การขอออกหมายจับ หมายค้น หมายขัง

Download Report

Transcript การขอออกหมายจับ หมายค้น หมายขัง

การขอออกหมายจับ หมายค้น หมายขัง
ในส่ วนของ
ศาลจังหวัดนครราชสี มา
ความเป็ นมา
• ก่ อนที่รัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐ มีผลบังคับ ผู้มีอำนำจออกหมายอาญา
ได้ แก่ เจ้ าพนักงาน และ ศาล
• ต่อมำเมื่อรัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐มีผลใช้ บงั คับ รัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐
บัญญัติให้ ศาลเท่ำนันเป็
้ นผู้มีอำนำจออกหมำยอำญำ
• ดังนันกฎหมำยที
้
่ใดที่ขดั หรื อแย้ งกับรัฐธรรมนูญจึงไม่มีผลใช้ บงั คับ
โดยเฉพำะประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำซึง่ ยังมิได้ มีกำร
แก้ ไขในเป็ นไปตำมรัฐธรรมนูญ จึงมีกำรออกระเบียบรำชกำรฝ่ ำยตุลำ
กำรศำลยุติธรรมว่ำด้ วยแนวปฎิบตั ิในกำรออกหมำยจับและหมำยค้ นใน
คดีอำญำ พ.ศ. ๒๕๔๕
ความเป็ นมา ( ต่อ)
• ต่อมำมีกำรแก้ ไข ป วิ อ. ปี ๒๕๔๗ ให้ ศาลเท่ำนันเป็
้ นผู้มีอำนำจออก
หมำยอำญำ รวมทังให้
้ อำนำจประธำนศำลฎีกำที่จะออกข้ อบังคับว่ำ
ด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรเกี่ยวกับกำรออกคำสัง่ หรื อหมำยอำญำด้ วย
• ประธำนศำลฎีกำอำศัยอำนำจตำม ป.วิ.อ. มำตรำ ๕๘, ๕๙ วรรคสำม,
๕๙/๑ วรรคสำม, ๗๗ วรรคสอง และ ๙๖(๓) ออก ข้ อบังคับของ
ประธานศาลฎีกา ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการเกี่ยวกับการออก
คาสั่งหรือหมายอาญา พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็ นแนวทำงถือปฏิบตั ิเรื่ อยมำ
จนถึงปั จจุบนั
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐
• มาตรา ๓๒ บุคคลย่อมมีสทิ ธิเสรี ภำพในร่ำงกำย...
ว.๓ กำรจับและกำรคุมขังบุคคล จะกระทำมิได้ เว้ นแต่มีคำสัง่ หรื อหมำย
ของศำลหรื อมีเหตุอย่ำงอื่นตำมที่กฎหมำยบัญญัติ
ว.๔ กำรค้ นตัวบุคคลหรื อกำรกระทำใดอันกระทบต่อสิทธิเสรี ภำพตำม
วรรคหนึง่ จะกระทำมิได้ เว้ นแต่มีเหตุตำมที่กฎหมำยบัญญัต.ิ ..
• มาตรา ๓๓ บุคคลย่อมมีเสรี ภำพในเคหสถำน...
ว.๓ กำรเข้ ำไปในเคหสถำนโดยปรำศจำกควำมยินยอมของผู้ครอบครอง
หรื อกำรตรวจค้ นเคหสถำนหรื อในที่รโหฐำน จะกระทำมิได้ เว้ นแต่มีคำสัง่
หรื อหมำยศำล หรื อมีเหตุอย่ำงอื่นตำมที่กฎหมำยบัญญัติ
สิ ทธิ กับ เสรี ภาพ
• สิทธิ เป็ นสิง่ ที่กฎหมำยรับรองคุ้มครอง
–จะมีสิทธิต้องมีกฎหมำยบัญญัติกำหนดให้ สิทธิไว้
• เสรี ภำพ เป็ นสิง่ ที่ทกุ คนพึงมี
–กำรจะจำกัดเสรี ภำพจะต้ องมีกฎหมำยบัญญัติกำหนด
เหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
• ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
มาตรา ๖๖ เหตุที่จะออกหมายจับได้ มีดงั ต่อไปนี ้
(๑) มีหลักฐำนตำมสมควรว่ำบุคคลใดน่ำจะได้ กระทำควำมผิดอำญำซึง่ มี
อัตรำโทษจำคุกอย่ำงสูงเกิน ๓ ปี
(๒) เมื่อมีหลักฐำนตำมสมควรว่ำบุคคลใดน่ำจะได้ กระทำควำมผิดอำญำ
และมีเหตุอนั ควรเชื่อว่ำจะหลบหนี หรื อยุง่ เหยิงกับพยำนหลักฐำน
หรื อก่อเหตุอนั ตรำยประกำรอื่น
ถ้ ำบุคคลนันไม่
้ มีหลักแหล่งหรื อไม่มำตำมหมำยเรี ยกหรื อตำมนัด
โดยไม่มีข้อแก้ ตวั อันควร ให้ สนั นิษฐำนว่ำบุคคลนันจะหลบหนี
้
เหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ(ป วิ อ.)
