2522)
ระหว่ า งการไต่ ส วนขอให้ ป ล่ อ ยตั ว ผู้ ร้ อ งจากการควบคุ ม ของ
เจ้าพนักงาน ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 90 ผู้ร้องขอให้ศาลสั่งปล่อยชั่วคราวระหว่างรอ
การไต่สวน ศาลชั้นต้นมีคาสั่งอนุญาต เจ้าหน้าที่ตารวจคัดค้านอุทธรณ์คาสั่ง
ปล่ อ ยชั่ ว คราว ค าสั่ ง นี้ เ ป็ น ค าสั่ ง ระหว่ า งพิ จ ารณา ซึ่ ง จะต้ อ งมี ก ารไต่ ส วน
คาร้องต่อไป ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามมาตรา 196 (ฎ.3118/2523)
สิ ท ธิ ใ นการร้ อ งขอให้ ศ าลสั่ ง ปล่ อ ยตั ว จากการคุ ม ขั ง โดยมิ ช อบด้ ว ย
กฎหมายตาม ป.วิ.อ.มาตรา 90 มีอยู่เพียงชั่วระยะเวลาที่ถูกคุมขังโดยไม่ชอบด้วย
กฎหมายเท่านั้น
ผู้ร้องถูกจับกุมก่อนที่ผู้เสียหายร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน ทั้งมิใช่
ความผิดซึ่งหน้าหรือกรณีใด ๆ ที่เจ้าพนักงานตารวจสามารถจับกุมได้โดยไม่ต้อง
มีหมายจับ การคุมขังผู้ร้องโดยพนักงานสอบสวนจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย ทาให้
การคุมขังผู้ร้องในระหว่างพิจารณาคดีไม่ชอบด้วยกฎหมายด้วย แต่ขณะผู้ร้อง
ยื่นคาร้องต่อศาลขอให้สั่งปล่อยตัวผู้ร้อง พนักงานอัยการได้ฟ้องผู้ร้องต่อศาล
ชั้ น ต้ น ในความผิ ด ฐานฆ่ า ผู้ อื่ น โดยไตร่ ต รองไว้ ก่ อ น ฐานพยายามฆ่ า ผู้ อื่ น
โดยไตร่ตรองไว้ก่อน และความผิดต่อพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ ศาลชั้นต้น
ประทับฟ้องและออกหมายขังผู้ร้องในระหว่างพิจารณา ดังนั้น แม้การคุมขังผู้ร้อง
โดยพนักงานสอบสวนจะไม่ชอบด้วยกฎหมาย แต่การคุมขังนั้นก็สิ้นสุดไปแล้ว
ตั้งแต่ศาลประทับฟ้องและออกหมายขังผู้ร้องในระหว่างพิจารณา สิทธิของผู้ร้อง
ที่จะร้องขอให้ปล่อยจากการคุมขังโดยมิชอบด้วยกฎหมายจึงระงับไป ผู้ร้องจึงไม่
อาจจะร้องขอตาม ป.วิ.อ.มาตรา 90 (ฎ.350/2553, ฎ.7116/2544)
3. การถูกควบคุมนี้ แม้จะถูกควบคุมในข้อหาที่อยู่ในอานาจของศาล
ทหาร ก็ร้องขอให้ปล่อยต่อศาลยุติธรรมได้
การร้ อ งขอต่ อ ศาลขอให้ ป ล่ อ ยจากการควบคุ ม โดยผิ ด กฎหมาย
ตาม ป.วิ . อ.มาตรา 90 หมายถึ ง ศาลยุ ติ ธ รรม ซึ่ ง มี อ านาจท าการเกี่ ย วกั บ
คดีอาญาตาม ป.วิ.อ.มาตรา 2 (1)
แม้ผู้ร้องจะถูกจับกุมในข้อหาที่ อยู่ในอานาจศาลทหารที่จะพิจารณา
พิพากษาตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 12 ก็ตาม เมื่อผู้ร้องยังไม่ได้ถูกฟ้อง
ต่อศาลและไม่ได้ถูกควบคุมโดยอานาจศาล แต่ถูกควบคุมโดยพนักงานสอบสวน
ตารวจสันติบาล ซึ่งอยู่ในอานาจของศาลอาญา ศาลอาญาก็มีอานาจรับคาร้อง
ขอให้ ป ล่ อ ยจากการควบคุ ม ดั ง กล่ า วไว้ ด าเนิ น การต่ อ ไปตามกฎหมายได้
(ฎ.1557/2503 ประชุมใหญ่)
คาพิพากษาที่ 14293/2553
คาร้องของจาเลยที่อ้างว่า ฟ้องโจทก์ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ทาให้ศาล
ชั้นต้นตรวจสอบถึงสาระสาคัญคลาดเคลื่อน จึงออกคาพิพากษาที่มิชอบด้วย
กฎหมาย ทาให้จาเลยถูกคุมขังโดยมิชอบด้วยกฎหมายนั้น เป็นกรณีที่จาเลย
โต้แย้งว่าคาพิพากษาศาลชั้นต้นไม่ชอบ ซึ่งหากจาเลยเห็นว่าคาพิพากษาศาล
ชั้นต้นไม่ถูกต้องอย่างไร ก็ชอบที่จะใช้สิทธิอุทธรณ์คัดค้านคาพิพากษาศาล
ชั้นต้นไปยังศาลอุทธรณ์ภาค 6 ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 193 จาเลยจะยกเอาเหตุ
ดังกล่าวขึ้นมากล่าวอ้างว่าจาเลยถูกคุมขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย เพื่อยื่นคา
ร้องขอให้ปล่อยตัวจาเลยตาม ป.วิ.อ. มาตรา 90 หาได้ไม่
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4314/2555
การที่ผู้ร้องซึ่งเป็นบิดาของจาเลยที่ 1 ยื่นคาร้องขอให้ปล่อยจาเลยที่
1 โดยอ้างว่า จาเลยที่ 1 ถูกคุมขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย เป็นการใช้สิทธิ
ยื่นคาร้องตามมาตรา 90 (5) เพื่อประโยชน์ของจาเลยที่ 1 ผู้ถูกคุมขัง เมื่อ
ศาลชั้นต้นยกคาร้อง แม้ผู้ร้องไม่อุทธรณ์ แต่จาเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้ถูกคุมขัง
เองเป็นผู้มีส่วนได้เสียและได้รับผลกระทบโดยตรงจากคาสั่งของศาลชั้นต้น
ที่ให้ยกคาร้อง มีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งดังกล่าวของศาลชั้นต้นได้ เนื่องจากไม่มี
บทกฎหมายใดห้ามหรือจากัดสิทธิในการอุทธรณ์ในกรณีนี้ไว้
สรุปแนวฎีกาที่เกี่ยวข้อง
1. จัดการตามหมายจับใช้สาเนาก็ได้ ฎ.3031/2547
2. พบไม้หวงห้าม , สุราเถื่อน ไม่เป็นความผิดซึ่งหน้า ฎ.2535/2550
,ฎ.3743/2529 , ฎ.3227/2531
3. พบแผ่นซีดเี กมส์ ละเมิดลิขสิทธิ์ , ยาเสพติด เป็นความผิดซึ่งหน้า
ฎ.6891/2549 , ฎ. 1328/2544 , ฎ. 1164/2546 ฎ.3751/2551
4. แอบดูเห็นเล่นการพนัน , ซื้อขายยาเสพติด เป็นความผิดซึ่งหน้า
ฎ.698/2516 ประชุมใหญ่ , ฎ.2848/2547,ฎ.7454/2544
4.1 การทะเลาะวิวาทซึ่งได้ยุติลงไปก่อนแล้ว ไม่ใช่การกระทาผิดซึ่ง
หน้า ตารวจซึ่งมาภายหลังเกิดเหตุ ไม่มีอานาจจับโดยไม่มีหมายจับ ฎ.4243/2542,
ฎ2353/2530
4.2 ขณะเกิดเหตุที่จาเลยแทงผู้ตาย ผู้เสียหายไม่ได้อยู่ในที่เกิดเหตุ
และไม่เห็นเหตุการณ์ โดยผู้เสียหายยืนอยู่ห่างจากที่เกิดเหตุประมาณ 50 เมตร
มองไม่เห็นที่เกิดเหตุเพราะมีร้านค้าบังอยู่ ผู้เสียหายซึ่งเป็นราษฎรจึงไม่มีอานาจ
จับตามกฎหมายเพราะมิใช่ความผิดซึ่งหน้า ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 79
(ฎ.4282/2555)
5. กฎหมายเดิมร้องทุกข์ไว้แล้วไปพบเห็นผู้กระทาผิดอยู่ที่ไหนขอ
ให้ตารวจจับได้ โดยไม่ต้องมีหมายจับ ฎ.741/2522 แต่ตามมาตรา 78 ใหม่ตัด
หลักเกณฑ์นี้ไปแล้ว จึงต้องออกหมายจับ
5.1การแจ้ ง ข้ อ หาแก่ จ าเลยยั ง ไม่ ถื อ ว่ า จ าเลยถู ก จั บ ฎ.8458/2551,
ฎ . 6635/2551, ฎ 6208/2550ป ร ะ ชุ ม ใ ห ญ่ , ฎ . 5042/2549, ฎ 5499/2549,
ฎ . 3952/2549, ฎ 8708/2547, ฎ . 6600/2549ก ร ณี ถื อ ว่ า จ า เ ล ย ถู ก จั บ
ฎ.8314/2549,ฎ1997/2550
6. โรงหญิงนครโสเภณี วัดวาอาราม โรงละคร โรงแรม ตามปกติเป็น
สาธารณสถาน แต่บางส่วนหรือบางเวลาที่ไม่อนุญาตให้เข้าไปไม่ใช่ที่สาธารณสถาน
7 .สถานี ร ถไฟ และสถานที่ บ นขบวนรถไฟโดยสาร ไม่ ใ ช่
ที่รโหฐาน ฎ.2024/2497
8. ห้องโถงและห้องพักในสถานค้าประเวณีเวลารับแขก
มาเที่ยว เป็นสาธารณสถาน ฎ.883/2520 ประชุมใหญ่ , ฎ.69/2535
ค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น
8.1 ที่พักสายตรวจตาบลเป็นสาธารณสถาน ฎ.4958/2556
9. โรงค้าไม้บริเวณด้านหน้า และด้านหลังที่ใช้เป็นที่อาศัยไม่ใช่สาธารณสถาน แต่
เป็นที่รโหฐาน ฎ.2914/2537
9.1 บ้านยังไม่มีประตูรั้วกับประตูบ้าน ทั้งยังสร้างไม่เสร็จ แต่โดยสภาพของบ้าน
ที่พักอาศัยย่อมเป็นที่รโหฐาน ฎ.6557/2547
10. ถ้ า ผู้ ก ระท าผิ ดต่ อ สู้ขั ด ขวาง ผู้จั บ กุม ไม่ต้ อ งแจ้ ง ว่ า เขาต้ อ งถู กจั บ ฎ.319320/2521
11. แม้การจั บกุมควบคุ ม ค้ น จะไม่ช อบด้วยกฎหมายก็ไม่ทาให้การสอบสวน
ที่ ช อบด้ ว ยกฎหมายเสี ย ไปด้ ว ย ฎ.157/2540 , ฎ.2699/2516 , ฎ.3238/2531 ,
ฎ.1493/2550 , ฎ.4113/2552
12. คาให้การรับสารภาพชั้นจับกุม ห้ามรับฟังเป็นพยานโดยเด็ดขาด แต่ไม่มีผล
ย้อนหลัง ฎ.931/2548 ประชุมใหญ่ , ฎ.2215/2548
12.1 การออกหมายจั บ ผู้ ต้ อ งหาเป็ น อ านาจของผู้ พิ พ ากษาคนเดี ย วใน
ศาลชั้นต้น อุทธรณ์ฎีกาไม่ได้ ฎ.479/2555
13. ถ้อยคาอื่น จะรับฟังเป็นพยานพิสูจน์ความผิดของผู้ถูกจับได้ต่อเมื่อได้
มีการแจ้งสิทธิแก่ผู้ถูกจับแล้ว เช่นรับว่าอาวุธของกลางเป็นของตน รับว่าตนอยู่
ในเหตุการณ์ รับว่าตนมีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้ตาย
14. มาตรา 93 แสดงว่า การค้นบุคคลในที่สาธารณสถานไม่ต้องมีหมายค้น
แต่ ต้ อ งมี เ หตุ อั น ควรสงสั ย ว่ า มี สิ่ ง ของในครอบครองเพื่ อ จะใช้ ก ระท าผิ ด ฯลฯ
และเมื่อตรวจค้นแล้วพบว่าเป็นความผิดซึ่งหน้าก็จับได้โดยไม่ต้องมีหมายจับ เช่น
พบแผ่นซีดีละเมิดลิขสิทธิ์ ฎ.6894/2549 พบจาเลยมีพฤติการณ์อันควรสงสัย และ
นาปืนติดตัวโดยไม่ได้รับใบอนุญาต ฎ.9212/2539 ค้นจาเลยขณะยืนซุบซิบกันหลัง
สถานีรถไฟ ฎ.1082/2507 เป็นผู้ต้องหาที่มีผู้แจ้งว่าจะไปทาความผิดและมีอาวุธ
ปืน ฎ.1152/2521 ค้นตัวจาเลยขณะกาลัง ขายก๋วยเตี๋ยว และค้นพบเมทอยู่ใน
กระเป๋าคาดเอวของจาเลยเป็นความผิดซึ่งหน้า ตารวจตรวจค้นและจับกุมได้โดย
ชอบ ฎ.3751/2551
14.1 จ าเลยนั่ ง โทรศั พ ท์ อ ยู่ บ นถนนไม่ ไ ด้ อ ยู่ ห ลั ง ซอยที่ อ้ า ง
ว่ามีอาชญากรรมเกิดขึ้นประจา ไม่ปรากฏว่าจาเลยมีท่าทางพิรุธ การที่ตารวจ
อ้างว่าเกิดความสงสัยในตัวจาเลย จึงขอตรวจค้นโดยไม่มีเหตุผลสนับสนุนว่า
เพราะเหตุ ใ ดจึ ง สงสั ย เป็ น ข้ อ สงสั ย ที่ อ ยู่ บ นพื้ น ฐานของความรู้ สึ ก เพี ย ง
อย่างเดียวถือไม่ได้ว่ามีเหตุอันควรสงสัยตาม ป.วิ.อ. มาตรา 93 การตรวจค้นตัว
จ าเล ยจึ ง ไ ม่ ช อบ จ าเล ย มี สิ ท ธิ โ ต้ แ ย้ งแล ะป้ อ งกั น สิ ท ธิ ข องตนได้
(ฎ.8722/2555)
15. ร้านค้า ร้านกาแฟ ถนนซอยในที่ดินเอกชน ซึ่งแบ่งให้คนอื่นปลูกบ้าน
เป็นสาธารณสถาน ฎ.1362/2508 , ฎ.1732/2516 , ฎ.1908/2518
16. เมื่อค้นในที่รโหฐานผู้ค้นมีอานาจค้นตัวบุคคลที่ขัดขวางการค้นและ
ยึดสิ่งของที่ซุกซ่อนในร่างกายได้ มาตรา 100 วรรคสอง
17. เมื่อจับตัวผู้ต้องหา ผู้จับมีอานาจค้นตัวผู้ต้องหา และยึดสิ่งของที่ใช้
เป็นพยานได้ มาตรา 85 วรรคหนึ่ง
18. หมายค้นแม้จะระบุเลขที่บ้านผิดก็เป็นหมายค้นที่ชอบด้วยกฎหมาย
ฎ.3479/2548 , ฎ.6942/2551 , ฏ.1328/2544
19. มีผู้ร้องเรียนว่าจาเลยตอนกลางวันจะปิดบ้านเก็บตัวในบ้านกลางคืน
ออกจากบ้าน ไม่ยุ่งกับเพื่อนบ้าน ไม่ปรากฏอาชีพ มีเหตุสงสัยว่ามีสิ่งของผิด
กฎหมายซุกซ่อนในบ้าน ออกหมายค้นได้ ฎ.5479/2536
20. เมื่อตรวจค้นตามหมายค้น พบผู้กระทาผิดซึ่งหน้าผู้จับมีอานาจจับ
ได้ โดยไม่ต้องออกหมายจับอีก ฎ.360/2542
21. เมื่อกระบวนการต่าง ๆ ในการค้นตามหมายค้นได้เสร็จสิ้นแล้ว
เจ้าของบ้านที่ถูกค้นจะขอให้ศาลไต่สวนเพื่อทราบสาเหตุและหลักฐานที่มาในการ
ขอออกหมายค้นไม่ได้ หากติดใจว่าการตรวจค้นไม่ชอบต้องว่ากล่าวเป็นอีกคดี
ต่างหาก ฎ.270/2543
22. ศาลชั้ น ต้ น วิ นิ จ ฉั ย ว่ า ต ารวจสามารถค้ น รถยนต์ ไ ด้ โดยตี ค วาม
ที่รโหฐานคือสถานที่หรือที่ตั้ง ซึ่งเคลื่อนย้ายไม่ได้ แต่รถยนต์เคลื่อนที่ได้ จึงไม่ใช่
ที่รโหฐาน ตรงกับหลักกฎหมายอเมริกา (ยังไม่มีฎีกาเป็นบรรทัดฐาน)
23. ต ารวจจั บ ได้ ข ณะจ าเลยก าลั ง ขายวั ต ถุ อ อกฤทธิ์ ใ ห้ แ ก่ ผู้ ล่ อ ซื้ อ
เป็นความผิดซึ่งหน้าและเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง ตารวจจึงมีอานาจค้นบ้านซึ่ง
เป็นที่รโหฐานเวลากลางคืนโดยไม่ต้องมีหมายค้น และจับได้โดยไม่ต้องมีหมายจับ
ฎ.4461/2540
24. ตารวจเห็นจาเลยส่งมอบยาบ้าแก่สายลับจึงจับกุม เมื่อตรวจห้องก็
พบยาบ้าอีกจานวนหนึ่ง การตรวจค้นจับกุมกระทาต่อเนื่องกัน เป็นความผิดซึ่ง
หน้าทั้ง2 ข้อหา (จาหน่ายและมีไว้เพื่อจาหน่าย) จึงมีอานาจค้นและจับโดยไม่
ต้องมีหมายค้นและหมายจับ ฎ.2848/2547
25. ก่ อ นตรวจค้ น ต ารวจเห็ น จ าเลยโยนยาบ้ า ออกไปนอกหน้ า ต่ า ง
เป็นความผิดซึ่งหน้าข้อหามียาเสพติดไว้ในครอบครอง และได้กระทาในที่รโหฐาน
จึงมีอานาจจับและค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายจับและหมายค้น ฎ.1164/2546