มาตรา ๖๙ เหตุที่จะออกหมายค้ นได้ มีดงั ต่อไปนี ้
(๑) เพื่อพบและยึดสิ่งของซึง่ เป็ นพยำนหลักฐำนประกอบกำรสอบสวน ไต่
สวนมูลฟ้องหรื อพิจำรณำ
(๒) เพื่อพบและยึดสิ่งของซึง่ มีไว้ เป็ นควำมผิด หรื อได้ มำโดยผิดกฎหมำย
หรื อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่ำได้ ใช้ หรื อตังใจจะใช้
้
ในกำรกระทำควำมผิด
(๓) เพื่อพบและช่วยบุคคลซึง่ ได้ ถกู หน่วงเหนียว หรื อกักขัง โดยมิชอบด้ วย
กฎหมำย
(๔) เพื่อพบบุคคลซึง่ มีหมำยจับ
(๕) เพื่อพบและยึดสิ่งของตำมคำพิพำกษำหรื อตำมคำสัง่ ศำล ในกรณีที่จะ
พบหรื อจะยึดโดยวิธีอื่นไม่ได้ แล้ ว
รัฐธรรมนูญ ปี 50
รธน.ม.3 3ว.3
รธน.ม.32 ว.3
รธน.ม.32 ว.3
จับ
ค้น
ขัง
ป.วิ อ.ม.66
ป.วิ อ.ม.69
ป.วิ อ.ม.87
จับโดยไม่มีหมาย ม.78,79
ค้นโดยไม่มีหมาย ม.92
ทางไกลผ่านจอภาพ ม.87/1
ข้อบังคับของประธานศาลฎีกา
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการออกคาสั่งหรื อหมายอาญา
ศาลที่มีอานาจออกหมาย
(ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๘ )
หมายจับ
• ศำลที่มีเขตอำนำจชำระคดี
• ศำลที่มีเขตอำนำจเหนือท้ องที่
ที่จะทำกำรจับ
หมายค้ น
• ศำลที่มีเขตอำนำจเหนือท้ องที่
ที่จะทำกำรค้ น
ผูร้ ้องขอออกหมาย
(ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๙)
หมายจับ
•พนักงำนฝ่ ำยปกครอง , เจ้ ำ
พนักงำนอื่น(ระดับ ๓ ขึ ้นไป)
หมายค้ น
•พนักงำนฝ่ ำยปกครอง , เจ้ ำ
พนักงำนอื่น(ระดับ ๓ ขึ ้นไป)
•ตำรวจ (ร้ อยตำรวจตรี ขึ ้นไป)
•ตำรวจ (ร้ อยตำรวจตรี ขึ ้นไป)
รายละเอียดแห่งคาร้องและเอกสารประกอบ
หมายจับ
หมายค้ น
•ชื่อสกุล รูปพรรณ อำยุ อำชีพ หมำยเลข •ระบุลกั ษณะสิ่งของที่ต้องกำรหำและยึด
บัตรประจำตัวประชำชน
ชื่อสกุล รูปพรรณ อำยุ บุคคลที่ต้องกำร
หำ สถำนที่ที่จะค้ น บ้ ำนเลขที่ ชื่อเจ้ ำของ
บ้ ำนหรื อผู้ครอบครอง แผนที่
•เหตุออกหมำยจับ ป วิ อ. ม. ๖๖ +
•เหตุออกหมำยค้ น ป วิ อ.ม.๖๙ +
เอกสำรสนับสนุน
เอกสำรสนับสนุน
•แนบแบบพิมพ์หมำยจับที่กรอกข้ อควำม •แนบแบบพิมพ์หมำยจับที่กรอกข้ อควำม
แล้ ว+สำเนำ, เอกสำรที่เกี่ยวข้ อง เช่น
แล้ ว+สำเนำ, เอกสำรที่เกี่ยวข้ อง เช่น
บันทึกคำร้ องทุกข์
บันทึกคำร้ องทุกข์
การเสนอพยานหลักฐานในการขอหมาย