26. เห็นจาเลยขุดแปลงผักแล้วเอาสิ่งของใส่ในหลุมที่ขุดแล้วกลบไว้
เมื่อตารวจใช้จอบขุดหลุมพบยาบ้า ถือว่ามีเหตุสงสัยว่าสิ่งของได้ซ่อนอยู่ที่เกิด
เหตุทั้งมีเหตุเชื่อว่า หากเนิ่นช้าสิ่งของจะถูกโยกย้ายเสียก่อน จึงสามารถค้นได้
โดยไม่มีหมายค้น ฎ.1605/2544
27. ตารวจจับกุม จาเลยพร้อมยาบ้า ในเวลา 16.00 น. เป็นเวลาเย็น
ใกล้ มื ด แล้ ว ประกอบกั บ ยาเสพติ ด ขนย้ า ยหลบหนี ไ ด้ ง่ า ย โดยเฉพาะเวลา
กลางคืน และสถานีตารวจมิได้อยู่ใกล้กับศาล หากขอหมายค้นทาให้เนิ่นช้า จึง
ค้นได้โดยไม่มีหมายค้น ฎ.7387/2543
28. “เจ้าบ้าน” หมายถึง หัวหน้าของบุคคลที่พักอาศัยอยู่ในบ้านหลังนั้น
รวมตลอดถึงคู่สมรสของหัวหน้าเท่านั้น ฎ.1035/2536
29. เจ้าของที่รโหฐานยินยอมในการค้น แม้ไม่มีหมายค้นถือว่าชอบด้วยกฎหมาย
ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 33 วรรคสาม และ ฎ.1164/2546,ฎ1328/2544
29.1 เจ้าของบ้านพาตารวจไปค้นบ้านถือว่ายินยอมให้ค้น
ฎ.10477/2555
30. การจับกุมโดยมีหมายจับและหมายค้น หากเจ้าของบ้านไม่ยอมให้เข้าไปค้น
เจ้าพนักงานมีอานาจใช้กาลังทาลายประตูบ้านเข้าไปจับกุมได้ถือว่าเป็นกรณีจาเป็น
ฎ.6403/2545
31. ตารวจตรวจค้นจั บกุมเวลา 18.02 น. แสดงว่า ลงมือตรวจค้นตั้งแต่เวลา
กลางวัน เมื่อยังไม่เสร็จ จึงมีอานาจตรวจค้นจับกุมต่อไปในเวลากลางคืนได้ ฎ.6403/2545
32. กานันเห็นเจ้าของบ้านกับพวกกาลังต้มกลั่นสุราเถื่อนอยู่ในบ้านเวลากลางคืน
นับเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง กานันจึงเข้าไปจับกุมได้ ไม่ผิดฐานบุกรุก ฎ.1087/2492
33. ตรวจค้นจับกุมผู้ต้องหาลักลอบเล่นการพนัน เป็นความผิดซึ่งหน้า
และเป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง ตรวจค้นและจับเวลากลางคืนได้ โดยไม่ต้องมีหมาย
ค้นและหมายจับ ฎ.4950/2540 , ฎ. 698/2518 ประชุมใหญ่
34. จาเลยมีและดื่มสุราเถื่อนเพียงเล็กน้อยวิ่งหลบหนีไปบนเรือน ไม่
ปรากฏว่าจาเลยจะซุกซ่อนหรือหลบหนีไปไหน ไม่เป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่งที่จะ
เข้าจับกุมในบ้านเวลากลางคืนได้ ฎ.675/2483
35. จ าเลยกระท าผิ ด ซึ่ ง หน้ า ในความผิ ด ลหุ โ ทษในเวลากลางคื น
แล้วหลบหนีเข้าบ้านซึ่งตารวจรู้จักบ้านอย่างดีแล้ว ไม่ปรากฏว่าจาเลยจะหลบหนี
ไม่เป็นกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง ที่จะจับกุมในที่รโหฐานเวลากลางคืนได้ ฎ.187/2507
, ฎ.706/2516
36. การค้นในที่รโหฐาน ต่อหน้าบุตรเจ้าของบ้านแม้จะยังไม่บรรลุนิติ
ภาวะแต่เข้าใจสาระสาคัญของการกระทาและมีความรู้สึกผิดชอบเพียงพอ ก็เป็น
การค้นที่ชอบด้วยกฎหมาย ฎ.1455/2544
37. เมื่อมีเหตุให้เชื่อได้ว่ามีของที่ได้มาโดยผิดกฎหมายอยู่ในบ้าน หากไม่
ตรวจค้นของที่อยู่ในบ้านอาจถูกขนไปเสีย การตรวจค้นโดยไม่ทาลายกุญแจไม่
อาจทาได้ ทั้งการตรวจได้กระทาต่อหน้าพยาน 2 คน จึงเป็นการตรวจค้นที่ชอบ
ฎ.4791/2528
38. การค้นต่อหน้าบุคคลในครอบครัวซึ่งตาบอดทั้งสองข้างและหูหนวก
และบุคคลอื่นอีก 1 คน เป็นการค้นโดยชอบ ฎ.395/2519
39. กรณีเชิญบุคคลอื่นมาเป็นพยาน ต้องเชิญมาขณะตรวจค้นพบของ
กลาง ถ้าเชิญมาภายหลังตรวจค้นแล้ว เป็นการไม่ชอบ ฎ.4793/2549
40. คดีที่อยู่ระหว่างอุทธรณ์ฎีกา ถ้าจาเลยถูกควบคุมหรือขังมาแล้ว
เท่ากับหรือเกินกว่าโทษจาคุกตามคาพิพากษาศาลล่าง ให้ศาลออกหมายปล่อย
จาเลย เว้นแต่จะเห็นสมควรเป็นอย่างอื่นในกรณีที่โจทก์อุทธรณ์ฎีกาขอให้เพิ่ม
โทษ คาสั่งคาร้องศาลฎีกาที่ ท.165/2552
41. ผู้ ต้ อ งหาที่ ยั ง ไม่ ถู ก จั บ กุ ม ไม่ อ ยู่ ใ นอ านาจควบคุ ม ของพนั ก งาน
สอบสวนหรืออัยการ และไม่มีเหตุที่จะออกหมายขังจะขอให้ศาลออกหมายขัง
ระหว่างสอบสวนไม่ได้ ฎ.8708/2547 ประกอบป.วิ.อ. มาตรา 134 ที่แก้ไขใหม่
42. คาสั่งศาลอนุญาตให้ฝากขังโดยผู้ต้องหาไม่ค้านเป็นคาสั่งที่ชอบด้วย
กฎหมาย แม้ต่อมาภายหลังผู้ต้องหาจะอ้างว่าถูกทาร้ายขู่เข็ญให้รับสารภาพ ก็ไม่
มีผลให้คาสั่งอนุญาตไม่ชอบด้วยกฎหมาย ฎ.3502/2542
43. คาสั่งศาลที่ไม่อนุญาตให้ขังผู้ ต้องหาต่อไป จะอุทธรณ์ฎีกาไม่ได้
ฎ.1125/2496 ประชุมใหญ่
44. ระยะเวลา 48 ชั่วโมง ตามป.วิ.อ. มาตรา 87 วรรคสามตอนต้น ให้
นับแต่เวลาที่ผู้ถูกจับมาถึงที่ทาการของพนักงานสอบสวน ไม่ใช่นับแต่เวลาที่
จับกุมตัว ฎ.984/2529
45. การที่พนักงานสอบสวนไม่ได้ขอฝากขังผู้ต้องภายในกาหนดหรือเมื่อ
ครบตาม ป.วิ.อ. มาตรา 87 แล้ว ต้องปล่อยตัวผู้ต้องหาไป แต่ไม่เป็นเหตุให้โจทก์
ไม่มีอานาจฟ้อง ฎ.4294/2550 ซึ่งต่อมาถ้าต้องฟ้องผู้ต้องหา ตารวจก็มีอานาจ
จับตัวมาเพื่อฟ้องได้ ฎ.515/2491 ประชุมใหญ่
46. อั ย การฟ้ อ งโดยจ าเลยถู ก ควบคุ ม ตั ว ในชั้ น สอบสวนเกิ น กว่ า ที่
กฎหมายกาหนดไม่ทาให้กระบวนการสอบสวนที่ชอบและการนาคดีมาฟ้องยัง
ศาลเสียไป ฎ.4113/2552
47. ถ้า ศาลออกหมายขัง ผู้ ต้ องหาแล้ ว หลบหนี ไ ป ถื อ ว่า ผู้ ต้ องหาอยู่
ในอานาจของศาลแล้ว ไม่ต้องนาตัวจาเลยมาศาลในวันยื่นฟ้อง ฎ.1735/2514
48. ก่อนประทับฟ้อง ศาลไม่มีอานาจออกหมายขังจาเลย ตาม ป.วิ.อ.
71 ฎ.2756/2524
49. การออกหมายขังตาม ป.วิ.อ. มาตรา 88 ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์
ตามมาตรา 71 วรรคหนึ่ง ประกอบ 66 เช่นเดียวกับการออกหมายขังระหว่าง
สอบสวนตามมาตรา 87 ฎ.4752/2549
50. จาเลยที่ถูกขัง ในคดีหนึ่ง แล้ ว เมื่ อถูกฟ้องอี กคดีหนึ่ง ศาลก็ออก
หมายขังได้อีก ฎ.2766/2540
51. เดิมศาลฎีกาวินิจฉัยว่า พนักงานสอบสวนอาจขอรับตัวผู้ต้องหาไป
ควบคุมเอง เพื่อสอบสวนต่อไปได้ ฎ.4239-4240/2542 แต่ผลของการแก้ ป.วิ.อ.
มาตรา 89 , มาตรา 89/1 เมื่อปี 2550 พนักงานสอบสวนจะขอตัวผู้ต้องหาไป
ควบคุมตัวที่สถานีตารวจไม่ได้
52. ข้อเท็จจริงได้ความว่าไม่มีการออกหมายจับ อ. และตามข้อมูล
เบื้องต้นมีผู้กระทาผิดเพียง 4 คน ไม่มี อ.เป็นผู้ร่วมกระทาผิด จึงมีข้อสงสัยตาม
สมควรว่าตารวจจับและควบคุม อ. โดยถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ คาร้องจึงมี
มูล ฎ.466/2541
53. การถูก ควบคุมหรือ ขั งโดยผิดกฎหมายตามมาตรา 90 ไม่ว่า จะถู ก
ควบคุม หรื อขั งโดยเจ้ า พนั ก งานหรือ บุค คลธรรมดา ก็ ข อปล่อ ยตามมาตรานี้ไ ด้
ฎ.1200/2504 ประชุมใหญ่
54. สิ ทธิ ก ารขอปล่ อ ยตามมาตรา 90 มี อ ยู่ เ พีย งชั่ ว ระยะเวลาที่ ยั ง ถู ก
ควบคุมอยู่เท่านั้น หากมีการปล่อยตัวไปแล้ว ก็ไม่มีเหตุที่จะขอให้ปล่อยอีกต่อไป
ฎ.4827/2550 ประชุมใหญ่ , ฎ.893/2523, ฎ.392/2522
55. การถู ก ควบคุ ม ตามมาตรา 90 แม้ จ ะถู ก ควบคุ ม ในข้ อ หาที่ อ ยู่ ใ น
อานาจศาลทหาร ก็ร้องขอให้ปล่อยตัวต่อศาลยุติธรรมได้ ฎ.1557/2503 ประชุม
ใหญ่
56.ศาลชั้นต้นอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวผู้ร้องระหว่างรอการไต่สวนตามป.
วิ.อ.มาตรา90 ถือว่าเป็นคาสั่งระหว่างพิจารณาต้องห้ามอุทธรณ์ตามม.196 ฎ
3118/2523
57. แม้การคุมขังโดยพนักงานสอบสวนจะไม่ชอบ แต่การคุมขัง
นั้นสิ้นสุดไปแล้ว ตั้งแต่ศาลประทับฟ้องและออกหมายขังผู้ร้องใน
ระหว่างพิจารณา สิทธิ ขอให้ปล่อยจากการคุมขังโดยมิชอบจึงระงับ ผู้
ร้องไม่อาจจะร้องขอตาม
ป.วิ.อ. มาตรา 90 ได้
(ฎ.350/2553, ฎ.7116/2544)
58. ผู้ร้องจะร้องขอคืนของกลางที่ถูกยึดรวมมาในคาร้องตาม
มาตรา 90 ไม่ได้ (ฎ.4791/2528)
59. เมื่อศาลพิพากษาลงโทษจาคุกจาเลยแล้ว จาเลยโต้แย้งว่าคา
พิพากษาศาลชั้นต้นไม่ถูกต้องอย่างไร จาเลยต้องใช้สิทธิอุทธรณ์ จะยกเหตุ
ดังกล่าวมาร้องขอตามมาตรา 90 ไม่ได้ (ฎ.14293/2553)
60. การที่ผู้ร้องซึ่งเป็นบิดาของจาเลยที่ 1 ยื่นคาร้องขอให้ปล่อยจาเลย
ที่ 1 โดยอ้างว่า จาเลยที่ 1 ถูกคุมขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย เป็นการใช้สิทธิ
ยื่นคาร้องตามมาตรา 90 (5) เพื่อประโยชน์ของจาเลยที่ 1 ผู้ถูกคุมขัง เมื่อ
ศาลชั้นต้นยกคาร้อง แม้ผู้ร้องไม่อุทธรณ์ แต่จาเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้ถูกคุมขังเอง
เป็นผู้มีส่วนได้เสียและได้รับผลกระทบโดยตรงจากคาสั่งของศาลชั้นต้นที่ให้
ยกคาร้อง มีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งดังกล่าวของศาลชั้นต้นได้ เนื่องจากไม่มีบท
กฎหมายใดห้ามหรือจากัดสิทธิในการอุทธรณ์ในกรณีนี้ไว้ (ฎ.4314/2555)
ตัวอย่างคาถาม
ข้อ 1 ร.ต.อ.เก่งกล้าได้นาหมายค้นไปตรวจค้นที่บ้านของนายโกงกาง
เนื่องจากได้รับแจ้งว่ามีการลักลอบจาหน่ายเมทแอมเฟตามีนที่บ้านดังกล่าว ผล
การตรวจค้นพบเมทแอมเฟตามีนจานวน 50 เม็ดในกระเป๋าเสื้อของนายโกงกาง
ซึ่งนายโกงกางให้การรับว่าได้ซื้อเมทแอมเฟตามีนดังกล่าวมาจากนายเกตุพงษ์
ร.ต.อ.เก่งกล้า จึงให้นายโกงกางพาไปที่บ้านของนายเกตุพงษ์ซึ่งเปิดเป็นร้านขาย
ข้ า ว แ ก ง แ ล้ ว ร . ต . อ . เ ก่ ง ก ล้ า จึ ง เ ข้ า ต ร ว จ ค้ น ตั ว
นายเกตุพงษ์ขณะที่นายเกตุพงษ์กาลังขายข้าวแกงอยู่ภายในร้าน ซึ่งขณะนั้นมี
ลูกค้านั่งรับประทานข้าวแกงอยู่โดยมิได้ไปขอหมายค้นและหมายจับจากศาล
ก่อน เนื่องจากเห็นว่าเป็นกรณีเร่งด่วน ผลการตรวจค้นพบเมทแอมเฟตามีน
จานวน 200 เม็ด ในกระเป๋ากางเกงของนายเกตุพงษ์ จึงได้จับกุมนายเกตุพงษ์
ดังนี้ ให้วินิจฉัยว่าการจับของ ร.ต.อ.เก่งกล้าชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
เพราะเหตุใด
กรณีตามปัญหาวินิจฉัยได้ว่า
“ที่รโหฐาน” หมายถึง สถานที่ที่บุคคลภายนอกไม่มีอานาจเข้าไปได้
ตามอาเภอใจ โดยต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของสถานที่เสียก่อน เช่น ที่อยู่อาศัย
ซึ่งในกรณีที่เจ้าพนักงานตารวจจะทาการจับผู้ใดในที่รโหฐาน ตารวจจะต้องมี
อานาจถึง 2 ประการ คือ
1. อานาจในการจับ กล่าวคือ มีหมายจับ หรือมีอานาจจับได้โดยไม่ต้อง
มีหมายจับ
2. อานาจในการค้นในที่รโหฐาน
เมื่อเจ้าพนักงานตารวจมีทั้ง 2 อานาจนี้แล้วจึงสามารถจับบุคคลใน
ที่รโหฐานได้
เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า ขณะที่เจ้าพนักงานตารวจเข้าตรวจค้นตัว
นายเกตุพงษ์นั้น นายเกตุพงษ์กาลังขายข้าวแกงอยู่ที่ร้านขายข้าวแกงของนาย
เกตุพงษ์ ซึ่งมีลูกค้ากาลังนั่งรับประทานข้าวแกงอยู่ ดังนี้ ร้านข้าวแกงของนาย
เกตุพงษ์จึงไม่ใช่ที่รโหฐาน แต่เป็นที่สาธารณสถานซึ่งประชาชนมีความชอบธรรม
ที่จะเข้าไปได้ และเมื่อเจ้าพนักงานตารวจมีเหตุอันควรสงสัยว่านายเกตุพงษ์
มีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองเพื่อจาหน่ายอันเป็นความผิดต่อกฎหมาย
เจ้าพนักงานตารวจย่อมมีอานาจค้นตัวนายเกตุพงษ์ได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น
ตามมาตรา 93 และเมื่ อตรวจค้ นพบเมทแอมเฟตามี น อยู่ใ นครอบครองของ
นายเกตุพงษ์ การกระทาของนายเกตุพงษ์ จึงเป็นความผิดซึ่งหน้า เพราะเป็น
กรณีที่เจ้าพนักงานได้ “เห็น” หรือ “พบ” ในขณะกาลังกระทาความผิดด้วย
ตนเองอย่างแท้จริง เจ้าพนักงานตารวจย่อมมีอานาจจับนายเกตุพงษ์ได้โดยไม่
ต้องมีหมายจับ ตามมาตรา 78 (1) ประกอบมาตรา 80 วรรคแรก ดังนั้น การ
ตรวจค้นและจับกุมดังกล่าวจึงชอบด้วยกฎหมายแล้ว ฎ.3751/2551
*สังเกตว่า* ความผิดซึ่งหน้า ตามมาตรา 80 วรรคแรกนี้ หมายความ
ถึงความผิดตามกฎหมายใดก็ได้ที่มีโทษทางอาญา เช่น พ.ร.บ.อาวุธปืนฯ , พ.ร.บ.
ยาเสพติดให้โทษฯ , พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ฯ ล้วนเป็นความผิดซึ่งหน้าตามมาตรา 80
วรรคแรกได้ทั้งสิ้น
สรุป การจับกุมของ ร.ต.อ.เก่งกล้าชอบด้วยกฎหมาย เพราะเป็นกรณีที่
มีเหตุ อันควรสงสั ยว่า บุคคลนั้นมี สิ่ งของซึ่ งมี ไว้เป็ นความผิด ไว้ในครอบครอง
ประกอบกับเป็นความผิดซึ่งหน้า ร.ต.อ.เก่งกล้าจึงมีอานาจตรวจค้นและจับนาย
เกตุพงษ์ได้ ตามมาตรา 93 ประกอบมาตรา 78 (1) และมาตรา 80 วรรคแรก
ข้อ2 ร.ต.อ.มาโนช พบนางสมศรีกาลังวิ่งไล่จับนายมานพมา
ตามทางสาธารณะและได้ยินนางสมศรีร้องตะโกนว่า “จับที จับที มันขโมย”
ร.ต.อ.มาโนชจะเข้าทาการจับนายมานพ แต่นายมานพวิ่งหนีเข้าไปในบ้าน
มารดาของนายมานพซึ่งนายมานพก็พักอาศัยอยู่ในบ้านหลังนี้ด้วย ร.ต.อ.มา
โนชจึงตามเข้าไปจับนายมานพในบ้านมารดาของนายมานพทันที ดังนี้ การ
จับของร.ต.อ.มาโนชชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด
กรณีตามปัญหาวินิจฉัยได้ว่า การจับของ ร.ต.อ.มาโนช เป็น
การจับในที่รโหฐานซึ่งการที่จะเข้าไปจับได้ต้องมีอานาจในการจับ โดยมีหมายจับ
หรื อ อ านาจที่ ก ฎหมายให้ ท าการจั บ ได้ โ ดยไม่ ต้ อ งมี ห มาย และได้ ท าตาม
บทบัญญัติใน ป.วิ.อ.อันว่าด้วยการค้นในที่รโหฐาน คือ มีหมายค้น หรือมีอานาจ
ที่กฎหมายให้ทาการค้นได้โดยไม่ต้องมีหมาย
การที่ ร.ต.อ. มาโนช พบนางสมศรีกาลังวิ่งไล่จับนายมานพมาตามทาง
สาธารณะและได้ยินนางสมศรีร้องตะโกนว่า “จับที จับที มันขโมย” เป็นความผิดซึ่ง
หน้าตาม ป.วิ.อ. มาตรา 78 (1) ประกอบ มาตรา 80 วรรคสอง (1) เนื่องจากการที่
นางสมศรีร้ อ งตะโกนว่า “จั บที จั บ ที มันขโมย” ถื อ เป็นความผิด ฐานลัก ทรั พ ย์
ซึ่งเป็นความผิดที่ระบุอยู่ในบัญชีท้าย ป.วิ.อ. ประกอบกับนายมานพถูกนางสมศรี
วิ่งไล่จับ ดังว่า นายมานพเป็นผู้กระทาความผิดมา ร.ต.อ.มาโนช จึงมีอานาจในการ
จับนายมานพ แม้ไม่มีหมายจับ และตามปัญหา ร.ต.อ.มาโนช ได้ทาตามบทบัญญัติ
ป.วิ.อ. อันว่าด้วยการค้นในที่รโหฐาน ตามมาตรา 92 (3) แล้ว เนื่องจากเป็นกรณี
ที่นายมานพซึ่งได้กระทาความผิดซึ่งหน้า ขณะที่ถูก ร.ต.อ.มาโนชไล่จับได้หนีเข้าไป
ซุกซ่อนตัวอยู่ในบ้านมารดาของนายมานพซึ่งเป็นที่รโหฐาน ดังนี้ ร.ต.อ.มาโนช จึงมี
อานาจตามเข้าไปจับนายมานพในบ้านมารดาของนายมานพทันที
สรุป การจับของ ร.ต.อ.มาโนช ชอบด้วยกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 78 (1) , มาตรา 80 วรรสอง , มาตรา 81 และมาตรา 92 (3)
ข้อ 3 พ.ต.ต.ธนกฤต ขับรถออกตรวจท้องที่เวลาห้าทุ่ม เห็นนายดายก
ปืนขึ้นเล็งไปที่นายเอกซึ่งทั้งนายดาและนายเอกอยู่ภายในบ้านของนางส้ม พ.ต.ต.
ธนกฤต จึงเข้าไปทาการจับนายดาในบ้านของนางส้มทันทีโดยที่ไม่มีหมายจับและ
หมายค้น
ดังนี้การที่ พ.ต.ต.ธนกฤต เข้าไปจับนายดาในบ้านของนางส้มชอบด้วย
กฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด
กรณีตามปัญหาวินิจฉัยได้ว่า การจับของ พ.ต.ต.ธนกฤต เป็นการจับในที่
รโหฐานในเวลากลางคืน (เนื่องจากตามปัญหาการกระทาความผิดเกิดเวลาห้าทุ่ม )
ซึ่ ง การที่ จ ะเข้ า ไปจั บ ได้ ต้ อ งมี อ านาจในการจั บ โดยมี ห มายจั บ หรื อ อ านาจที่
กฎหมายให้ทาการจับได้โดยไม่ต้องมีหมายและต้องทาตามบทบัญญัติในประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอันว่าด้วยการค้นในที่รโหฐาน คือ มีอานาจในการ
ค้น โดยมีหมายค้นหรือมีอานาจที่กฎหมายให้ทาการค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายรวมถึง
จะต้องมีอานาจที่จะเข้าไปทาการค้นในที่รโหฐานในเวลากลางคืน
การที่ พ.ต.ต.ธนกฤต เห็นนายดายกปืนขึ้นเล็งไปที่นายเอก การกระทา
ของนายดาเป็นความผิดฐานพยายามฆ่านายเอก (ป.อ.มาตรา 288 ประกอบมาตรา
80) เมื่อ พ.ต.ต.ธนกฤต เห็นการกระทาดังกล่าว จึงมีอานาจในการจับ เนื่องจากเป็น
ความผิดซึ่งหน้า (ประเภทความผิดซึ่งหน้าอย่างแท้จริงกรณีเห็นบุคคลกาลังกระทา
ความผิดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 78 ประกอบมาตรา 80) และตามปัญหาเป็นกรณีนายดา
กระทาความผิดซึ่งหน้า (พ.ต.ต.ธนกฤต) ในบ้านของนางส้มซึ่งเป็นที่รโหฐาน จึงถือว่า
พ.ต.ต.ธนกฤต ได้ทาตามบทบัญญัติใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอันว่า
ด้วยการค้นในที่รโหฐาน คือ มีอานาจในการค้น แล้ว (ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 92 (2))
และตามปั ญ หาถื อ เป็ น กรณี ฉุ ก เฉิ น อย่ า งยิ่ ง ซึ่ ง จะท าการค้ น ในที่ ร โหฐานเวลา
กลางคืนก็ได้ เนื่องจากหาก พ.ต.ต.ธนกฤตไม่เข้าไปขณะนั้น (เวลาห้าทุ่ม) นายเอก
อาจได้รับอันตรายถึงชีวิตได้ พ.ต.ต.ธนกฤต จึงสามารถเข้าไปทาการจับนายดาในบ้าน
ของนางส้มได้
ดังนั้น การที่ พ.ต.ต.ธนกฤต เข้าไปจับนายดาในบ้านของนางส้มชอบด้วย
กฎหมาย ฎ.4461/2540
ข้อ 4
พ.ต.ท.ไพศาล และ ร.ต.อ.พงษ์เทพ พบนายเสือกาลั งรอ
ขึ้ น เครื่ อ งบิ น สนามบิ น สุ ว รรณภู มิ พ.ต.ท.ไพศาล ได้ บ อก ร.ต.อ.พงษ์ เ ทพ ว่ า
เมื่ อ สองวั น มาแล้ ว นายเสื อ หลบหนี ก ารควบคุ ม หลั ง จากการจั บ กุ ม ของตน
ตามหมายจับในข้อหาทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนได้รับอันตรายสาหัส ร.ต.อ.พงษ์เทพ
ได้เดินเข้าไปหานายเสือแสดงตัวเป็นเจ้าพนักงานตารวจและแจ้งว่าต้องถูกจับ
ทั้ ง แจ้ ง ข้ อ หาดั ง กล่ า วกั บ แจ้ ง สิ ท ธิ ต ามกฎหมาย จากนั้ น ได้ จั บ นายเสื อ น าส่ ง
พนักงานสอบสวน
ดังนี้ การจับของ ร.ต.อ.พงษ์เทพ ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด
กรณี ต ามปั ญ หาวินิ จ ฉั ย ได้ ว่ า แม้ ห มายจั บ ที่ ศ าลออกเพื่ อ ให้ จั บ
นายเสื อ จะใช้ ไ ม่ ไ ด้ แ ล้ ว เพราะจั บ นายเสื อ ตามหมายจั บ ได้ แ ล้ ว แต่ ก รณี นี้
ร.ต.อ.พงษ์เทพ มีอานาจจับนายเสือ เนื่องจากมีหลักฐานตามสมควรว่านายเสือ
น่าจะได้กระทาความผิดอาญา จนมีการออกหมายจับแล้วและมีเหตุอันควรเชื่อ
ว่าจะหลบหนี เพราะเคยหลบหนีแล้ว ประกอบกับมีความจาเป็นเร่งด่วนไม่อาจ
ขอให้ศาลออกหมายจับนายเสือได้ เพราะนายเสือกาลังรอขึ้นเครื่องบิน ดังนั้น
การจับจึงชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา 78 (3) ประกอบมาตรา 66 (2)
สรุป การจับของ ร.ต.อ.พงษ์เทพ ชอบด้วยกฎหมาย
ข้อ 5 ร.ต.ท.มาโนช นายสมชายและนางสาวสมศรีได้รับเชิญจาก
นายสมศักดิ์เจ้าของบ้านให้ไปร่วมงานเลี้ยงในเวลากลางวัน ที่บ้านนายสมศักดิ์
ซึ่งอยู่ติดกับบ้านนายสมชาย ขณะอยู่ในบ้านของนายสมศักดิ์ นางสาวสมศรีจาได้
ว่ า นายสมชายเป็ น คนร้ า ยที่ ไ ด้ ข่ ม ขื น กระท าช าเราตนเมื่ อ สั ป ดาห์ ก่ อ น
นางสาวสมศรีจึงชี้ให้ ร.ต.ท.มาโนช จับนายสมชายโดยแจ้งว่าได้ร้องทุกข์ไว้แล้ว
ร.ต.ท.มาโนช จึง เข้ าจั บ กุม นายสมชาย โดยได้ ป ฏิบั ติต ามขั้ นตอนการจับ กุ ม
แล้ ว น าตั ว นายสมชายไปยั ง ที่ ท าการของพนั ก งานสอบสวนแห่ ง ท้ อ งที่
ที่ถูกจับ ดังนี้ การจับของ ร.ต.ท.มาโนช ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด
กรณีตามปัญหาวินิจฉัยได้ว่า ร.ต.ท.มาโนช จับนายสมชายในบ้าน
ของนายสมศั ก ดิ์ เ ป็ น การจั บ ในที่ ร โหฐาน ซึ่ ง จะต้ อ งมี อ านาจในการจั บ คื อ
มี ห มายจั บ หรื อ มี อ านาจในการจั บ ได้ โ ดยไม่ ต้ อ งมี ห มาย และต้ อ งท าตาม
บทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้อันว่าด้วยการค้นในที่รโหฐาน
การจั บ ของ ร.ต.ท.มาโนช แม้ จ ะได้ ท าตามบทบั ญ ญั ติ ใ นประมวล
กฎหมายนี้ อั น ว่ า ด้ ว ยการค้ น ในที่ ร โหฐาน เนื่ อ งจากนายสมศั ก ดิ์ เ จ้ า ของ
ผู้ครอบครองที่รโหฐานเชื้อเชิญให้เข้าไปในที่รโหฐานนั้น แต่ ร.ต.ท.มาโนช ไม่มี
อานาจในการจับ เนื่องจากตาม ป.วิ.อ. มาตรา 78 (3) ประกอบมาตรา 66 (2)
เจ้าพนักงานตารวจจะจับนายสมชายโดยไม่มีหมายจับได้ ต่อเมื่อมีหลักฐานตาม
สมควรว่านายสมชายน่าจะได้กระทาผิดอาญาและมีเหตุอันควรเชื่อว่า
นายสมชายจะหลบหนี ห รื อ จะไปยุ่ ง เหยิ ง กั บ พยานหลั ก ฐานหรื อ ก่ อ เหตุ ร้ า ย
ประการอื่น และมีความจาเป็นเร่งด่ วนที่ ไม่ อาจขอให้ศาลออกหมายจับนาย
สมชายได้ กรณีตามปัญหานี้ไม่ปรากฏว่านายสมชายมีท่าทีจะหลบหนีประกอบ
กับนายสมชายมีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง ร.ต.ท.มาโนช จะจับนายสมชายโดยไม่มี
หมายจับของศาลไม่ได้ การจับจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ข้อ 6 ร.ต.อ.แดง มีหลักฐานตามสมควรว่านายดาเป็นผู้ลักรถยนต์
ของนายเอก ระหว่างที่ ร.ต.อ.แดง กาลังดาเนินการขอหมายจับนายดาจากศาล
ร.ต.ต.ระย้า ได้รายงานให้ ร.ต.อ.แดง ทราบว่านายดากาลังขับรถยนต์คันที่ลัก
จากนายเอกออกไปนอกประเทศไทย หากรอหมายจับนายดาน่าจะขับรถออก
นอกประเทศไทยไปก่อ น ร.ต.อ.แดง จึ ง ตั ดสิ น ใจจั บ กุม นายด าทัน ที โ ดยไม่ มี
หมายจับ
ดังนี้ การจับของ ร.ต.อ.แดง ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด
กรณีตามปัญหาวินิจฉัยได้ว่า ตามปัญหา ร.ต.อ.แดง มีหลักฐาน
ตามสมควรว่ า นายด าเป็ น ผู้ ลั ก รถยนต์ ข องนายเอก และมี เ หตุ อั น ควรเชื่ อ ว่ า
นายดาจะหลบหนีเนื่องจาก ร.ต.ต.ระย้า ได้รายงานให้ ร.ต.อ.แดง ทราบว่า
นายดากาลังขับรถยนต์คันที่ลักจากนายเอกออกไปนอกประเทศไทยและมีความ
จ าเป็ น เร่ ง ด่ ว นที่ ไ ม่ อ าจขอให้ ศ าลออกหมายจั บ บุ ค คลนั้ น ได้ เ พราะหากรอ
หมายจั บ นายด าน่ า จะขั บ รถออกนอกประเทศไทยไปก่ อ น ร.ต.อ.แดง จึ ง มี
อานาจจับกุมนายดาทันทีโดยไม่มีหมายจับตาม ป.วิ.อ. มาตรา 78 (3) ประกอบ
มาตรา 66 (2)
ดังนั้น การจับของ ร.ต.อ.แดง ชอบด้วยกฎหมาย
ข้อ 7 วิชิตถูกจับและได้รับการปล่อยชั่วคราวระหว่างสอบสวน
โดยมีนายวิชัยใช้ตาแหน่งข้าราชการเป็นหลักประกันให้แก่นายวิชิต หลังจาก
นายวิ ชิ ต ได้ รั บ การปล่ อ ยชั่ ว คราวได้ ส ามวั น นายวิ ชั ย พบว่ า นายวิ ชิ ต ก าลั ง
จะหลบหนีไปต่างจังหวัด และนายวิชัยเห็น ร.ต.ท.มาโนช อยู่ในบริเวณนั้น
จึ ง ขอให้ ร.ต.ท.มาโนช ท าการจั บ นายวิ ชิ ต ร.ต.ท.มาโนช จึ ง ท าการจั บ
นายวิชิตทันทีโดยไม่มีหมายจับ
ดั ง นี้ การจั บ ของ ร .ต.ท.มาโนช ชอบด้ ว ยกฎหมายหรื อ ไม่
เพราะเหตุใด
กรณี ต ามปั ญ หาวิ นิ จ ฉั ย ได้ ว่ า นายวิ ชั ย ใช้ ต าแหน่ ง ข้ า ราชการ
เป็ น หลั ก ประกั น ให้ แ ก่ น ายวิ ชิ ต ผู้ ต้ อ งหา ซึ่ ง ได้ รั บ การปล่ อ ยตั ว ในระหว่ า ง
สอบสวน ต่ อ มานายวิ ชัย พบว่ า นายวิชิ ต กาลั งจะหลบหนี ไ ปต่ า งจั ง หวั ด และ
นายวิชัยเห็นว่า ร.ต.ท.มาโนช อยู่ในบริเวณนั้น จึงขอให้ ร.ต.ท.มาโนช ทาการจับ
นายวิ ชิ ต ร.ต.ท.มาโนช จึ ง ท าการจั บ นายวิ ชิ ต ทั น ที โ ดยไม่ มี ห มายจั บ ดั ง นี้
ร.ต.ท.มาโนช มีอานาจในการจับนายวิชิต แม้ว่าจะไม่มีหมายจับ เนื่องจากเป็น
กรณีที่บุคคลซึ่งเป็นหลักประกัน เป็นผู้พบเห็นผู้ต้องหาหรือจาเลยหนีหรือจะ