หมายจับ
•พยำนหลักฐำนตำมสมควรว่ำ ผู้จะถูก
จับน่ำจะได้ กระทำควำมผิดอำญำอัตรำ
โทษจำคุกอย่ำงสูงเกินกว่ำ ๓ ปี
•น่ำจะกระทำผิดอำญำ และมีเหตุควร
เชื่อว่ำจะหลบหนี หรื อยุง่ เหยิงพยำน
หลักฐำน หรื อก่อเหตุอนั ตรำยอื่น
หมายค้ น
•กรณีค้นหำสิ่งของซึง่ เป็ นพยำนหลักฐำน
ประกอบกำรสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้อง
พิจำรณำ
•สิ่งของมีไว้ เป็ นควำมผิด ได้ มำโดยผิด
กฎหมำย หรื อมีเหตุอนั ควรเชื่อว่ำได้ ใช้
หรื อตังใจจะใช้
้
ในกำรกระทำควำมผิด
•สิ่งของต้ องยึดหรื อริบตำมคำพิพำกษำ
ในกรณีที่จะพบหรื อจะยึดโดยวิธีอื่นไม่ได้
•กรณีค้นหำบุคคลถูกหน่วงเหนี่ยวกักขัง
โดยมิชอบ
•มีหมำยจับบุคคลนัน้
การเสนอพยานหลักฐานต่อผูพ้ ิพากษา
หมายจับ
•ให้ ผ้ รู ้ องสำบำนตัวและแถลงด้ วยตนเอง
ตอบคำถำมเกี่ยวกับข้ อมูล
(หำกผู้ร้ ูเห็นเหตุกำรณ์ไม่สำมำรถมำเบิก
ควำมต่อศำลอำจใช้ บนั ทึกถ้ อยคำที่มีกำร
สำบำนตัวแล้ ว)
หมายค้ น
•ให้ ผ้ รู ้ องสำบำนตัวและแถลงด้ วยตนเอง
ตอบคำถำมเกี่ยวกับข้ อมูล
(หำกผู้ร้ ูเห็นเหตุกำรณ์ไม่สำมำรถมำเบิก
ควำมต่อศำลอำจใช้ บนั ทึกถ้ อยคำที่มีกำร
สำบำนตัวแล้ ว)
การทาคาสัง่ และการออกหมาย
หมายจับ
•กรณีผ้ พู ิพำกษำออกหมำยจับเอง เช่น
จำเลยหลบหนีระหว่ำงปล่อยชัว่ ครำว
ฯลฯ ถ้ ำผู้ถกู จับภูมิลำเนำอยู่ กทม. ส่ง
หมำยจับไปผู้บญ
ั ชำกำรตำรวจนครบำล
/แต่ถ้ำผู้ถกู จับมีภมู ิลำเนำอยู่ ตจว. ส่ง
หมำยจับไปผู้บงั คับกำรตำรวจภูธร
หมายค้ น
•ระบุตำแหน่งเจ้ ำพนักงำนผู้มีอำนำจเป็ น
หัวหน้ ำไปจัดกำรตำมหมำยค้ น พนักงำน
ฝ่ ำยปกครอง(ระดับ ๓ ขึ ้นไป)
•ตำรวจ(ร้ อยตำรวจตรี ขึ ้นไป)
•ระบุวนั เวลำที่จะทำกำรค้ น
การออกหมายขัง
• ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ ๘๓
โดยปกติ เมื่อมีกำรจับกุม ผู้จบั ต้ องนำผู้ถกู จับไปยัง
“ที่ทำกำรของพนักงำนสอบสวน” ทันที
“ที่ทาการพนักงานสอบสวน” ได้ แก่
๑.ท้ องที่ที่จบั
๒.ท้ องที่ของพนักงำนสอบสวนผู้รับผิดชอบ
การออกหมายขัง
เมื่อไปถึงที่ทำกำรพนักงำนสอบสวน
ควบคุมตัว
ปล่อยชัว่ ครำว
ระยะเวลาในการควบคุมตัวผูถ้ ูกจับ
• หลัก : ควบคุมตัวเท่ำที่จำเป็ นตำมพฤติกำรณ์แห่งคดี
- ในความผิดลหุโทษ ควบคุมได้ เท่ำที่จะถำมคำให้ กำร