หลบหนี บุคคลผู้เป็นหลักประกันสามารถขอให้เจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือ
ตารวจที่ใกล้ที่สุดจับผู้ต้องหาหรือจาเลยได้
ดั ง นั้ น การจั บ ของ ร.ต.ท.มาโนช ชอบด้ ว ย ป.วิ . อ. มาตรา 78 (4)
ประกอบมาตรา 117
ข้อสอบเนติบัณฑิตสมัย 65
ข้อ 6.ร้อยตารวจโทธรรมสืบทราบว่านายแดงซึ่งศาลได้ออกหมายจับในคดี
ชิงทรัพย์หลบซ่อนตัวอยู่ในบ้านเลขที่ 22 ของนายดาน้องชายนายแดง จึงยื่นคาร้อง
ต่อศาลขอออกหมายค้นบ้านหลังดังกล่าว ศาลออกหมายค้นให้ตามคาร้องขอ เมื่อ
ร้อยตารวจโทธรรมและสิบตารวจตรีพรกับพวกไปถึงบ้านนายดา พบว่านายแดง
หลบหนีเข้าไปในบ้านเลขที่ 23 ซึ่งตามทะเบียนบ้านมีนายแดงเป็นเจ้าบ้าน ร้อย
ตารวจโทธรรมได้แสดงตัวแต่นายแดงได้ปิดประตูไม่ยอมให้เข้าบ้าน ร้อยตารวจโท
ธรรมและสิบตารวจตรีพรกับพวกตามเข้าไปจับนายแดง นายแดงไม่ยอมเปิดประตู
อ้างว่าจะมอบตัวในวันหลัง ร้อยตารวจโทธรรมและสิบตารวจตรีพรกับพวก
กระแทกประตูจนเปิดออกแล้วเข้าไปจับกุมนายแดงไว้ได้ ส่วนสิบตารวจตรีพรเห็น
นายเหลืองบุตรนายแดงกาลังเสพเมทแอมเฟตามีนอยู่ในบ้านดังกล่าว จึงเข้าจับกุม
นาส่งพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบให้วินิจฉัยว่า การตรวจค้นและจับกุมนายแดง
และนายเหลืองชอบหรือไม่
ธงคาตอบ
การจับในที่รโหฐานนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 81
บัญญัติว่า ไม่ว่าจะมีหมายจับหรือไม่ก็ตาม ห้ามมิให้จับในที่รโหฐาน เว้นแต่จะได้ทา
ตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายอันนี้ว่าด้วยการค้นในที่รโหฐาน ส่วนการค้นใน
ที่รโหฐานนั้นตามมาตรา 92 วรรคหนึ่ง (5) หากผู้จะต้องถูกจับเป็นเจ้าบ้าน และ
การจับนั้นมีหมายจับเจ้าพนักงานตารวจย่อมมีอานาจค้นและจับได้ การจับนายแดง
ย่อมกระทาได้ เนื่องจากนายแดงผู้จะต้องถูกจับเป็นเจ้าบ้าน และมีหมายจับนาย
แดงตามบทบัญญัติมาตราดังกล่าว ในการจับปรากฏว่านายแดงหลบหนีเข้าไปใน
บ้านแล้วปิดประตูไม่ยอมให้ร้อยตารวจโทธรรมกับพวกเข้าไปจับ ร้อยตารวจโท
ธรรมกับพวกย่อมมีอานาจใช้กาลังเพื่อเข้าไปในบ้านนั้น การที่ร้อยตารวจโทธรรม
และสิบตารวจตรีพรกับพวกกระแทกประตูบ้านจนเปิดออกแล้วเข้าไปจับนายแดงไว้
ได้ นับว่าเป็นกรณีจาเป็นที่ร้อยตารวจโทธรรมเจ้าพนักงานตารวจผู้ตรวจค้นมี
อานาจกระทาได้ตามมาตรา 94 วรรคสอง เพราะเป็นการใช้กาลังอันเหมาะสมตาม
พฤติการณ์แห่งเรื่อง (คาพิพากษาฎีกาที่ 1035/2536, 6403/2545) การตรวจค้น
บ้านและจับกุม นายแดงจึงชอบด้วยกฎหมายแล้ว
เมื่อขณะตรวจค้นสิบตารวจตรีพรเห็นนายเหลืองกาลังเสพเมทแอมเฟตามีนในบ้าน
ของนายแดงซึ่งเป็นความผิดซึ่งหน้า สิบตารวจตรีพรย่อมมีอานาจจับกุมนายเหลือง
ได้ตามมาตรา 98 (2) การตรวจค้นและจับกุมนายเหลืองจึงชอบแล้วเช่นกัน
ข้อสอบเนติบัณฑิต สมัย 64
ข้ อ 6. วั น ที่ 31 มี น าคม 2555 นายแดงไปแจ้ ง ความว่ า นายด าขั บ รถยนต์
โดยประมาทชนรถจักรยานยนต์ของนายแดงเป็นเหตุให้นายแดงได้รับอันตราย
แก่กาย เหตุเกิดที่บริเวณหน้าโรงค้าไม้เจริญไพศาล วันอาทิตย์ที่ 1 เมษายน 2555
เวลา 11 นาฬิกา นายแดงพาร้อยตารวจเอกเขียวกับพลตารวจขาวไปจับกุมนายดา
ที่ บ ริ เ วณโรงค้ า ไม้ เ จริ ญ ไพศาล ซึ่ ง เป็ น ของนายหมึ ก บิ ด านายด า โดยโรงค้ า ไม้
ดั ง กล่ า วนอกจากขายไม้ แ ล้ ว ยั ง ใช้ เ ป็ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย ด้ ว ย และหยุ ด ท าการค้ า
ในวันอาทิตย์ เมื่อร้อยตารวจเอกเขียวไปถึง นายแดงชี้ให้ร้อยตารวจเอกเขียวจับ
นายดาซึ่งนั่งอยู่ที่ม้านั่งภายในบริเวณโรงค้าไม้นั้น ร้อยตารวจเอกเขียวจึงแสดงบัตร
ประจาตัวเจ้าพนักงานและขอจับกุมนายดา โดยแจ้งว่าขับรถยนต์โดยประมาท
ชนรถจักรยานยนต์ของนายแดงเป็นเหตุให้นายแดงได้รับอันตรายแก่กายโดยไม่มี
หมายจับและหมายค้น นายดาขัดขืนจึงเกิดการต่อสู้กัน ระหว่างการต่อสู้ปรากฏว่า
เมทแอมเฟตามีนหล่นมาจากกระเป๋าเสื้อที่นายดาสวมใส่ จานวน 51 เม็ด นายดา
ยอมรับว่านายเหลืองนามามอบให้นายดาไว้ขายแก่บุคคลทั่วไป ร้อยตารวจเอกเขียว
จึ ง แจ้ ง ข้ อ หาและจั บ กุ ม นายด าส่ ง พนั ก งานสอบสวนยั ง ที่ ท าการของพนั ก งาน
สอบสวนผู้ รั บ ผิ ด ชอบ นายด าต่ อ สู้ ว่ า การจั บ กุ ม ของเจ้ า พนั ก งานทั้ ง สองข้ อ หา
ความผิดดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ให้วินิจฉัยว่า ข้อต่อสู้ของนายดาฟังขึ้นหรือไม่
ธงคาตอบ
วันเกิดเหตุโรงค้าไม้เจริญไพศาลหยุดทาการค้า และโรงค้าไม้ดังกล่าวใช้เป็นที่
อยู่ อาศัยด้ว ย จึงเป็น ที่รโหฐานตามประมวลกฎหมายวิ ธีพิจ ารณาความอาญา
มาตรา 2(13) การที่ ร้ อ ยต ารวจเอกเขี ย วเข้ า ไปในโรงค้ า ไม้ ดั ง กล่ า วโดยไม่ มี
หมายจั บ และหมายค้น แม้ นายแดงจะได้แจ้ ง ความร้ อ งทุ ก ข์ไ ว้ แล้ ว ก็ตาม ร้ อ ย
ตารวจเอกเขียวก็ไม่มีอานาจเข้าไปจับนายดาในที่รโหฐานได้ตามมาตรา 81 และ
ไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 78
อย่างไรก็ตามเมื่อร้อยตารวจเอกเขียวเข้าไปแล้วพบนายดา นายดาไม่ยอมให้
จับเกิดการดิ้นรนต่อสู้กัน และปรากฏว่าเมทแอมเฟตามีนหล่นมาจากกระเป๋าเสื้อ
นายด าสวมใส่ เช่ น นี้ ย่ อ มถื อ เป็ น ความผิ ด ซึ่ ง หน้ า ตามประมวลกฎหมายวิ ธี
พิจารณาความอาญา มาตรา 80 วรรคหนึ่ง ซึ่งร้อยตารวจเอกเขียวมีอานาจจับ
นายดาในความผิดฐานมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองเพื่อจาหน่ายได้โดยไม่
ต้องมีหมายจับตามมาตรา 78(1) ประกอบมาตรา 81 และมาตรา 92(2) การจับ
ของเจ้าพนักงานจึงชอบด้วยกฎหมาย ข้อต่อสู้ของนายดาฟังไม่ขึ้น
ข้อสอบเนติบัณฑิต สมัย 63
ข้อ 6. นางเจนผู้เสียหายนาสาเนาหมายจับซึ่งไม่มีการรับรองว่าถูกต้องแล้วที่ให้จับ
นางดาผู้ต้องหาว่ากระทาความผิดฐานทาร้ายร่างกายจนเป็นเหตุให้ได้รับอันตราย
สาหัส ซึ่งต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสิบปี มอบให้แก่ร้อยตารวจตรีเข้ม
และชี้ยืนยันให้จับนางดาที่เห็นนางเจนแล้วกาลังจะขึ้นรถยนต์รับจ้าง ร้อยตารวจตรี
เข้มจึงจับนางดาโดยแจ้งว่าต้องถูกจับ แจ้งข้อกล่าวหาและแสดงสาเนาหมายจับ
ดังกล่าวพร้อมแจ้งสิทธิตามกฎหมาย แล้วนานางดาส่งมอบแก่พันตารวจโทขาว
พนักงานสอบสวนของที่ทาการของพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ พันตารวจโทขาว
แจ้งสิทธิตามกฎหมายแล้วให้สิบตารวจโทหญิงแดงค้นตัวนางดา พบและยึดมีด
1 เล่ ม ไว้ เ ป็ น ของกลาง และสอบปากค านางด าแล้ ว อนุ ญ าตให้ ป ล่ อ ยชั่ ว คราว
นางดายื่นคาร้องต่อศาลขอให้ปล่อยตัวโดยคาร้องระบุเหตุการณ์ข้างต้น และอ้างว่า
การจับ การค้นกับการคุมขังมิชอบด้วยกฎหมาย ศาลสั่งยกคาร้องโดยมิได้ไต่สวน
ให้วินิจฉัยว่า การจับ การค้นของเจ้าพนักงาน และคาสั่งของศาลชอบด้วยกฎหมาย
หรือไม่
ธงคาตอบ
กรณีเจ้าพนักงานจับและจัดการตามสาเนาหมายจับที่มิได้รับรองว่าถูกต้อง
แล้วนั้น แม้จะถือไม่ได้ว่าเป็นการจับโดยมีหมายจับหรือจัดการตามหมายจับตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(9) มาตรา 77 วรรคสอง
(1) ก็ตาม แต่เมื่อมีการออกหมายจับแล้วก็แสดงให้เห็นได้ในตัวว่า มีหลักฐานตาม
สมควรว่านางดาผู้ต้องหาน่าจะได้กระทาความผิดอาญาไม่ว่าจะมีอัตราโทษจาคุก
อย่างสูงเกินสามปีหรือไม่ และมีเหตุอันควรเชื่อว่าผู้ต้องหาจะหลบหนีเพราะเห็น
ผู้เสียหายแล้วก็เตรียมจะขึ้นรถยนต์รับจ้าง อันหมายถึงมีเหตุที่จะออกหมายจับ
ผู้ต้องหาตามมาตรา 66(2) และเห็นได้ว่า กรณีเช่นนี้มีความจาเป็นเร่งด่วนที่ไม่
อาจขอให้ศาลออกหมายจับผู้ต้องหานั้นได้ทันหรือจัดหาต้นฉบับหมายจับหรือ
เอกสารตามมาตรา 77 วรรคสอง(1) ได้ทัน เจ้าพนักงานย่อมมีอานาจจับผู้ต้องหา
ได้โดยไม่มีหมายจับหรือคาสั่งของศาลตามมาตรา 78(3) การจับของเจ้าพนักงาน
จึงชอบด้วยกฎหมาย (ตามมติเสียงข้างมากของที่ประชุมกรรมการออกข้อสอบ)
กรณี การค้นนั้น เจ้าพนักงานผูร้ ับตัวผูถ้ ูกจับโดยชอบไว้ มีอานาจ
ค้นตัวผูต้ อ้ งหาและยึดสิ่ งของต่างๆ ที่อาจใช้เป็ นพยานหลักฐานได้ และให้
หญิงอื่นค้นตัวผูต้ อ้ งหาหญิง การค้นตัวจึงชอบด้วยกฎหมายตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 85 วรรคหนึ่งและวรรคสอง
กรณี คาสัง่ ของศาลนั้น เมื่อเจ้าพนักงานจับชอบด้วยกฎหมาย มีผล
ให้การคุมขังชอบด้วยกฎหมายทั้งนายดาได้รับอนุญาตให้ปล่อยชัว่ คราว ไม่
ถูกคุมขัง ศาลชอบที่จะสัง่ ยกคาร้องโดยไม่จาเป็ นต้องไต่สวนก่อน คาสัง่
ศาลจึงชอบด้วยกฎหมาย
ข้อสอบเนติบัณฑิต สมัย 62
ข้อ 6. (ก) เหตุเกิดเวลากลางวันขณะที่นายดาอยู่ที่หน้าบ้านของนายแดง นายดา
เห็นนายแดงกาลังใช้อาวุธมีดแทงทาร้ายร่างกายนายขาวหลายครั้งในบ้านของ
นายแดง อันเป็นความผิดที่ระบุไว้ในบัญชีท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา นายดาจึงเข้าไปจับกุมนายแดงในบ้านของนายแดง แล้วนาส่งที่ทา
การพนักงานสอบสวนแห่งท้องที่ที่ถูกจับ
(ข) นายแดงเจ้าของบ้าน เชิญนายดาให้เข้าไปรับประทานอาหารในบ้าน
ของนายแดง ขณะที่นายดาอยู่ในบ้าน นายดาเห็นนายเขียวกาลังใช้อาวุธมีดแทง
ทาร้ายร่างกายนายเหลืองหลายครั้งในบ้านของนายแดง นายดาจึงเข้าจับกุม
นายเขียวส่งที่ทาการของพนักงานสอบสวนแห่งท้องที่ที่ถูกจับ
ให้วินิจฉัยว่า การจับกุมของนายดาทั้งสองกรณีชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
ธงคาตอบ
(ก) การจับเป็นอานาจของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจ ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 78 ราษฎรจะจับได้เมื่อเข้าเกณฑ์ตาม
มาตรา 79 แม้นายดาจะเห็นนายแดงทาร้ายร่างกายนายขาวอันเป็นความผิด
ซึ่ ง หน้ า ที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นบั ญ ชี ท้ า ยประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา
แต่ความผิ ดนั้นกระทาลงในบ้า นของนายแดงอัน เป็น ที่รโหฐาน นายดาไม่มี
อานาจเข้าไปจับนายแดง เพราะเป็นการจับในที่รโหฐาน
ซึ่งต้องห้ามตามมาตรา 81 เว้นแต่จะได้ทาตามบทบัญญัติที่ว่าด้วยการค้น
ในที่รโหฐาน เมื่อนายดาเป็นราษฎรย่อมไม่มีอานาจค้นในที่รโหฐานไม่ว่ากรณี
ใด ๆ นายดาจึงไม่มีอานาจเข้าไปจับนายแดง การจับกุมของนายดาตามข้อ (ก)
จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(ข) นายแดงเจ้าของบ้านเชิญนายดาให้เข้าไปในบ้าน จึงเป็นการเข้าไปในที่
รโหฐานโดยชอบ เมื่ อนายดาอยู่ใ นบ้ า นเห็น นายเขี ยวกาลั งใช้อ าวุธ มีด แทง
ท าร้ า ยนายเหลื อ ง นายด าสามารถจั บ นายเขี ย วได้ โดยอาศั ย อ านาจตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 79 และไม่ถือเป็นการค้นในที่
รโหฐานอั น จะเป็ น การต้ อ งห้ า มตามมาตรา 81 เพราะนายด าได้ เ ข้ า ไปในที่
รโหฐานโดยชอบอันเนื่องมาจากการเชิญของนายแดงเจ้าของบ้าน การจับกุม
ของนายดา ตามข้อ (ข) จึงชอบด้วยกฎหมาย
ข้อสอบเนติบัณฑิต สมัย 61
ข้อ 6. พันตารวจตรีเก่งกับร้อยตารวจโทกล้าพบนายเขียวอายุยี่สิบปี
กาลังรอขึ้นเครื่องบินที่สนามบินสุวรรณภูมิ พันตารวจตรีเก่งบอกร้อยตารวจโท
กล้าว่า นายเขียวหลบหนีการควบคุมหลังจากการจับกุมของตนตามหมายจับ
เมื่ อ สองวั น มาแล้ ว ในข้ อ หาท าร้ า ยร่ า งกายผู้ อื่ น จนได้ รั บ อั น ตรายสาหั ส
ต้องระวางโทษจาคุกหกเดือนถึงสิบปี ร้อยตารวจโทกล้าเดินเข้าไปหานายเขียว
แสดงตัวเป็นเจ้าพนักงานตารวจและแจ้งว่าต้องถูกจับ ทั้งแจ้งข้อหาดังกล่าว
กับแจ้งสิทธิตามกฎหมาย จากนั้นได้จับนายเขียวนาส่งพนักงานสอบสวน ต่อมา
ภายในเวลาตามกฎหมาย พนักงานสอบสวนนาตัวนายเขียวผู้ต้องหาไปศาล
พร้อมยื่นคาร้องระบุข้อเท็จจริงดังกล่าว กับอ้างเหตุจาเป็นต้องสอบพยานอีก
ห้าปาก จึงขอศาลออกหมายขังผู้ต้องหาสิบสองวัน นายเขียวร้องขอศาลให้ตั้ง
ทนายความให้และคัดค้านว่าการจับและการขอหมายขังไม่ช อบ เพราะร้อ ย
ตารวจโทกล้าไม่ใช่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานผู้จัดการตามหมายจับและหมายจับ
สิ้นผลแล้ว
ให้วิ นิ จ ฉั ย ว่ า ศาลจะมี ค าสั่ ง ในเรื่ อ งของการตั้ง ทนายความและข้ อ
คัดค้านของ นายเขียวเกี่ยวกับการจับและการขอหมายขังอย่างไร
ธงคาตอบ
ในเรื่องการขอตั้งทนายความ เนื่องจากคดีนี้มีอัตราโทษจาคุกกับผู้ต้องหา
ไม่ มี ท นายความ เมื่ อ ปรากฏว่ า ยั ง ไม่ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134/1 และผู้ต้องหาร้องขอตามมาตรา 87
วรรคแปด ศาลต้องตั้งทนายความให้นายเขียวผู้ ต้องหาในเรื่องที่นายเขียว
คัดค้านว่าการจับ และการขอหมายขังไม่ชอบ หลังจากศาลได้ไต่สวนฟังถ้อย
แถลงของผู้ร้องและข้อคัดค้านของผู้ต้องหากับทนายความ เมื่อข้อเท็จจริงได้
ความตามค าร้ อ งแล้ ว มี ป ระเด็ น ต้ อ งวิ นิ จ ฉั ย เสี ย ก่ อ นว่ า การจั บ ชอบด้ ว ย
กฎหมายหรือไม่ แม้ร้อยตารวจโทกล้าไม่ใช่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานผู้จัดการ
ตามหมายจับ และหมายจับใช้ไม่ได้เพราะจับผู้ต้องหาตามหมายจับได้แล้วก็
ตาม แต่ ร้ อ ยต ารวจโทกล้ า มี อ านาจจั บ ผู้ ต้ อ งหา กล่ า วคื อ มี ห ลั ก ฐานตาม
สมควรว่าผู้ต้องหาน่าจะได้กระทาความผิดอาญาจนมีการออกหมายจับแล้ว
และมีเหตุอันควรเชื่อว่าผู้ต้องหาจะหลบหนี เพราะเคยหลบหนีแล้ว ประกอบ
กับมีความจาเป็นเร่งด่วนไม่อาจขอให้ศาลออกหมายจับผู้ต้องหาได้ เพราะ
ผู้ต้องหากาลังรอขึ้นเครื่องบิน การจับจึงชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา 78 (3)
ประกอบมาตรา 66 (2) และมีเหตุออกหมายขังได้ตามมาตรา 71 ประกอบ
มาตรา 87 การขอหมายขังชอบด้วยกฎหมายเช่นกัน ศาลชอบที่จะมีคาสั่ง
อนุญาตให้ออกหมายขังผู้ต้องหาสิบสองวันตามคาร้อง
ข้อ 3. ร้อยตารวจโทสมชายกับพวกเจ้าพนักงานตารวจสถานีตารวจ
นครบาลบางขุนเทียนได้นาหมายค้นไปตรวจค้นที่บ้านของนายหนึ่ง ซึ่งอยู่ในเขต
ท้องที่ ส ถานี ตารวจนครบาลบางขุ น เที ยนเนื่ องจากได้ รั บแจ้ง ว่า มีการลั กลอบ
จาหน่ายเมทแอมเฟตามีนที่บ้านดังกล่าว ผลการตรวจค้นพบเมทแอมเฟตามีน
จ านวน 50 เม็ ด ในกระเป๋ า เสื้ อ ของนายหนึ่ ง ซึ่ ง นายหนึ่ ง ให้ ก ารรั บ ว่ า ได้ ซื้ อ
เมทแอมเฟตามีนดังกล่าวมาจากนายสอง ร้อยตารวจโทสมชายกับพวก จึงให้
นายหนึ่งพาไปที่บ้านของนายสองซึ่งเปิดเป็นร้านขายข้าวแกงอยู่ในเขตท้องที่
ของสถานีตารวจนครบาลบางยี่ขันแล้วร้อยตารวจโทสมชายกับพวกจึงเข้าตรวจ
ค้นตัวนายสองขณะที่นายสองกาลังขายข้าวแกงอยู่ภายในร้าน ซึ่งขณะนั้นมีลูกค้า
นั่งรับประทานข้า วแกงอยู่ โดยมิได้ไปขอหมายค้น และหมายจับจากศาลก่อน
เนื่องจากเห็นว่าเป็นกรณีเร่งด่วนผลการตรวจค้นพบเมทแอมเฟตามีนจานวน
200 เม็ด ในกระเป๋ากางเกงของนายสอง จึงได้จับกุมนายสองนาส่งพนักงาน
สอบสวนสถานีตารวจนครบาลบางขุนเทียนสอบสวนและสรุปสานวนมีความเห็น
ควรสั่งฟ้องนายสองเสนอพนักงานอัยการ ส่วนนายหนึ่งพนักงานสอบสวนได้แยก
ไปดาเนินคดีต่างหากอีกสานวนหนึ่ง ต่อมาพนักงานอัยการได้ยื่นฟ้องนายสองเป็น
จาเลยต่อศาลในความผิดฐานมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองเพื่อจาหน่าย
นายสองจาเลยให้การปฏิเสธและต่อสู้ว่าเจ้าพนักงานตารวจตรวจค้นและจับกุม
โดยไม่ชอบ พนักงานสอบสวนทาการสอบสวนมาโดยมิชอบ
ให้วินิจฉัยว่า ข้อต่อสู้ของนายสองจาเลยฟังขึ้นหรือไม่
ธงคาตอบ
ขณะที่เจ้าพนักงานตารวจเข้าตรวจค้นตัวนายสองซึ่งต่อมาถูกฟ้องเป็น
จาเลยนั้น จาเลยกาลังขายข้าวแกงอยู่ที่ร้านข้าวแกงของจาเลย ซึ่งมีลูกค้า
กาลังนั่งรับประทานข้าวแกงอยู่ ดังนี้ร้านข้าวแกงของจาเลยจึงไม่ใช่ที่รโหฐาน
แต่เป็นที่สาธารณสถาน เมื่อเจ้าพนักงานตารวจมีเหตุอันควรสงสัยว่าจาเลยมี
เมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองเพื่อจาหน่ายอันเป็นความผิดต่อกฎหมาย เจ้า
พนักงานตารวจย่อมมีอานาจค้นตัวจาเลยได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 93 และเมื่อตรวจ
ค้นพบเมทแอมเฟตามีนอยู่ในครอบครองของจาเลย การกระทาของจาเลยก็
เป็นความผิดซึ่งหน้า เจ้าพนักงานตารวจย่อมมีอานาจจับจาเลยได้โดยไม่ต้องมี
หมายจับ ตามมาตรา 78 (1) การตรวจค้น และจับ กุมจึงชอบด้วยกฎหมาย
(เทียบคาพิพากษาฎีกาที่3751/2551) ข้อต่อสู้ของนายสองจาเลยฟังไม่ขึ้น
การที่เจ้าพนักงานตารวจจับจาเลยพร้อมยึดเมทแอมเฟตามีนได้ที่ร้าน
ขายข้าวแกงของจาเลยซึ่งอยู่ในท้องที่สถานีตารวจนครบาลบางยี่ขัน การมีเมท
แอมเฟตามีนไว้ในครอบครองเพื่อจาหน่าย จึงเกิดในท้องที่สถานีตารวจนคร
บาลบางยี่ขันทั้งสิ้น และโจทก์มิได้ฟ้องว่าจาเลยร่วมกระทาความผิดกับนาย
หนึ่ง ดังนั้น แม้นายหนึ่งถูกจับในท้องที่สถานีตารวจนครบาลบางขุนเทียน แต่
จาเลยไม่ได้ร่วมกระทาผิดกับนายหนึ่ง การกระทาของจาเลย จึงไม่ใช่ความผิด
ที่เป็นความผิดต่อเนื่องและกระทาต่อเนื่องกันในท้องที่ต่างๆ เกินกว่าท้องที่หนึ่ง
ขึ้นไปตามมาตรา 19 (3) แต่การกระทาของจาเลย ปรากฏชัดแจ้งว่าเกิดใน
ท้องที่สถานีตารวจนครบาลบางยี่ขันซึ่งอยู่ในเขตอานาจของพนักงานสอบสวน
สถานีตารวจนครบาลบางยี่ขันตามมาตรา 18 วรรคสองประกอบมาตรา 2 (6)
ที่จะเป็นผู้สอบสวน มิใช่อยู่ในเขตอานาจของพนักงานสอบสวนสถานีตารวจ
นครบาลบางขุนเทียนที่สอบสวน ดังนั้น การสอบสวนคดีนี้ที่พนักงานสอบสวน
สถานี ต ารวจนครบาลบางขุ น เที ย นเป็ น ผู้ ส อบสวน และสรุ ป ส านวนแล้ ว มี
ความเห็นควรสั่งฟ้องเสนอพนักงานอัยการนั้น จึงเป็นการสอบสวนโดยมิชอบ
พนักงานอัยการ โจทก์ไม่มีอานาจฟ้องตาม มาตรา 120 (เทียบคาพิพากษา
ฎีกาที่ 1756/2550) ข้อต่อสู้ของนายสองจาเลยฟังขึ้น
ข้ อ 2. นายปาน อายุ 17 ปี ซึ่ ง เป็ น ผู้ ต้ อ งหาตามหมายจั บ ของศาล
ในข้อหาทาร้ายร่างกายผู้อื่นถูกจับตัวส่งพนักงานสอบสวน ก่อนเริ่มสอบปากคา
พนักงานสอบสวนแจ้งข้อหาทาร้ายร่างกาย ตั้งทนายความให้และแจ้งสิทธิตาม
กฎหมายแก่ผู้ต้องหาโดยชอบแล้ว รวมทั้งสอบถามผู้ต้องหาว่าต้องการให้มีบุคคล
ใดเข้ า ร่ ว มในการสอบปากค าหรื อ ไม่ ผู้ ต้ อ งหายื น ยั น ว่ า ไม่ ต้ อ งการ ในการ
สอบปากคาผู้ต้องหาในวันดังกล่าวจึงไม่มีนักจิตวิทยานักสังคมสงเคราะห์ และ
พนักงานอัย การร่ว มอยู่ ด้วย เมื่อพนัก งานสอบสวนทาการสอบสวนเสร็จ แล้ ว
ได้สรุปสานวนมีความเห็นควรสั่งฟ้องผู้ต้องหาในความผิดฐานทาร้ายร่างกายผู้อื่น
แต่พนักงานอัยการเห็นว่าการกระทาของผู้ต้องหาเป็นความผิดฐานทาร้ายร่างกาย
ผู้อื่นเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส จึงยื่นฟ้องผู้ต้องหาต่อศาลในฐานความผิด
ดังกล่าว โดยมิได้สั่งให้พนักงานสอบสวนแจ้งข้อหาดังกล่าวแก่ผู้ต้องหาเพิ่มเติม
ให้วินิจฉัยว่า พนักงานสอบสวนทาการสอบสวนมาโดยชอบด้วยกฎหมาย
หรือไม่ และพนักงานอัยการมีอานาจฟ้องผู้ต้องหาในความผิดฐานทาร้ายร่างกาย
ผู้อื่นเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัสหรือไม่
ธงคาตอบ
การสอบสวนผู้ต้องหาที่เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปีตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญามาตรา 134/2 ให้นาบทบัญญัติในมาตรา 133 ทวิ มาใช้
บังคับโดยอนุโลม ซึ่งความผิดฐานทาร้ายร่างกายผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย เป็น
ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกายอันมิใช่ความผิดที่เกิดจากการชุลมุนต่อสู้ในการ
สอบปากคาผู้ต้องหาที่เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี พนักงานสอบสวนจะต้องจัด
ให้มีนักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์ และพนักงานอัยการร่วมอยู่ด้วย แม้
ผู้ต้องหามิได้ร้องขอหรือไม่ต้องการก็ตาม การที่พนักงานสอบสวนสอบปากคานาย
ปานผู้ต้องหาที่เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี โดยไม่มีบุคคลดังกล่าวร่วมอยู่ด้วยทั้ง
ไม่ปรากฏกรณีเร่งด่วนอย่างยิ่งซึ่งมีเหตุอันควรไม่อาจรอได้ การสอบคาให้การ
ผู้ต้องหาจึงไม่ชอบด้วยมาตรา 134/2 ประกอบมาตรา 133 ทวิ แต่ไม่ทาให้การ
สอบสวนเสียไปทั้งหมด เพียงแต่ทาให้คาให้การของผู้ต้องหาไม่อาจรับฟังเป็น
พยานหลักฐานในการพิสูจน์ความผิดของผู้ต้องหาได้เท่านั้นตามมาตรา 134/4
วรรคสามส่ ว นการแจ้ ง ข้ อ หาให้ ผู้ ต้ อ งหาทราบตามมาตรา 134 นั้ น เพื่ อ ให้
ผู้ต้องหาทราบว่า การกระทาของผู้ต้องหาเป็น
ความผิดและเพื่อให้ผู้ต้องหาเข้าใจถึงการกระทาของผู้ต้องหา โดยไม่ต้อง
แจ้งข้อหาทุกกระทงความผิดเมื่อพนักงานสอบสวนได้แจ้งข้อหาแก่ผู้ต้องหา
ในความผิดฐานทาร้ายร่างกายผู้อื่นเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายแก่กายอันเป็น
หลักแห่งความผิดแล้วก็ไม่จาต้องแจ้งข้อหาความผิดอันเกี่ยวพันกันด้วยอีก
ดังนั้น แม้พนักงานสอบสวนจะไม่ได้แจ้งข้อหาความผิดฐานทาร้ายร่างกาย
ผู้อื่นเป็ นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส แต่เมื่อสอบสวนแล้วปรากฏว่าการ
กระทาของผู้ต้องหาเป็นความผิดฐานทาร้ายร่างกายผู้อื่นเป็นเหตุให้ได้รับ
อันตรายสาหัส ก็ถือว่ามีการสอบสวนในข้อหาดังกล่าวแล้ว พนักงานอัยการ
จึงมีอานาจฟ้องผู้ต้องหาในความผิดฐานทาร้า ยร่า งกายผู้อื่นเป็นเหตุให้
ได้รับอันตรายสาหัสได้ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 120 (เทียบคาพิพากษาฎีกาที่
3759/2550)
ข้อสอบเนติบัณฑิต สมัย 60
ข้ อ 6. พั น ต ารวจเอกธรรม ร้ อ ยต ารวจเอกชอบ นายด า นายแดงและ
นางสาวเหลืองได้รับเชิญจากนายเขียวเจ้าของบ้านให้ไปร่วมงานเลี้ยงใน
เวลากลางวันที่บ้านของนายเขียวซึ่งอยู่ติดกับบ้านของนายแดง ขณะอยู่ใน
บ้านของนายเขียวพันตารวจเอกธรรมจาได้ว่านายดาเป็นคนร้ายที่ศาลได้
ออกหมายจับไว้ ส่วนนางสาวเหลืองจาได้ว่านายแดงเป็นคนร้ายที่ได้ข่มขืน
กระทาชาเราตนเมื่อสัปดาห์ก่อน นางสาวเหลืองจึงชี้ให้ร้อยตารวจเอกชอบ
จับนายแดงโดยแจ้งว่าได้ร้องทุกข์ไว้แล้ว พันตารวจเอกธรรม ร้อยตารวจเอก