และรู้ตวั ว่ำเป็ นใคร และอยูท่ ี่ไหน
ระยะเวลาในการควบคุมตัวผูถ้ ูกจับ
• กรณีผ้ ถู กู จับไม่ได้ รับกำรปล่อยชัว่ ครำว และมีเหตุจำเป็ น เพื่อกำร
สอบสวนหรื อกำรฟ้องคดี ให้ นำตัวผู้ถกู จับไปศำลภำยใน ๔๘ ชั่วโมง
นับแต่เวลำที่ผ้ ถู กู จับถูกนำตัวไปถึงที่ทำกำรพนักงำนสอบสวน เว้ นแต่
มีเหตุสดุ วิสยั หรื อ มีเหตุจำเป็ นอย่ำงอื่นอันมิอำจก้ ำวล่วงเสียได้
ให้ พนักงานสอบสวน หรือ พนักงานอัยการ ยื่นคำร้ องขอหมายขัง
ผู้ต้องหำ
ศาลที่มีอานาจออกหมายขัง
• ศำลที่มีเขตอำนำจชำระคดี ซึง่ อำจเป็ นศำล
 ที่มีเขตอำนำจเหนือท้ องที่ที่ควำมผิดเกิด
 ที่ผ้ ตู ้ องหำมีที่อยูห่ รื อถูกจับ
 ที่ทำกำรสอบสวนก็ได้
ผูม้ ีสิทธิร้องขอออกหมายขัง
• พนักงำนสอบสวน
• พนักงำนอัยกำร
ระยะเวลาในการอนุญาตให้ขงั ตาม ม. ๘๗
• ระยะเวลำขังขึ ้นอยูก่ บั อัตรำโทษ
โทษจำคุกอย่ำงสูง < ๖เดือน หรื อ ปรับ < ๕๐๐ บำท
ขังได้ ๑ ครัง้ < ๗ วัน
ระยะเวลาขัง ตาม ม.๘๗
๖ เดือน < โทษจาคุกอย่ างสูง < ๑๐ ปี หรื อ ปรับ > ๕๐๐ บำท
ขังได้ หลำยครัง้ ๆ ละ < ๑๒ วัน รวม < ๔๘ วัน
ระยะเวลาขัง ตาม ม.๘๗
โทษจาคุกอย่ างสูง > ๑๐ ปี
จะมีโทษปรับหรื อไม่ก็ตำม
ขังได้ หลำยครัง้ ๆ ละ < ๑๒ วัน รวม < ๘๔ วัน
เมื่อขังครบ ๔๘ วัน หำกต้ องกำรขอขังต่อ พนักงำนสอบสวน หรื อ
พนักงำนอัยกำร ต้ องยื่นคำร้ องอ้ ำงเหตุจาเป็ น
การฝากขังทางไกลผ่านจอภาพ
• ระเบียบศำลจังหวัดนครรำชสีมำ ว่ำด้ วยกำรฝำกขังทำงไกลผ่ำนจอภำพ
พ.ศ. ๒๕๕๕
• เป็ นบริกำรเสริมของศำลจังหวัดนครรำชสีมำ
• เพื่ออำนวยควำมสะดวกให้ พนักงำนสอบสวน , พนักงำนอัยกำร ,
รำชทัณฑ์
• ปลอดภัย
• ประหยัด
ผูเ้ กี่ยวข้องในกระบวนการฝากขัง (ปกติ)
ศำลจังหวัดนครรำชสีมำ
พนักงำนสอบสวน
พนักงำนอัยกำร
เรื อนจำ
ผูเ้ กี่ยวข้องกับการฝากขังทางไกลผ่านจอภาพ
ศำลจังหวัดนครรำชสีมำ
พนักงำนสอบสวน
พนักงำนอัยกำร
เรื อนจำ
ขั้นตอนโดยสังเขป
• กำรดำเนินกำรในวันฝำกขังครัง้ ที่ ๑
– ในคำร้ องขอฝำกขังครัง้ ที่ ๑ ต้ องระบุวำ่ ในกำรฝำกขังครัง้ ต่อไปผู้ร้อง
ขออนุญำตฝำกขังทำงไกลผ่ำนจอภำพด้ วย ส่วนอื่นเหมือนเดิม
ขั้นตอนโดยสังเขป
• กำรดำเนินกำรก่อนวันครบกำหนดฝำกขังตังแต่
้ ครัง้ ที่ ๒ ถึงครัง้ ที่ ๗