ชอบ จึงเข้าจับกุมนายดาและนายแดง โดยได้ปฏิบัติตามขั้นตอนการจับกุม
แล้วน าตัวนายดาและนายแดงไปยั งที่ทาการของพนั กงานสอบสวนแห่ ง
ท้องที่ที่ถูกจับ
ให้วินิจฉัยว่า การจับนายดาและนายแดงชอบหรือไม่
ธงคาตอบ
การที่พันตารวจเอกธรรมจับนายดานั้นเป็นการจับตามหมายจับ แม้เป็น
การจับในที่รโหฐานก็ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 81 ที่ บั ญ ญั ติ ว่ า ไม่ ว่ า จะมี ห มายจั บ หรื อ ไม่ ก็ ต าม ห้ า มมิ ใ ห้ จั บ ในที่
รโหฐาน เว้นแต่จะได้ทาตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้อันว่าด้วยการค้น
ในที่รโหฐาน เพราะการเข้าไปอันถือเสมือนเป็นการค้นในที่รโหฐานนั้นเป็นการ
เข้าไปโดยชอบ เนื่องจากนายเขียวเจ้าของผู้ครอบครองที่รโหฐานเชื้อเชิญให้
เข้าไปพันตารวจเอกธรรมไม่ต้องขอหมายค้นของศาลเพื่อเข้าไปค้นบ้านที่ตนอยู่
ในบ้ า นโดยชอบแล้ ว การจับ นายด าเป็ น การชอบตามประมวลกฎหมายวิ ธี
พิจารณาความอาญา มาตรา 78 (3) ประกอบมาตรา 66 (2) เจ้าพนักงาน
ตารวจจะจับนายแดงโดยไม่มีหมายจับได้ต่อเมื่อมีหลักฐานตามสมควรว่านาย
แดงน่าจะได้กระทาผิดอาญาและมีเหตุอันควรเชื่อว่านายแดงจะหลบหนี หรือ
จะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือก่อเหตุร้ายประการอื่นและมีความจาเป็น
เร่งด่วนที่ไม่อาจขอให้ศาลออกหมายจับนายแดงได้ กรณีนี้ไม่ปรากฏว่านาย
แดงมีท่าทีจะหลบหนี ประกอบกับนายแดงมีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง ร้อยตารวจเอก
ชอบจะจับนายแดงโดยไม่มีหมายจับของศาลไม่ได้ การจับนายแดงเป็นการไม่
ชอบ
ข้อสอบเนติบัณฑิต สมัย 59
ข้อ 6. พนักงานสอบสวนได้ยื่นคาร้องขอให้ศาลออกหมายจับบุคคลที่
ยังไม่รู้จักชื่อโดยได้แสดงพยานหลักฐานประกอบอันแสดงว่า มีหลักฐานตาม
สมควรว่าบุคคลที่ยังไม่รู้จักชื่อนั้นน่าจะได้กระทาความผิดและหลบหนีอยู่ ทั้งนี้
โดยมี ภ าพทางโทรทั ศ น์ ว งจรปิ ด ประกอบการพิ จ ารณาของศาลด้ ว ยศาล
พิจารณาแล้วจึงออกหมายจับบุคคลที่ยังไม่รู้จักชื่อนั้นตามรูปพรรณที่ปรากฏใน
ภาพโทรทัศน์วงจรปิดตามคาร้องขอของพนักงานสอบสวน และเพื่อที่จะได้ตัว
ผู้ต้องหามาดาเนินคดี พนั กงานสอบสวนได้ขอความร่วมมือจากสถานีวิทยุ
โทรทัศน์ให้ช่วยเผยแพร่ภาพโทรทัศน์วงจรปิดดังกล่าวด้วย ต่อมานายสุจริตซึ่ง
เป็นบุคคลในภาพทางโทรทัศน์วงจรปิดที่มีการเผยแพร่ภาพทางโทรทัศน์ได้ยื่น
คาร้องต่อศาลที่ออกหมายจับ โดยยอมรับว่าตนเป็นบุคคลในภาพโทรทัศน์วงจร
ปิดที่ส ถานีวิทยุโทรทัศน์นาออกเผยแพร่ แต่ตนมิได้กระทาความผิดตามข้อ
กล่าวหาของพนักงานสอบสวน ขอให้ศาลเพิกถอน หมายจับตนนั้นเสีย
ให้วินิจฉัยว่า
(ก) การออกหมายจับของศาลชอบหรือไม่
(ข) การที่พนักงานสอบสวนได้ขอความร่วมมือจากสถานีวิทยุโทรทัศน์
ให้ช่วยเผยแพร่ภาพทางโทรทัศน์เป็นการกระทาที่ชอบหรือไม่ และ
(ค) ศาลจะสั่งคาร้องที่ขอให้เพิกถอนหมายจับของนายสุจริตอย่างไร
ธงคาตอบ
(ก) การที่กฎหมายให้ศาลเป็นผู้ออกหมายจับก็เพื่อให้มีการตรวจสอบการใช้
อานาจของเจ้าพนักงานในการที่ศาลจะออกหมายจับนั้นศาลจึงต้องตรวจสอบเหตุ
ออกหมายจั บ อย่ า งถ่ อ งแท้ เมื่ อ ศาลเห็ น ว่ า กรณี มี เ หตุ ใ นการออกหมายจั บ
กล่าวคือ มีหลักฐานตามสมควรว่าบุคคลน่าจะได้กระทาความผิดจริงและกาลัง
หลบหนีอยู่จริงแม้บุคคลที่พนักงานสอบสวนขอให้ออกหมายจับนั้นจะยังไม่รู้จัก
ชื่อ ศาลก็ออกหมายจับบุคคลที่ไม่รู้จักชื่อนั้นได้ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา 66,67 การออกหมายจับของศาลจึงชอบแล้ว
(ข) การที่พนักงานสอบสวนขอความร่วมมือจากสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อให้
เกิดความร่วมมือของประชาชนในการระบุตัวบุคคลในการจัดการตามหมายจับนั้น
เป็นการกระทาเกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนที่เจ้าพนักงานมีอานาจกระทาได้
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (10), 2 (11), 131
(ค) การพิ จ ารณาเหตุ อ อกหมายจั บ ของศาลนั้ น เป็ น การพิ จ ารณา
ข้อเท็จจริงในขณะที่จะออกหมายจับกล่าวคือ เป็นการพิจารณาว่าในขณะที่
จะออกหมายจับนั้นว่า กรณีมีหลักฐานตามสมควรว่าบุคคลน่าจะได้กระทา
ความผิดหรือไม่และกาลังหลบหนีอยู่หรือไม่ เมื่อศาลได้ออกหมายจับไปแล้ว
แต่ต่อมาปรากฏว่านายสุจริตยอมรับว่าตนเป็นบุคคลเดียวกับบุคคลที่ปรากฏ
ในภาพจริง แต่ตนไม่ได้กระทาความผิดตามข้อกล่าวหาและนายสุจริตได้มา
ปรากฏตัวต่อศาลเช่นนี้ กรณีย่อมแสดงว่านายสุจริตมิได้หลบหนี เหตุในการ
ขอให้อ อกหมายจั บ เดิ ม ในเรื่ อ งหลบหนี จึ ง ตกไป ศาลจึ ง ต้อ งสั่ ง เพิก ถอน
หมายจับนั้น เพราะโดยการปรากฏตัวของผู้ต้องหาในการยื่นคาร้องนั้นกรณี
ย่อมทาให้พนักงานสอบสวนรู้ตัวผู้กระทาความผิด พนักงานสอบสวนจึง
สามารถดาเนินการเพื่อให้ได้ตัวผู้ต้องหามาทาการสอบสวนได้โดยการออก
หมายเรียก
ข้อสอบเนติบัณฑิต สมัย 58
ข้อ 6. พันตารวจตรีเสือพนักงานสอบสวนซึ่งนั่งดูโทรทัศน์วงจรปิด
ถ่ายทอดคูหาเลือกตั้งอยู่บนสถานีตารวจได้เห็นนายช้างกาลังฉีกบัตรเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรภายในหน่วยเลือกตั้ง จึงโทรศัพท์สั่งให้จ่าสิบตารวจ
หมูไปเชิญนายช้างมาพบ จ่าสิบตารวจหมูเข้าไปทาการจับนายช้างโดยแจ้งว่า
ต้องถูกจับ แจ้งข้อกล่าวหาว่าทาความเสียหายต่อบัตรเลือกตั้งซึ่งมีความผิดต้อง
ระวางโทษจาคุก 1 ปี และปรับ 20,000 บาท และแจ้งสิทธิต่างๆ ของผู้ถูกจับ
ตามกฎหมาย ทั้งได้ทาการค้น พบบัตรเลือกตั้งที่ถูกฉีกอยู่ในกระเป๋าเสื้อของ
นายช้ า ง จึงยึดไว้เ ป็นของกลางแล้ วพานายช้า งไปมอบให้พันตารวจตรีเ สื อ
พร้อมของกลาง พันตารวจตรีเสือถามข้อเท็จจริงเบื้องต้นเกี่ยวกับตัวนายช้าง
แล้วแจ้งให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทาที่กล่าวหาว่าได้กระทาผิดและ
แจ้งข้อหาให้ทราบ และเห็นว่ามีเหตุอันควรเชื่อว่านายช้างจะหลบหนี จึงสั่งให้
นายช้างไปศาลเพื่อที่จะขอให้ศาลออกหมายขังโดยทันที
ให้วินิจฉัยว่า การดาเนินการข้างต้นของพันตารวจตรีเสือและจ่าสิบตารวจ
หมูชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
ธงคาตอบ
กรณีพันตารวจตรีเสือให้เชิญนายช้างมาพบนั้น พันตารวจตรีเสือในฐานะ
พนักงานสอบสวน ไม่มีอานาจเชิญหรือให้บุคคลอื่นเชิญนายช้างมาพบ แต่ต้อง
ใช้การออกหมายเรียกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 52
วรรคหนึ่ ง กรณี จ่ า สิ บ ต ารวจหมู จั บ นายช้ า งนั้ น ไม่ ช อบด้ ว ยรั ฐ ธรรมนู ญ
มาตรา 237 และประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา มาตรา 78 (1)
เพราะนายช้างมิได้กระทาผิดซึ่งหน้าจ่าสิบตารวจหมูผู้จับ และไม่มีเหตุตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 78 (3) เมื่อการจับไม่ชอบ
แล้ว จ่าสิบตารวจหมูจึงไม่มีอานาจค้นตัวนายช้างและยึดบัตรเลือกตั้งที่ถูกฉีก
ไว้เป็นพยานหลักฐานได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา
85 วรรคหนึ่ง ส่วนกรณีพันตารวจตรีเสือสั่งให้นายช้างไปศาลเพื่อขอหมายขัง
นั้น ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134 วรรคห้า
เพราะการจับนายช้างที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ย่อมถือได้ว่านายช้างไม่ใช่ผู้ถูกจับ
และไม่ใช่ผู้ถูกควบคุม ทั้งยังไม่ได้มีการออกหมายจับ แต่มีเหตุที่จะออกหมายขัง
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 71 และมาตรา 66 (2)
ได้
ข้อสอบเนติบัณฑิต สมัยที่ 57
ข้อ 6. สิบตารวจเอกธรรมเดินผ่านบ้านของนายแดง เมื่อเวลาประมาณ
13 นาฬิ ก า เห็ น นายขาวก าลั ง ใช้ มี ด ดาบฟั น นายเขี ย วหลายครั้ ง ในบ้ า นของ
นายแดง จึ ง เข้ า ไปในบ้ า นเพื่ อ จั บ นายขาว โดยยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ ความยิ น ยอมจาก
นายแดง สิบตารวจเอกธรรมได้แสดงตนเป็นเจ้าพนักงานตารวจจะเข้าจับกุมนาย
ขาว นายขาวได้ต่อสู้ขัดขวางการจับกุมสิบตารวจเอกธรรมเข้าจับนายขาวไว้ได้
โดยไม่ทันแจ้งแก่นายขาวว่าเขาต้องถูกจับ แล้วนาตัวนายขาวส่งสถานีตารวจแห่ง
ท้องที่ที่ทาการจับ นายขาวต่อสู้ว่า การค้นและการจับไม่ชอบ
ให้วินิจฉัย ข้อต่อสู้ของนายขาวฟังขึ้นหรือไม่
ธงคาตอบ
ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 237 , 238 ในคดีอาญา การจับและการค้นในที่
รโหฐานจะกระทามิได้เว้นแต่จะมีคาสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุจาเป็นอย่าง
อื่นให้จับได้โดยไม่มีหมาย และมีเหตุให้ค้นได้โดยไม่มีคาสั่งหรือหมายของศาล
ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 81 ห้ามมิให้จับในที่รโหฐาน เว้นแต่ จะได้ทาตามบทบัญญัติในประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ว่าด้วยการค้นในที่รโหฐาน ซึ่งตามมาตรา 92
(2) เจ้าพนักงานตารวจมีอานาจค้นในที่รโหฐานโดยไม่มีหมายค้นหรือคาสั่งของ
ศาลได้ เมื่อปรากฏความผิดซึ่งหน้ากาลังกระทาลงในที่รโหฐาน สิบตารวจเอก
ธรรมเห็นนายขาวใช้มีดดาบฟันนายเขียวหลายครั้งขณะอยู่ในบ้านของนายแดง
เป็นกรณีที่สิบตารวจเอกธรรมเห็นนายขาวกระทาความผิดซึ่งหน้ากาลังกระทาลง
ในที่รโหฐานตามมาตรา 78 (1) , 80 สิบตารวจเอกธรรมย่อมเข้าไปในบ้านของ
นายแดงอันเป็นที่รโหฐานเพื่อจับกุมนายขาวได้โดยไม่จาต้องได้รับความยินยอม
จากนายแดงเจ้าของบ้านก่อน ขณะจะเข้าจับกุมนายขาวได้ต่อสู้ขัดขวางการ
จับกุม สิบตารวจเอกธรรมจึงไม่จาต้องแจ้งแก่นายขาวว่านายขาวต้องถูกจับตาม
มาตรา 83 วรรคหนึ่ง (เทียบคาพิพากษาฎีกาที่ 412/2480 , 319-320/2521)
การตรวจค้นจับกุมของสิบตารวจเอกธรรม เป็นไปโดยชอบ ข้อต่อสู้ของนายขาว
ฟังไม่ขึ้น
ข้อสอบเนติบัณฑิต สมัยที่ 56
ข้อ 6. เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2547 นายเสียงร้องทุกข์ต่อร้อยตารวจโท
แสงว่า นายสีลักแจกันลายครามของนายเสียงไป ร้อยตารวจโทแสงรับคาร้อง
ทุกข์และทาการสอบสวน นายสีทราบว่ามีผู้กล่าวหาตน จึงเข้าพบร้อยตารวจโท
แสงเพื่ อ ต่ อ สู้ ค ดี ร้ อ ยต ารวจโทแสงแจ้ ง ข้ อ หาลั ก ทรั พ ย์ แ ละสอบสวนนายสี
นายสีให้การปฏิเสธ ร้อยตารวจโทแสงจึงให้นายสีทาประกันและวางหลักประกัน
แต่นายสีไม่มีหลักประกัน ร้อยตารวจโทแสงจึงควบคุมตัวนายสีไว้ นางสร้อย
ภริยานายสีมาปรึกษาท่านว่าการควบคุมตัวนายสีชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ และ
ควรจะทาอย่างไร ให้ท่านแนะนานางสร้อย
ธงคาตอบ
ขณะที่นายเสียงร้องทุกข์ในคดีนี้ มาตรา 237 วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย มีผลใช้บังคับแล้ว การจับหรือควบคุมบุคคลจะกระทามิได้
เว้นแต่ มีคาสั่งศาลหรือหมายศาล หรือเป็นความผิดซึ่งหน้า หรือมีเหตุจาเป็นตามที่
กฎหมายบัญญัติ และบทบัญญัติของกฎหมายใดที่ขัดกับรัฐธรรมนูญมาตรานี้ย่อมใช้
บังคับมิได้
ร้อยตารวจโทแสงไม่มีอานาจจับนายสีเพราะไม่มีหมายศาล และมิใช่การ
กระทาความผิดซึ่งหน้า หรือ มีเหตุ จ าเป็นอย่ างอื่ นตามที่ ก ฎหมายบัญ ญั ติ ถึ ง แม้
ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา มาตรา 136 จะบั ญ ญั ติ ใ ห้ อ านาจ
พนัก งานสอบสวนจั บและควบคุมผู้ต้ อ งหาหรื อ บุคคลใดซึ่ ง ในระหว่า งสอบสวน
ปรากฏว่าเป็นผู้กระทาผิดได้ก็ตาม แต่บทกฎหมายดังกล่าวไม่อาจบังคับใช้ได้อีก
ต่อไป เพราะขัดต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 237 วรรคหนึ่ง เมื่อการจับกระทามิได้ การ
ควบคุมตัวนายสีย่อมกระทามิได้ ไปด้วย ดังนั้น การควบคุมตัวนายสีจึง เป็นการ
ควบคุมที่มิชอบด้วยกฎหมาย
เมื่อมีการควบคุมหรือคุมขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย บุคคลที่ถูกควบคุม
พนักงานอัยการหรือบุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์ของผู้ถูกควบคุมอาจยื่นคาร้องต่อ
ศาลขอให้ปล่อยบุคคลนั้นได้ ซึ่งศาลจะต้องดาเนินการไต่สวนโดยด่วน ทั้งนี้ มาตรา
240 แห่งรัฐธรรมนูญ และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 90
ดังนั้น ข้าพเจ้าจะแนะนาให้นางสร้อยภริยานางสียื่นคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจ
เพื่อให้ศาลไต่สวน และสั่งให้พนักงานสอบสวนปล่อยนายสี หรือให้ไปร้องขอ
พนักงานอัยการยื่นคาร้องต่อศาลก็ได้
สรุป ป.วิ.อ.มาตราสาคัญที่เคยออกสอบเนติบัณฑิต ในรอบ 11 ปี
(สมัย56 - สมัย66)
สมัย 66 ข้อ 6 มาตรา 57,78(1),80,92(3),93
สมัย 65 ข้อ 6 มาตรา 81,92 วรรคหนึ่ง (5),94 วรรคสอง,98 (2)
สมัย 64 ข้อ 6 มาตรา 2(13),78,80,81,92(2)
สมัย 63 ข้อ 6 มาตรา 2(9),66(2),77 วรรคสอง(1),78(3)
สมัย 62 ข้อ 6 มาตรา 78 ,79,81
สมัย 61 ข้อ 6 มาตรา 66(2),71,78(3),87,134/1
ข้อ 3 มาตรา 2(6),18วรรคสอง,19(3),78(1),93,120
ข้อ 2 มาตรา120 ,133ทวิ,134,134/2,134/4
สมัย 60 ข้อ 6 มาตรา66(2),78(3),81
ข้อสอบผู้ช่วยผู้พิพากษาปี 2548
ข้อ 8. นายไพรเดินเที่ยวป่าบริเวณรอยต่อของอาเภอเมืองแม่ฮ่องสอนกับ
อาเภอปางมะผ้าได้ถูกนายเพชรและนายพลอยชิงทรัพย์ไป โดยไม่ปรากฏแน่ชัดว่า
ที่เกิดเหตุอยู่ในท้องที่ใดแต่การเดินทางไปอาเภอปางมะผ้าสะดวกกว่า นายไพรจึง
ไปร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรอาเภอปางมะผ้า โดยพันตารวจโทส่อง
ได้รับมอบหมายให้เป็นพนักงานสอบสวนหลังเกิดเหตุ สิบตารวจเอกหาญตารวจ
ประจาสถานีตารวจภูธรอาเภอปางมะผ้าไปที่ชายแดนไทย ซึ่งอยู่ในเขตอาเภอเมือง
แม่ฮ่องสอนพบนายเพชรหิ้วกระเป๋าใส่เสื้อผ้ากาลังจะเดินทางเข้าไปในประเทศพม่า
สิบตารวจเอกหาญเข้าใจว่าได้มีการออกหมายจับนายเพชรไว้แล้ว จึงได้ร่วมกับ
พันตารวจโททนงพนักงานสอบสวนประจาสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน
เข้า จับนายเพชรแล้วนาตัวส่งพันต ารวจโทส่อ ง แต่ พันต ารวจโทส่อ งไปราชการ
ต่างจังหวัด ส่วนพนักงานสอบสวนคนอื่นไม่ว่าง พันตารวจโททนงจึงนานายเพชรไป
สอบสวนจนเสร็จ นายพลอยจึงเข้ามอบตัวต่อพันตารวจโททนง แต่พันตารวจโท
ทนงติดราชการจึงมอบให้ร้อยตารวจเอกเก่งแจ้งข้อหาและบันทึกคาให้การปฏิเสธ
ของนายพลอยแทน เมื่อพนักงานอัยการยื่นฟ้องคดีดังกล่าว นายเพชรต่อสู้ว่าสิบ
ตารวจเอกหาญกับพันตารวจโททนงไม่มีอานาจจับและพันตารวจโททนงไม่มีอานาจ
สอบสาน ส่วนนายพลอยต่อสู้ว่าการสอบสวนไม่ชอบเพราะพันตารวจโททนงมิได้
กระทาด้วยตนเอง
ให้วินิจฉัยว่า ข้อต่อสู้ของนายเพชรและนายพลอยฟังขึ้นหรือไม่
ธงคาตอบ
ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 78 วรรคหนึ่ง พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจจะจับ
ผู้ใดโดยไม่มีหมายจับหรือคาสั่งของศาลนั้นไม่ได้ การที่สิบตารวจเอกหาญกับพัน
ตารวจโททนงจับนายเพชรโดยเข้าว่าได้มีการออกหมายจับไว้แล้ว แต่เมื่อยังไม่มี
หมายจับก็ต้องถือว่าเป็นการจับโดยไม่มีหมายจับ อย่างไรก็ตามการที่นายไพรไป
ร้องทุกข์ย่อมถือได้ว่าเป็นกรณีมีหลักฐานตามสมควรว่านายเพชรน่าจะได้กระทาผิด
อาญาตาม มาตรา 66 (2) และพฤติการณ์ที่นายเพชรหิ้วกระเป๋าเสื้อผ้ากาลังจะเดิน
ทางเข้าไปในประเทศพม่าถือเป็นกรณีที่มีความจาเป็นเร่งด่วนที่ไม่อาจขอให้ศาล
ออกหมายจับได้ ตามมาตรา 78 (3) การจับของสิบตารวจเอกหาญและพันตารวจ
โททนงจึงชอบด้วยกฎหมาย ข้ออ้างของนายเพชรข้อนี้ฟังไม่ขึ้น และคดีนี้เป็นการไม่
แน่ว่าการกระทาผิดอาญาฐานชิงทรัพย์ได้กระทาในท้องที่ใดในระหว่างอาเภอเมือง
แม่ ฮ่ อ งสอนกั บ อ าเภอปางมะผ้ า แต่ จั บ นายเพชรได้ ที่ อ าเภอเมื อ งแม่ ฮ่ อ งสอน
พนั ก งานสอบสวนที่ จ ะเป็ น ผู้ มี อ านาจสอบสวนคื อ พนั ก งานสอบสวนสถานี
ตารวจภูธรอาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน ซึ่งเป็นท้องที่ที่จับนายเพชรได้ตามมาตรา 19
วรรคหนึ่ง (1) พันตารวจโททนงเป็นพนักงานสอบสวนสถานีตารวจภูธรอาเภอเมือง
แม่ฮ่องสอนซึ่งเป็นท้องที่ที่จับนายเพชรได้ จึงเป็นพนักงานสอบสวน การสอบสวน
ของพันตารวจโททนงจึงชอบ พนักงานอัยการจึงมีอานาจฟ้องนายเพชร ข้ออ้างของ
นายเพชรข้อนี้ฟังไม่ขึ้นเช่นกัน
ส่วนกรณีนายพลอย การที่พันตารวจโททนงมอบหมายให้ร้อยตารวจเอก
เก่งแจ้งข้อหาและบันทึกคาให้การของนายพลอยแทนถือเป็นสิ่งเล็กน้อยในการ
สอบสวนซึ่งสามารถทาได้และไม่มีกฎหมายอื่นใดเจาะจงให้พันตารวจโททนงต้องทา
เอง ตามมาตรา 128 (2) การสอบสวนจึงชอบด้วยกฎหมาย ข้ออ้างของนายพลอย
ข้อนี้จึงฟังไม่ขึ้นเช่นกัน (เทียบคาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3031/2547)
ข้อสอบผู้ช่วยผู้พิพากษาปี 2550
ข้อ 7. เมื่อวันที่ 9 ตุล าคม 2550 ร้อยตารวจเอกเชิงชายยื่นคาร้อง
ต่อศาลจังหวัดอ่างทองอ้างว่า จากการจับกุมผู้ต้องหาคดียาเสพติดได้ข้อมูลว่า
นายสุริยาเป็นผู้จาหน่ายยาเสพติดรายใหญ่ และในบ้านของนายสุริยามียาเสพติด
ซุกซ่อนอยู่ จึงขอหมายค้นบ้านเลขที่ 188 ของนายสุริยา ศาลจังหวัดอ่างทอง
ออกหมายค้นให้ร้อยตารวจเอกเชิงชาย ร้อยตารวจเอกเชิงชายกับพวกนาหมาย
ค้นซึ่งระบุเลขที่บ้านผิดพลาด ไปค้นบ้านเลขที่ 138 ของนายสุริยา นายสุริยาเห็น
หมายค้นแล้วยินยอมให้ตรวจค้น จากการตรวจค้นพบเมทแอมเฟตามีน 400 เม็ด
ในห้ อ งนอนของนายสุ ริ ย า จึ ง จั บ กุ ม นายสุ ริ ย า ต่ อ มาร้ อ ยต ารวจเอกเด่ น ชั ย
พนักงานสอบสวนยื่นคาร้องต่อศาลจังหวัดอ่างทองขอฝากขังนายสุริยา ศาลมี
ค าสั่ ง อนุ ญ าต ระหว่ า งฝากขั ง นายตะวั น บิ ด าของนายสุ ริ ย ายื่ น ค าร้ อ งต่ อ
ศาลจังหวัดอ่างทองว่า การค้นบ้านของนายสุริยาไม่ชอบนายสุริยาถูกจับโดยไม่มี
หมายจับ การจับและคุมขังนายสุริยาจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย ศาลจังหวัดอ่างทอง
ไม่มีอานาจคุมขังนายสุริยา ขอให้มีคาสั่งปล่อยตัวนายสุริยา ศาลมีสั่งรับคาร้อง
นัดไต่สวนโดยด่วน สาเนาให้พนักงานสอบสวน ก่อนวันไต่สวนคาร้องของนาย
ตะวัน พนักงานอัยการจังหวัดอ่างทองยื่นฟ้องนายสุริยาต่อศาลจังหวัดอ่างทอง
ในความผิดฐานมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองเพื่อจาหน่าย ศาลมีคาสั่ง
ประทับฟ้อง สาเนาให้นายสุริยา นัดสอบถามคาให้การนายสุริยา
ให้วินิจฉัยว่า การค้นบ้านของนายสุริยา การจับนายสุริยา และคาสั่ง
ของศาลจังหวัดอ่างทองที่รับคาร้องของนายตะวันชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ และ
ศาลจังหวัดอ่างทองจะสั่งคาร้องขอให้ปล่อยตัวนายสุริยาอย่างไร
ธงคาตอบ
ร้อยตารวจเอกเชิงชายขอหมายค้นบ้านของนายสุริยาต่อศาลจังหวัด
อ่างทองเพื่อค้นและยึดยาเสพติดซึ่งเป็นสิ่งของที่มีไว้เป็นความผิดตามที่ได้รับ
ข้อมูล มา การที่ศาลออกหมายค้นบ้านของนายสุ ริยาจึงกระทาได้ตามป.วิ.อ.
มาตรา 69 (2) ส่วนที่หมายค้นระบุเลขที่บ้านผิดพลาดไป หามีผลทาให้หมายค้น
ดังกล่าวเสียไปไม่ อย่างไรก็ตาม นายสุริยาก็ยินยอมให้ตรวจค้นด้วย เมื่อผลการ
ตรวจค้นบ้านพบเมทแอมเฟตามีนในห้องนอนของนายสุริยา อันเป็นความผิด
ซึ่งหน้า เจ้าพนักงานตารวจมีอานาจจับนายสุริยาได้ ตามมาตรา 78 (1) , 80 การ
กระทาของร้อยตารวจเอกเชิงชายกับพวกจึงเป็นการตรวจค้นและจับกุมโดยชอบ
ด้วยกฎหมาย (เทียบคาพิพากษาฎีกาที่ 360/2542)
ธงคาตอบ (ต่อ)
ค าสั่ ง ของศาลจั ง หวั ด อ่ า งทองที่ รั บ ค าร้ อ งของนายตะวั น ชอบด้ ว ย
กฎหมาย เนื่ อ งจากนายตะวั น บิ ด าของนายสุ ริ ย ามี สิ ท ธิ ยื่ น ค าร้ อ งขอให้ ศ าล
สั่งปล่ อยตัว นายสุริยาจากการควบคุม หรือขัง โดยผิ ดกฎหมายได้ตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 90 แต่ สิ ท ธิ ใ นการยื่ น ค าร้ อ งดั ง กล่ า วจะมี อ ยู่ เ พี ย งชั่ ว ระยะเวลาที่
นายสุริยายังถูกควบคุมหรือขังไว้ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น เมื่อพนักงาน
อั ย การจั ง หวั ด อ่ า งทองยื่ น ฟ้ อ งนายสุ ริ ย า และศาลมี ค าสั่ ง ประทั บ ฟ้ อ งแล้ ว
การควบคุ ม ตั ว นายสุ ริ ย าในระหว่ า งการพิ จ ารณาของศาลย่ อ มเป็ น อ านาจ
โดยเฉพาะของศาล ซึ่งเป็นการดาเนินการคนละขั้นตอนกับการคุมขังในระหว่าง
การขอฝากขังของพนักงานสอบสวน เมื่อการคุมขังตามคาร้องของพนักงาน
สอบสวนสิ้นสุดไปแล้ว จึงเป็นกรณีที่ศาลไม่สามารถจะสั่งปล่อยตัวนายสุริยา
ตามค าร้ อ งของนายตะวั น ได้ ศาลจั ง หวั ด อ่ า งทองต้ อ งสั่ ง ยกค าร้ อ งดั ง กล่ า ว
(เทียบคาพิพากษาฎีกาที่ 6935/2544 , ฎ.9752/2544)
คาถามพิเศษ
คาถาม พ.ต.ต.สมชายสืบทราบว่านายเหี้ยมซึ่งศาลออกหมายจับในคดี
ชิงทรัพย์หลบซ่อนตัวอยู่ในบ้านเลขที่ 30 ซึ่งเป็นบ้านของนายหาญน้องชายนาย
เหี้ยม พ.ต.ต.สมชายจึงยื่นคาร้องต่อศาลขอออกหมายค้นบ้านหลังดังกล่าว ศาล
ออกหมายค้นให้ตามคาร้องขอ เมื่อ พ.ต.ต.สมชายไปถึงบ้านนายหาญพบว่านาย
เหี้ยมหลบหนีไปอยู่บ้านเลขที่ 31 ซึ่งตามทะเบียนบ้านมีนายเหี้ยมเป็นเจ้าบ้าน
พ.ต.ต.สมชายจึงไปที่บ้านเลขที่ 31 และพบนายเหี้ยมอยู่ภายในบ้านดังกล่าว
พ.ต.ต.สมชายได้แสดงตัวเป็นตารวจและแจ้งนายเหี้ยมว่าต้องถูกจับทั้งแจ้งข้อหา
แสดงหมายจับต่อนายเหี้ยม พร้อมทั้งแจ้งสิทธิตามกฎหมาย จากนั้นเข้าไปจับกุม
นายเหี้ยมในบ้านเลขที่ 31 ทันทีโดยไม่มีหมายค้น
ดังนี้ การจับของ พ.ต.ต.สมชายชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ กรณีตามปัญหาวินิจฉัยได้ว่า การที่ พ.ต.ต.สมชายได้เข้าไปจับกุมนาย
เหี้ยมในบ้านถือเป็นการจับในที่รโหฐาน ซึ่งการจะเข้าไปจับได้ต้องมีอานาจใน
การจับโดยมีหมายจับหรืออานาจที่กฎหมายให้ทาการจับได้โดยไม่ต้องมีหมาย
และต้องทาตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอันว่าด้วย
การค้นในที่รโหฐาน คือ มีอานาจในการค้นโดยมีหมายค้นหรือมีอานาจที่
กฎหมายให้ทาการค้นได้โดยไม่ต้องมีหมาย
ดังนั้น เมื่อนายเหี้ยมเป็นผู้ต้องหาซึ่งศาลได้ออกหมายจับแล้ว แม้ พ.ต.ต.