พนักงำนสอบสวนต้ องส่ง E-mail มำที่[email protected]
ก่อน ๑๒ นำฬิกำของวันก่อนครบกำหนดฝำกขัง ๑ วัน
หำกวันครบกำหนดตรงกับวันหยุดรำชกำรเสำร์ หรื ออำทิตย์ จะต้ อง
ส่งก่อน ๑๒ นำฬิกำของวันก่อนวันหยุดรำชกำร ๒ วัน(วันพฤหัสบดี)
• กรณีมีเหตุสดุ วิสยั ไม่อำจส่ง E-mail ได้ อำจส่งคำร้ องมำทำงโทรสำร
(FAX) หมำยเลข ๐๔๔ ๒๔๘๙๓๐
ปัญหาในการขอออกหมายจับ
• ผู้ร้องไม่มำศำลด้ วยตนเอง ทำให้ ศำลไม่สำมำรถสอบข้ อเท็จจริงได้ อย่ำง
เต็มที่ เพรำะผู้ที่มำแทนไม่ทรำบรำยละเอียด
• ระบุอำยุควำมไม่ถกู ต้ องหรื อไม่ชดั เจน เพรำะอำยุควำมเริ่มนับตังแต่
้ วนั
กระทำผิด กรณีควำมผิดอย่ำงเดียวกัน แต่กระทำหลำยกรรม เช่น
ยักยอกหลำยครัง้ ควรระบุวนั ที่กระทำผิดครัง้ สุดท้ ำย
• พยำนหลักฐำนไม่เพียงพอ เช่น มีแต่เพียงพยำนซัดทอด และไม่มี
พยำนหลักฐำนอื่นประกอบ
• แบบฟอร์ มหมำยจับ/ค้ น ไม่เหมือนกัน เช่น กระดำษสัน/ยำว
้
ครุฑตัวเล็ก
ปัญหาในการขอออกหมายค้น
• คำร้ องไม่ระบุ ให้ เข้ ำเหตุในกำรออกหมำยค้ น ตำม ป วิ อ. ม. ๖๙
• ผู้ร้องไม่มำศำลด้ วยตนเอง ผู้ที่มำแทนไม่ทรำบรำบละเอียดเพียงพอ
• ค้ นตำมช่วงเวลำระดมกวำดล้ ำงปรำบปรำมยำเสพติด ซึง่
พยำนหลักฐำนไม่เพียงพอ โดยมีแต่เพียงรำยงำนของผู้ใต้ บงั คับบัญชำ
และตำรวจแต่ละสถำนีจะมำขอหมำยค้ นสถำนีละไม่ต่ำกว่ำ ๕ หมำย
• ไม่รำยงำนผลกำรตรวจค้ นให้ ศำลทรำบ
ปัญหาในการออกหมายขัง
• ระบุพฤติกำรณ์แห่งกำรกระทำผิดไม่ครบถ้ วน เช่นไม่ระบุปริมำณยำเสพ
ติดชันจั
้ บกุม ชันสอบสวน
้
ผู้ต้องหำให้ กำรอย่ำงไร
• อ้ ำงกฎหมำยผิด เช่น มีปริมำณเมทแอมเฟตำมีนเกินกว่ำข้ อสันนิษฐำน
ของกฎหมำยซึง่ ถือว่ำมีไว้ เพื่อจำหน่ำย แต่แจ้ งข้ อหำเพียงมีไว้ ใน
ครอบครองโดยผิดกฎหมำย
• นับวันฝำกขังผิด เช่น ๑๒ วัน นับแต่ ๑๕ มิ.ย. ๕๕ ถึง ๒๖ มิ.ย. ๕๕
(ให้ เอำวันที่วนั แรก + ๑๑ = วันสุดท้ ำย)
ปัญหาในการออกหมายขัง
• ศำลจังหวัดนับ ๔๘ ชัว่ โมงนับแต่เวลำที่นำตัวถึงที่ทำกำรพนักงำน
สอบสวน ในคำร้ องไม่ระบุเวลำดังกล่ำว
• ในคำร้ องไม่ระบุวำ่ จะคัดค้ ำนกำรขอประกันตัวหรื อไม่
• นาตัวมาฝากขังช้ า ทาให้ มีผลกระทบถึงกระบวนการอื่น ๆ ด้ วย
เช่ น การขอปล่ อยชั่วคราวล่ าช้ าออกไป และราชทัณฑ์ กลับ
เรือนจาช้ า เป็ นต้ น