สมชายจะไม่มีหมายค้นบ้านเลขที่ 31 แต่เมื่อนายเหี้ยมเป็นเจ้าบ้านเลขที่ 31
พ.ต.ต.สมชายจึงสามารถเข้าไปในบ้านหลังนี้ได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น เนื่องจากที่
รโหฐานนั้นผู้จะต้องถูกจับเป็นเจ้าบ้านและการจับนั้นมีหมายจับ พ.ต.ต.สมชาย
จึงสามารถทาการจับนายเหี้ยมในบ้านเลขที่ 31ได้ตามาตรา 92 (5) แม้จะไม่มี
หมายค้น
คาถาม นายสาเริงถูกจับและได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวระหว่างสอบสวน โดยมีนายสาราญ
ใช้ตาแหน่งข้าราชการเป็นหลักประกันให้ หลังจากนายสาเริงได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวได้ 3
วัน นายสาราญพบว่านายสาเริงกาลังจะหลบหนีไปต่างจังหวัด นายสาราญเห็นพ.ต.อ.มาโนช
อยู่ในบริเวณนั้น นายสาราญจึงขอให้พ.ต.อ.มาโนชทาการจับนายสาเริงพ.ต.อ.มาโนชจึงทา
การจับนายสาเริงทันทีโดยไม่มีหมายจับ ดังนี้ การจับของ พ.ต.ต.มาโนชชอบด้วยกฎหมาย
หรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ กรณีตามปัญหาวินิจฉัยได้ว่า การที่นายสาราญใช้ตาแหน่งข้าราชการเป็นหลักประกัน
ให้แก่นายสาเริงผู้ต้องหาซึ่งได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวในระหว่างสอบสวน ต่อมานายสาราญ
พบว่านายสาเริงกาลังจะหลบหนีไปต่างจังหวัด นายสาราญเห็น พ.ต.อ.มาโนชอยู่ในบริเวณ
นั้น จึงขอให้ พ.ต.อ.มาโนชทาการจับนายสาเริง พ.ต.อ.มาโนชจึงทาการจับนายสาเริงทันที
โดยไม่มีหมายจับ ดังนี้ พ.ต.อ.มาโนชมีอานาจในการจับนายสาเริงแม้ว่าจะไม่มีหมายจับ
เนื่องจากเป็นกรณีที่บุคคลซึ่งเป็นหลักประกันเป็นผู้พบเห็นผู้ต้องหาหรือจาเลยหนีหรือจะ
หลบหนี บุคคลผู้เป็นหลักประกันสามารถขอให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจที่ใกล้ที่สุด
จับผู้ต้องหาหรือจาเลยได้ ดังนั้น การจับของ พ.ต.อ.มาโนช จึงชอบด้วยกฎหมาย ตามมาตรา
78 (4) ประกอบมาตรา 117
คาถาม นางสมรมีตึกแถวสองชั้น ชั้นหนึ่งเป็นร้านขายข้าวแกง ส่วนชั้นสอง
นางสมรและนายโชคบุตรชอบด้วยกฎหมายอายุ21ปี ใช้เป็นที่อยู่อาศัยโดย
ชั้นสองไม่ให้บุคคลทั่วไปขึ้นไปโดยไม่ได้รับอนุญาต วันหนึ่งขณะที่นางสมร
กาลังขายข้าวแกงอยู่ภายในร้านซึ่งอยู่ชั้นหนึ่งของตึกแถว ซึ่ง
ขณะนั้นร.ต.อ.สุพจน์และลูกค้าคนอื่นๆนั่งรับประทานข้าวแกงอยู่ นาย
โชคเห็นนายชัยคู่อริเดินเข้ามาในร้าน นายโชคได้ตรงเข้าไปทาร้ายนายชัย
จนเป็นเหตุให้นายชัยได้รับอันตรายแก่กาย ร.ต.อ.สุพจน์จะเข้าทาการจับ
นายโชค นายโชคจึงได้วิ่งหนีขึ้นไปที่ชั้นสองของตึกแถว ร.ต.อ.สุพจน์จึงวิ่ง
ตามขึ้นไปจับกุมนายโชคที่ชั้นสองของตึกแถว
ดังนี้การจับของร.ต.อ.สุพจน์ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ การที่นางสมรมีตึกแถวสองชั้น ชั้นหนึ่งใช้เป็นร้านขายข้าวแกงโดย
ขณะนั้นร.ต.อ.สุพจน์และลูกค้าคนอื่นๆนั่งรับประทานข้าวแกงอยู่จึงถือ
เป็นที่สาธารณสถาน ส่วนชั้นสองได้ใช้เป็นที่อยู่อาศัยโดยไม่ให้บุคคล
ทั่วไปขึ้นไปโดยไม่ได้รับอนุญาต จึงถือเป็นที่รโหฐาน
การทีร่ .ต.อ.สุพจน์เห็นนายโชคกาลังทาร้ายนายชัยคู่อริเป็นเหตุให้
นายชัยได้รับอันตรายแก่กาย ถือว่าเป็นความผิดซึ่งหน้าอย่างแท้จริง
ตามป.วิ.อ.มาตรา 78( 1 )ประกอบมาตรา80 วรรคหนึ่ง เนื่องจาก ร.ต.อ.สุ
พจน์เห็นนายโชคขณะกาลังกระทาผิด ดังนั้น ร.ต.อ.สุพจน์จึงมีอานาจใน
การจับนายโชคได้แม้ไม่มีหมายจับ
เมื่อร.ต.อ.สุพจน์วิ่งตามขึ้นไปจับนายโชคที่ชั้นสองของตึกแถวจึง
เป็นการจับในที่รโหฐาน ซึ่งการที่จะเข้าไปจับได้นอกจากต้องมีอานาจใน
การจับแล้วยังต้องทาตามป.วิ.อ.อันว่าด้วยการค้นในที่รโหฐาน คือต้องมี
หมายค้นหรือมีอานาจที่กฎหมายให้ทาการค้นในที่รโหฐานได้โดยไม่ต้องมี
หมายค้น ซึ่งกรณีนี้ร.ต.อ.สุพจน์ได้ทาตามป.วิ.อ.มาตรา 92( 3 ) แล้ว
เนื่องจากเป็นกรณีที่นายโชคซึ่งได้กระทาความผิดซึ่งหน้า ขณะที่ถูกร.ต.อ.
สุพจน์ไล่จับได้หนีเข้าไปซุกซ่อนตัวอยู่ในที่รโหฐานนั้นร.ต.อ.สุพจน์จึงมี
อานาจตามเข้าไปจับนายโชคที่ชั้นสองได้ ดังนั้น การจับของร.ต.อ.สุพจน์
ชอบด้วยป.วิ.อ.มาตรา 78(1) ,80วรรคหนึ่ง,81และ 92(3)
คาถาม ร.ต.อ. มาโนชวางแผนให้นายสมศักดิ์สายลับไปล่อซื้อนางสาวสมศรีซึ่งเป็น
หญิงค้าประเวณี โดยมีการถ่ายสาเนาธนบัตรที่จะใช้ในการล่อซื้อไว้ เมื่อนายสมศักดิ์
พบนางสาวสมศรียืนอยู่หน้าบ้านซึ่งเปิดไว้เพื่อการค้าประเวณี นายสมศักดิ์ได้เดินเข้า
ไปหานางสาวสมศรี นางสาวสมศรีเห็นนายสมศักดิ์จึงได้เสนอราคาต่อนายสมศักดิ์หาก
นายสมศักดิ์ต้องการร่วมประเวณีกับตน นายสมศักดิ์ได้ตกลงตามราคาที่นางสาวสมศรี
เสนอมาและได้เปิดห้องพักเพื่อใช้ร่วมประเวณี โดยห้องพักนั้นเป็นห้องพักที่ใช้สาหรับ
ให้หญิงค้าประเวณีทาการค้าประเวณีกับบุคคลทัว่ ไป เมื่อนายสมศักดิ์ได้ร่วมประเวณี
กับนางสาวสมศรีแล้ว นายสมศักดิ์ได้ใช้ธนบัตรเดียวกับทีไ่ ด้ถ่ายสาเนาไว้เพื่อใช้ในการ
ล่อซื้อจ่ายเงินตามจานวนที่ตกลงกับนางสาวสมศรี หลังจากนั้นนายสมศักดิ์ได้ส่ง
สัญญาณให้ ร.ต.อ.มาโนชเปิดประตูเข้ามา เมื่อร.ต.อ.มาโนชเข้ามาในห้องพักก็พบนาย
สมศักดิ์กับนางสาวสมศรีนอนอยู่บนเตียงสองต่อสองและเห็นว่าข้างตัวนางสาวสมศรีมี
ธนบัตรเดียวกับที่ได้ถ่ายสาเนาไว้เพื่อใช้ในการล่อซื้อวางอยู่ ร.ต.อ.มาโนชจึงทาการจับ
นางสาวสมศรีทันทีโดยไม่มีหมายจับและหมายค้น ดังนี้ การจับของ ร.ต.อ.มาโนชชอบ
ด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ กรณีตามปัญหาวินิจฉัยได้ว่า ห้องพักที่ใช้สาหรับให้หญิงค้าประเวณีทา
การค้าประเวณีกับบุคคลทั่วไป ถือได้ว่าเป็นที่สาธารณสถาน ไม่ใช่ที่รโหฐาน การ
จับจึงไม่จาเป็นต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญาอันว่าด้วยการค้นในที่รโหฐาน หาก ร.ต.อ.มาโนชมีอานาจในการจับก็
สามารถเข้าไปจับในห้องพักที่ใช้สาหรับให้หญิงค้าประเวณีทาการค้าประเวณีกับ
บุคคลทั่วไปโดยไม่จาเป็นต้องมีหมายค้นหรือไม่จาเป็นต้องมีอานาจที่กฎหมายให้
ทาการค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 92 หรือไม่จาเป็นต้องขอความยินยอมโดยความสมัครใจจากเจ้าของที่
รโหฐานให้เข้าไปในที่รโหฐานนั้น
เมื่อนายสมศักดิ์สายลับที่ให้ไปร่วมประเวณีกับนางสาวสมศรีซึ่งเป็นหญิง
ที่ค้าประเวณีได้ส่งสัญญาณให้ ร.ต.อ.มาโนชเปิดประตูเข้ามา เมื่อ ร.ต.อ.มาโนช
เข้ามาในห้องพักก็พบนายสมศักดิ์กับนางสาวสมศรีนอนอยู่บนเตียงสองต่อสอง
และเห็นว่าข้างตัวนางสาวสมศรีมีธนบัตรเดียวกับที่ได้ถ่ายสาเนาไว้เพื่อใช้ในการ
ล่อซื้อวางอยู่ ดังนี้เป็นการพบในอาการใดซึ่งแทบจะไม่มีความสงสัยเลยว่า
นางสาวสมศรีได้กระทาผิดมาแล้วสดๆ อันเป็นความผิดซึ่งหน้าตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 78 (1) ประกอบมาตรา 80 วรรคหนึ่ง
ร.ต.อ.มาโนชจึงมีอานาจในการจับนางสาวสมศรีโดยไม่ต้องมีหมายจับ(คา
พิพากษาฎีกาที่ 69/2535) ดังนั้น การจับของ ร.ต.อ.มาโนชจึงชอบด้วยกฎหมาย
คาถาม พ.ต.อ. สราวุธ นาหมายจับไปจับนายแสบ ในระหว่างที่
พ.ต.อ.สราวุธ นานายแสบไปที่ทาการของพนักงานสอบสวนเพื่อส่งมอบตัวนาย
แสบให้พนักงานสอบสวน นายแสบได้หลบหนีไปจากรถยนต์ทใี่ ช้ในการควบคุม
ตัว หลังจากนายแสบได้หลบหนีการควบคุมไปสองวัน พ.ต.อ.สราวุธ กับ
ร.ต.ต.วัลลพ ได้พบนายแสบกาลังรอขึ้นเครื่องบินที่สนามบินสุวรรณภูมิ
(ก) หาก พ.ต.อ.สราวุธ ซึ่งกาลังติดตามจับกุมนายแสบเดินเข้าไปหานาย
แสบและแจ้งว่าต้องถูกจับทั้งแจ้งข้อหากับแจ้งสิทธิตามกฎหมาย จากนั้นได้จับ
นายแสบนาส่งพนักงานสอบสวน
ดังนี้ การจับของ พ.ต.อ.สราวุธ ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด
(ข) หาก พ.ต.อ.สาวุธ บอก ร.ต.ต.วัลลพ ว่าเมื่อสองวันมาแล้วนายแสบ
หลบหนีการควบคุมหลังจากจับกุมของตนตามหมายจับ ร.ต.ต.วัลลพ จึงได้เดิน
เข้าไปหานายแสบแสดงตัวเป็นเจ้าพนักงานตารวจและแจ้งว่าต้องถูกจับทั้งแจ้ง
ข้อหากับแจ้งสิทธิตามกฎหมายจากนั้นได้จับนายแสบนาส่งพนักงานสอบสวน
ดังนี้ การจับของ ร.ต.ต.วัลลพ ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ กรณีตามปัญหาข้อ.ก.วินิจฉัยได้ว่า แม้หมายจับที่ศาลออกเพื่อให้จับนาย
แสบจะใช้ไม่ได้แล้ว เพราะจับตัวนายแสบตามหมายจับได้แล้ว แต่ พ.ต.อ.สราวุธ
เป็นเจ้าพนักงานผู้จับเนื่องจากเป็นผู้นาหมายจับไปจับนายแสบ เมื่อนายแสบซึ่ง
ถูกจับตามหมายและได้หลบหนีไป พ.ต.อ.สราวุธ จึงมีอานาจติดตามจับกุมนาย
แสบได้โดยไม่ต้องมีหมายอีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 65 ดังนั้น การจับของ พ.ต.อ.สราวุธ จึงชอบด้วยกฎหมาย
กรณีตามปัญหาข้อ.ข วินิจฉัยได้ว่า แม้หมายจับที่ศาลออกเพื่อให้จับ
นายแสบจะใช้ไม่ได้แล้ว เพราะจับนายแสบตามหมายจับได้แล้ว แต่ ร.ต.ต.วัลลพ
มีอานาจจับนายแสบ เนื่องจากมีหลักฐานตามสมควรว่านายแสบน่าจะได้กระทา
ความผิดอาญาจนมีการออกหมายจับแล้วและมีเหตุอันควรเชื่อว่าจะหลบหนี
เพราะเคยหลบหนีมาแล้ว ประกอบกับมีความจาเป็นเร่งด่วนไม่อาจขอให้ศาล
ออกหมายจับนายแสบได้ เพราะนายแสบกาลังรอขึ้นเครื่องบิน ดังนั้นการจับของ
ร.ต.ต.วัลลพ จึงชอบด้วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 78 (3) ประกอบมาตรา 66 (2)
คาถาม นายเก่งกาจได้ให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชนจนมีการนาเสนอข่าวทาง
หนังสือพิมพ์และทางโทรทัศน์ว่านายเก่งกาจถูก ร.ต.ท.เด่น และ ร.ต.อ.โด่ง
ร่วมกันยัดเยียดข้อหาและจับกุมดาเนินคดีในข้อหามียาบ้า ร.ต.ท.เด่นจึงเป็น
โจกทก์ฟ้องนายเก่งกาจเป็นจาเลยในคดีอาญาข้อหาหมิ่นประมาท ส่วน ร.ต.อ.
โด่งได้ร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนให้ดาเนินคดีกับนายเก่งกาจในข้อหาหมิ่น
ประมาท ต่อมาในคดีที่ ร.ต.ท.เด่นเป็นโจทก์ นายเก่งกาจให้การรับสารภาพ ศาล
จึงพิพากษาลงโทษจาคุกนายเก่งกาจ 1 ปีโทษจาคุกให้รอการลงโทษไว้มีกาหนด2
ปี ร.ต.อ.โด่งเห็นว่าคดีของตนล่าช้าเพราะพนักงานสอบสวนเพิ่งส่งสานวนให้
พนักงานอัยการพิจารณา จึงเป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายเก่งกาจเป็นจาเลยในคดีอาญา
ข้อหาหมิ่นประมาทเอง นายเก่งกาจได้ร้องขอความเป็นธรรมต่อพนักงานอัยการ
และยังแถลงต่อศาลในคดีที่ ร.ต.อ.โด่งเป็นโจทก์ว่า ศาลมีคาพิพากษาลงโทษ
นายเก่งกาจไปแล้ว พนักงานอัยการมีคาสั่งสอบสวนเพิ่มเติม และศาลได้ทาการ
ไต่สวนได้ความตามที่นายเก่งกาจได้ร้องขอความเป็นธรรมต่อพนักงานอัยการและ
แถลงต่อศาล ดังนี้ พนักงานอัยการจะฟ้องนายเก่งกาจต่อศาลได้หรือไม่ และศาล
ในคดีที่ ร.ต.อ.โด่งเป็นโจทก์จะดาเนินการพิจารณาต่อไปได้หรือไม่เพราะเหตุใด
ตอบ กรณีตามปัญหาวินิจฉัยได้ว่า การที่นายเก่งกาจหมิ่นประมาท ร.ต.ท.เด่น
และ ร.ต.อ.โด่งนั้นถือว่าเกิดจาการกระทาครั้งเดียวและในคราวเดียวกัน จึงเป็น
การกระทาความผิดอาญากรรมเดียวกัน เมื่อ ร.ต.ท.เด่นได้เป็นโจทก์ฟ้องนาย
เก่งกาจเป็นจาเลยในคดีอาญาข้อหาหมิ่นประมาทจนศาลมีคาพิพากษาเสร็จ
เด็ดขาดไปแล้ว ในกรณีนี้สิทธินาคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปตามมาตรา 39 (4)
(คาพิพากษาฎีกาที่ 1853/2530) ดังนั้นพนักงานอัยการจะฟ้องนายเก่งกาจในการ
กระทากรรมเดียวกันนี้อีกไม่ได้ และศาลต้องจาหน่ายคดีที่ ร.ต.อ.โด่งเป็นโจทก์
ฟ้องนายเก่งกาจเป็นจาเลยในคดีอาญาข้อหาหมิ่นประมาทออกจากสารบบความ